ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
1
การนำแผนปฏิบัติราชการไปปฏิบัติในส่วนสำนัก/กอง กรมบังคับคดี (26-28 มิถุนายน 2567)
2
3
ลำดับรายละเอียดข้อมูลนำเข้าผลการวิเคราะห์/ สังเคราะห์
4
กิจกรรมที่ 1
ทบทวนแผนปฏิบัติการระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2567) ระดับสำนัก/กอง
แผนปฏิบัติการระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2567) ระดับสำนัก/กรม
ข้อจำกัดการดำเนินการตามพันธกิจ ระดับสำนัก/กอง
5
ความพร้อมด้านทรัพยากร ระดับสำนัก/กอง
6
ปัญหาของโครงสร้างองค์กร ระดับสำนัก/กอง
7
แผนปฏิบัติการระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2567) ระดับสำนัก/กรม ที่ทบทวนแล้ว
8
9
กิจกรรมที่ 2
การเตรียมความพร้อมกิจกรรม Ice Breaking
สร้างบรรยากาศด้านการดำเนินกิจกรรมร่วมระหว่างวิทยากรกับผู้เรียน
10
การบรรยายให้ข้อมูลแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการขับเคลื่อนกลยุทธ์ในระดับสำนัก/กอง
11
12
กิจกรรมที่ 3
การวิเคราะห์พันธกิจพันธกิจ ของกรมบังคับคดี
สิ่งที่ควรดำเนินการเพื่อเพิ่มการตอบสนองต่อพันธกิจที่ดี ระดับสำนัก/กอง
13
14
กิจกรรมที่ 4
การวิเคราะห์พันธกิจ (ประเด็นพันธกิจที่สำคัญ) เทียบกับค่านิยมองค์กร
พันธกิจ ระดับสำนักและกองปัญหาและโอกาสที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์พันธกิจของกรมบังคับคดีกับค่านิยมขององค์กร ระดับสำนัก/กอง
15
ค่านิยมของกรมบังคับคดีแนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม ระดับสำนักและกอง
16
17
กิจกรรมที่ 5
การวิเคราะห์พันธกิจ (ประเด็นพันธกิจที่สำคัญ) เทียบกับวัฒนธรรมองค์กร
พันธกิจ ระดับสำนักและกองปัญหาและโอกาสที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์พันธกิจของกรมบังคับคดีกับวัฒนธรรมขององค์กร ระดับสำนัก/กอง
18
วัฒนธรรมของกรมบังคับคดีแนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม ระดับสำนักและกอง
19
20
กิจกรรมที่ 6
วิสัยทัศน์กรมบังคับคดี วิสัยทัศน์กรมบังคับคดี
ประเด็นปัญหาในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ของกรมบังคับคดี ในระดับสำนัก/กอง
21
แนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม ระดับสำนักและกอง
22
23
กิจกรรมที่ 7
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง กลุ่มผู้รับบริการ ลูกค้าภายในองค์กร กลุ่มเครือข่าย ผู้มีอิทธิพลกับการดำเนินการภายนอก
คุณค่า (ความคาดหวัง) ของสำนัก/กองต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
24
ตัวชี้วัดความสำเร็จ/ เป้าหมาย
25
แนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม ระดับสำนักและกอง
26
27
กิจกรรมที่ 7
ประเด็นการเปลี่ยนแปลงและประเด็นท้าทายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ และแนวทางเชิงนโยบาย
ประเด็นการเปลี่ยนแปลงและท้าทายจากนโยบายรัฐบาล/รัฐมนตรี
ผลกระทบต่อการดำเนินการของสำนัก/กอง ของท่าน และกรมบังคับคดี
28
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียสำคัญที่ได้รับผลประโยชน์/ผลกระทบ และท่านต้องดำเนินการเพื่อสนับสนุน
29
ข้อจำกัดภายในสำนัก/กองของท่านต่อการจัดการผลประโยชน์/ผลกระทบที่มีต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียสำคัญ
30
แนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม ระดับสำนักและกอง
31
32
กิจกรรมที่ 8
ประเด็นเปลี่ยนแปลงและประเด็นท้าทายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของอธิบดี กรมบังคับคดี ประเด็นเชิงนโยบายของกรมบังคับคดี
กิจกรรม/โครงการ/แผนงานสำคัญที่ท่านดำเนินการอยู่ในกรอบ พ.ศ. 2566/2567
33
มิติการพัฒนาที่สำคัญในระดับสำนัก/กอง ที่เปลี่ยนแปลงตามนโยบายของอธิบดี กรมบังคับคดีตัวชี้วัดความสำเร็จ/ เป้าหมาย
