A | B | C | D | E | F | G | H | I | J | K | L | M | N | O | P | Q | R | S | T | U | V | W | X | Y | Z | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ตารางสรุปตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 | |||||||||||||||||||||||||
2 | แผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงสาธารณสุข | |||||||||||||||||||||||||
3 | ที่ | แผนงาน/โครงการ | ที่ | ตัวชี้วัด | กลุ่มงาน | ผู้รับผิดชอบ | เบอร์โทร | |||||||||||||||||||
4 | 1. ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (PP&P Excellence) | |||||||||||||||||||||||||
5 | แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) | |||||||||||||||||||||||||
6 | 1 | 1. โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย | 1 | อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน | ส่งเสริมสุขภาพ | นางชมภู่ ทองสุวรรณ | ||||||||||||||||||||
7 | 2 | เด็กไทยมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย | ส่งเสริมสุขภาพ | นางณิชาภัทร รากแก้ว | ||||||||||||||||||||||
8 | 2.1 | ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี | ส่งเสริมสุขภาพ | นางณิชาภัทร รากแก้ว | ||||||||||||||||||||||
9 | 2.2 | ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย | ส่งเสริมสุขภาพ | นางณิชาภัทร รากแก้ว | ||||||||||||||||||||||
10 | 3 | เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 | ส่งเสริมสุขภาพ | นางณิชาภัทร รากแก้ว | ||||||||||||||||||||||
11 | 4 | อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประขากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวทรงลักษณ์ กล่ำเพ็ชร์ | ||||||||||||||||||||||
12 | 5 | ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
13 | 6 | ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ได้รับการดูแลทั้งในสถานบริการและในชุมชน | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
14 | 6.1 | ร้อยละของประชากรสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
15 | 6.2 | ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LTC) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
16 | 7 | ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
17 | 7.1 | ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
18 | 7.2 | ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวณรษา เรืองวิลัย | ||||||||||||||||||||||
19 | 2 | 2. โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร | 8 | จำนวนคนมีความรอบรู้สุขภาพ | ส่งเสริมสุขภาพ | นายเถลิงศักดิ์ เสมอเหมือน | 083-0112023 | |||||||||||||||||||
20 | 9 | ประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคพึงประสงค์ | ส่งเสริมสุขภาพ | นายเถลิงศักดิ์ เสมอเหมือน | 083-0112023 | |||||||||||||||||||||
21 | 10 | กิจการ/กิจกรรม/สถานประกอบการปฏิบัติตามมาตรการ | อนามัยสิ่งแวดล้อม | นางสาวญานันท์ ใจอาจหาญ | 081-9461550 | |||||||||||||||||||||
22 | แผนงานที่ 2 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ | |||||||||||||||||||||||||
23 | 3 | 1. โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) | 11 | ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ | พัฒนาคุณภาพฯ | นายยุวภพ กระเป๋าทอง | ||||||||||||||||||||
24 | แผนงานที่ 3 : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ | |||||||||||||||||||||||||
25 | 4 | 1. โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ | 12 | ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด | พัฒนายุทธศาสตร์ฯ | นายสุเทพ พลอยพลายแก้ว | 819911752 | |||||||||||||||||||
26 | 5 | 2.โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ | 13 | ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง | ||||||||||||||||||||||
27 | 13.1 | ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
28 | 13.2 | ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
29 | 14 | ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านการประเมินระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม | อนามัยสิ่งแวดล้อม | น.ส.สกาวรัตน์ เหมือนละม้าย | 094-1659288 | |||||||||||||||||||||
30 | 15 | ร้อยละของจังหวัดที่สามารถควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้สงบได้ ภายใน 21 – 28 วัน | PHEOC | |||||||||||||||||||||||
31 | 16 | ร้อยละของประชากรที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 | ควบคุมโรค | น.ส.ธัญธร แสงอิ่ม | 061-7731098 | |||||||||||||||||||||
32 | 17 | ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) | PHEOC | |||||||||||||||||||||||
33 | 6 | 3. โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ | 18 | จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เกิดจากการส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถได้รับการอนุญาต | คุ้มครองผู้บริโภคฯ | น.ส.จินดาพร วีระพงษ์/น.ส.ปริญญา เล้กรุ่งเรืองกิจ | ||||||||||||||||||||
34 | 19 | จังหวัดมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ | ||||||||||||||||||||||||
35 | 19.1 | ตลาดนัด น่าซื้อ (Temporary Market) | อนามัยสิ่งแวดล้อม | นางสาวญานันท์ ใจอาจหาญ | 081-9461550 | |||||||||||||||||||||
36 | 19.2 | อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) | อนามัยสิ่งแวดล้อม | นางสาวญานันท์ ใจอาจหาญ | 081-9461550 | |||||||||||||||||||||
37 | 19.3 | ร้านอาหาร (Clean Food Good Taste Plus) | อนามัยสิ่งแวดล้อม | นางสาวญานันท์ ใจอาจหาญ | 081-9461550 | |||||||||||||||||||||
38 | แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม | |||||||||||||||||||||||||
