ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
1
ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
2
ส่วนกลางปรเมษฐ แควภูเขียว
3
จังหวัดนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
4
เขต
5
ข้อมูล ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561
รวมตัวชี้วัดกระทรวง HDC คลิกที่นี่
6
ลำดับตัวชี้วัดแหล่งเป้าหมายผลงานร้อยละเกณฑ์ผลลัพธ์Link
7
1ร้อยละสถานบริการสุขภาพที่มีการคลอดมาตรฐานEvaluation
8
2อัตราส่วนการตายมารดาไทยElectronic
9
3ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยDatabase96190393.96> 80ผ่านHDC
10
4ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปีDatabase5,38090351.91> 50ผ่านHDC
11
5เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100Survey
12
6ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วนDatabase6,6974,36765.21> 66ไม่ผ่านHDC
13
7ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไปSurvey
14
8ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free)Database39432782.99> 54ผ่านHDC
15
9อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปีElectronic
16
10ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติDatabase9,0404,17446.17> 55ไม่ผ่านHDC
17
11ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์Evaluation
18
12ร้อยละของ Healthy AgeingDatabase12,15011,91198.03> 98.88ไม่ผ่านHDC
19
13* ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอที่มีคุณภาพ (พชอ.) (District Health Board : DHB)Evaluation
20
14* ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริงHard Copy
21
15ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุกElectronic
22
16ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีElectronic
23
17อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปีElectronic
24
18อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนElectronic
25
19.1อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวานDatabase4,109370.90< 2.40ผ่านHDC
26
19.2อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงDatabase2,540973.82>10NAHDC
27
20ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย Evaluation
28
21ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนดEvaluation
29
22ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนดHard Copy
30
23* ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN HospitalHard Copy
31
24ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืนHard Copy
32
25* ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster)Evaluation
33
26.1ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้Database7,5963,81118.19>= 40ไม่ผ่านHDC
34
26.2ร้อยละโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้Database10,8064,75425.60>= 50ไม่ผ่านHDC
35
27
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
Database4,8032,94361.27>= 80ไม่ผ่านHDC
36
28อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองDatabase11310.88< 7ผ่านHDC
37
29* ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) 29.1 ร้อยละของโรงพยาบาลมีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)Hard Copy
38
30ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลงDatabase3378974.00> 50ผ่านHDC
39
31อัตราตายทารกแรกเกิดDatabase36200.00
5 ต่อ 1000
ผ่านHDC
40
32ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care)Hard Copy
41
33 ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกDatabase97,12317,75718.28> 18.5ผ่านHDC
42
34ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิตElectronic
43
35อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จElectronic
44
36อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquiredDatabase432046.51< 30ไม่ผ่านHDC
45
37ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Capture the fracture
46
37.1ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่มีภาวะกระดูกหักซ้ำ (Refracture)DatabaseHDC
47
37.2
ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากได้รับการรักษาในโรงพยาบาล (Early surgery)
DatabaseHDC
48
38 ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้
Hard Copy
49
39 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจElectronic
50
40 ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนดEvaluation
51
41อัตราตายจากโรคมะเร็งตับElectronic
52
42อัตราตายจากมะเร็งปอดElectronic
53
43ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yrDatabase1,00151851.75> 65ไม่ผ่านHDC
54
44ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วันElectronic
55
45 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อ จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาลElectronic
56
46 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษา และหยุดเสพต่อเนื่อง (remission)Electronic
57
47ร้อยละสถานพยาบาลระดับ M และ F ที่ให้บริการการดูแลระยะกลางHard Copy
58
48* ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day SurgeryHard Copy
59
49ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ Minimally Invasive SurgeryHard Copy
60
50* อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit)Database64914.06< 12ไม่ผ่านHDC
61
51* อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ Electronic
62
52ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนดEvaluation
63
53* จำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัดEvaluation
64
54ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนดHard Copy
65
55ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดHard Copy
66
56* ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้Survey
67
57* อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)Electronic
68
58ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอElectronic
69
59ร้อยละของครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดElectronic
70
60ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITAEvaluation
71
61ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุ ทันตกรรมHard Copy
72
62ร้อยละของหน่วยงานภายในกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการควบคุมภายในEvaluation
73
63* ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขEvaluation
74
64* ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3Evaluation
75
65* ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาวElectronic
76
66ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลEvaluation
77
67
ร้อยละของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพได้ (Health Information Exchange (HIE))
Database37,6324491.19> 70ไม่ผ่านHDC
78
68ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้ (Personal Health Record)Evaluation
79
69
รายจ่ายต่อหัวที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุ ของ 3 ระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ (Age adjusted health expenditure per capita of each scheme)
Electronic
80
70
กำหนดให้มีมาตรฐานการจ่ายเงินของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐให้แก่สถานพยาบาลเป็นราคาเดียวกันในทุกประเภทและระดับการบริการ
Electronic
81
71ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินElectronic
82
72* ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินHard Copy
83
73ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ให้หน่วยงานต่างๆนำไปใช้ประโยชน์Hard Copy
84
74ร้อยละของงบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมดHard Copy
85
75ร้อยละของยากลุ่มเป้าหมายที่ผลิตหรือนำเข้าเพื่อทดแทนยาต้นแบบเพิ่มขึ้นElectronic
86
76ร้อยละรายการยาและเครื่องมือแพทย์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนHard Copy
87
77จำนวนตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยHard Copy
88
78จำนวนนวัตกรรมที่คิดค้นใหม่ เทคโนโลยีสุขภาพ หรือพัฒนาต่อยอดการให้บริการด้านสุขภาพEvaluation
89
79จำนวนงานวิจัยสมุนไพร/งานวิจัยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่นำมาใช้จริงทางการแพทย์ หรือการตลาดSurvey
90
80ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้Hard Copy
91
รวม 15 แผนงาน 45 โครงการ 80 ตัวชี้วัด
92
หมายเหตุ * คือ PA ของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการ ปี 2561
93
94
95
96
97
98
99
100