34
โครงการ/กิจกรรม สำหรับสำนัก/กรม ที่จำเป็นต้องมีปรับปรุงหรือเพิ่มเติม
35
36
กิจกรรมที่ 9
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกต่อสำนัก/กอง ของท่าน
ประเด็นหลักของปัจจัยภายนอกผลกระทบต่อกรมบังคับคดี (และจังหวัด)
37
ประเด็นย่อยการเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายนอกที่สำคัญ
ผลกระทบต่อการดำเนินการระดับ สำนัก/กอง
38
ผู้มีส่วนได้เสียหลักที่ได้รับประโยชน์/ผลกระทบจากผลกระทบต่อกรมบังคับคดี (และจังหวัด) สำนัก/กอง
39
แนวทางการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม เพื่อ ‘ลด เลี่ยง ป้องกัน เยียวยา’
40
41
กิจกรรมที่ 10
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่ส่งผลต่อสำนัก/กอง ของท่าน ปัจจัยภายในหลักและย่อย
โครงการที่ควรมีเพื่อยกระดับทรัพยากรภายในเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
42
โครงการที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการ
43
ตัวชี้วัดความสำเร็จ/ เป้าหมาย
44
กิจกรรม/โครงการ/แผนงานเพื่อให้บรรลุผล
45
46
กิจกรรมที่ 11
คู่เทียบและแนวทางปฏิบัติที่ดีคู่เทียบ
(ชื่อองค์กร หรือหน่วยงานเปรียบเทียบ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ทั้งระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ)
ประเด็นเปรียบเทียบ
(แนวทางปฏิบัติที่ดีที่ควรใช้เทียบเพื่อเป็นเป้าหมายการยกระดับศักยภาพ สำนัก/กอง)
47
ตัวชี้วัดที่ดี (เพื่อเทียบ)
48
ค่าเป้าหมายที่ดี (เพื่อเทียบ)
49
กิจกรรม/โครงการ/แผนงานที่จะดำเนินการ
50
51
กิจกรรมที่ 12
ข้อตกลงระหว่างประเทศ (ระดับประเทศและระดับท้องถิ่น) ที่เกี่ยวพันธ์กับสำนัก/กอง ของท่าน ข้อตกลงระหว่างประเทศที่มีข้อผูกพันธ์โครงการที่ควรมีเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงตอบสนองข้อผูกพันธ์ระหว่างประเทศ (ระดับสำนัก/กอง)
52
ชื่อองค์กรระหว่างประเทศ (ที่มีข้อผูกพัน)โครงการที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการ
53
ตัวชี้วัดความสำเร็จ/ เป้าหมาย
54
กิจกรรม/โครงการ/แผนงานเพื่อให้บรรลุผล
55
56
กิจกรรมที่ 13
กรอบแนวคิดด้านความยั่งยืน ประเด็นหลักและย่อยด้านความยั่งยืน
โครงการที่ควรมีเพื่อตอบสนองมิติด้านความยั่งยืน (ระดับสำนัก/กอง)
57
โครงการที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการ
58
ตัวชี้วัดความสำเร็จ/ เป้าหมาย
59
กิจกรรม/โครงการ/แผนงานเพื่อให้บรรลุผล
60
61
กิจกรรมที่ 14
การกรองประเด็นท้าทายที่สอดคล้องกับเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญของโครงการสำหรับสำนัก/กอง กิจกรรม/โครงการ/แผนงาน จากกิจกรรมที่ 1-14
คัดกรองกิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร...
62
จัดหมวดหมู่กิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร... ตามประเภทความท้าทายและวิสัยทัศน์องค์กร
63
64
กิจกรรมที่ 15
แผนปฏิบัติการระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2568) ต้นแบบนำเสนอแผนปฏิบัติการระยะ 2 ปี (พ.ศ. 2568) ของสำนัก/กอง
พัฒนาและนำเสนอแผนปฏิบัติการระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2568) ของสำนัก/กอง
65
กิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร... ตามประเภทความท้าทายและวิสัยทัศน์องค์กรที่คัดกรองและจัดลำดับความสำคัญมาแล้ว
เรื่องที่ 1) ส่งเสริมเครือข่ายและกฎหมายเพื่อความยุติธรรมถ้วนหน้า
66
เรื่องที่ 2) ประชาสัมพันธ์เชิงรุกและมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย
67
เรื่องที่ 3) ส่งเสริมสมรรถนะและศักยภาพการดำเนินการองค์กร
68
เรื่องที่ 4) บูรณาการดิจิทัลกับระบบงานและการเชื่อมต่อข้อมูล
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100