39 | 7 | 1.โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม | 20 | ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital | อนามัยสิ่งแวดล้อม | น.ส.สกาวรัตน์ เหมือนละม้าย | 094-1659288 | |||||||||||||||||||
40 | 20.1 | ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมากขึ้นไป | อนามัยสิ่งแวดล้อม | น.ส.สกาวรัตน์ เหมือนละม้าย | 094-1659288 | |||||||||||||||||||||
41 | 20.2 | ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก Plus | อนามัยสิ่งแวดล้อม | น.ส.สกาวรัตน์ เหมือนละม้าย | 094-1659288 | |||||||||||||||||||||
42 | 21 | ร้อยละของจังหวัดจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับสุขอนามัย และมลพิษสิ่งแวดล้อม | อนามัยสิ่งแวดล้อม | น.ส.สกาวรัตน์ เหมือนละม้าย | 094-1659288 | |||||||||||||||||||||
43 | ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) | |||||||||||||||||||||||||
44 | แผนงานที่ 5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ | |||||||||||||||||||||||||
45 | 8 | 1. โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ | 22 | จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.คณิศร เต็งรัง | ||||||||||||||||||||
46 | 23 | จำนวนประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน | พัฒนาคุณภาพฯ | นส.คณิศร เต็งรัง | ||||||||||||||||||||||
47 | 9 | 2. โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ และ อสม. | 24 | ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้าน มีคุณภาพชีวิตที่ดี | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.ภัทรธีรา บุญฉ่ำ | ||||||||||||||||||||
48 | แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) | |||||||||||||||||||||||||
49 | 10 | 1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | 25 | อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และได้รับการรักษาใน Stroke Unit | ||||||||||||||||||||||
50 | 25.1 | อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60-I69) | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||||
51 | 25.2 | ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||||
52 | 11 | 2. โครงการพัฒนาระบบบริการโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ และโรคอุบัติซ้ำ | 26 | อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ | - | - | ||||||||||||||||||||
53 | 26.1 | อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ | ควบคุมโรค | น.ส.น้ำหวาน พันธ์ขอ | ||||||||||||||||||||||
54 | 26.2 | อัตราความครอบคลุมการขึ้นทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ | ควบคุมโรค | น.ส.น้ำหวาน พันธ์ขอ | ||||||||||||||||||||||
55 | 27 | อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของทั้งประเทศ | PHEOC | |||||||||||||||||||||||
56 | 28 | ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ A,S,M1,M2 มีการพัฒนาศักยภาพรองรับผู้ป่วยโควิดและโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.จีรารัตน์ จงประเสริฐ | ||||||||||||||||||||||
57 | 12 | 3. โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล | 29 | ร้อยละจังหวัดที่ขับเคลื่อนการพัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU province) ตามเกณฑ์ที่กำหนด | คุ้มครองผู้บริโภคฯ | น.ส.พนารัตน์ คณโทเงิน | ||||||||||||||||||||
58 | 30 | อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด | คุ้มครองผู้บริโภคฯ | น.ส.พนารัตน์ คณโทเงิน | ||||||||||||||||||||||
59 | 13 | 4. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด | 31 | อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน | ส่งเสริมสุขภาพ | นางณิชาภัทร รากแก้ว | ||||||||||||||||||||
60 | 14 | 5. โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน | 32 | ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ | พัฒนาคุณภาพฯ | นางชาลิกา จันทร์น้อย | ||||||||||||||||||||
61 | 15 | 6. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก | 33 | ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก | แพทย์แผนไทยฯ | นายชินวัธ มิ่งทอง | ||||||||||||||||||||
62 | 16 | 7. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช | 34 | ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวทรงลักษณ์ กล่ำเพ็ชร์ | ||||||||||||||||||||
63 | 35 | อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ | - | - | ||||||||||||||||||||||
64 | 35.1 | อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวทรงลักษณ์ กล่ำเพ็ชร์ | ||||||||||||||||||||||
65 | 35.2 | ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทําร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี | ส่งเสริมสุขภาพ | นางสาวทรงลักษณ์ กล่ำเพ็ชร์ | ||||||||||||||||||||||
66 | 17 | 8. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก | 36 | อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.ชรริน พูลศิลป์ | ||||||||||||||||||||
67 | 37 | Refracture Rate | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.จีรารัตน์ จงประเสริฐ | ||||||||||||||||||||||
68 | 18 | 9. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ | 38 | อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานตามเวลาที่กำหนด | - | - | ||||||||||||||||||||
69 | 38.1 | อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||||
70 | 38.2 | ร้อยละของการให้การรักษาผู้ป่วย STEMI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||||
71 | 38.2.1 | ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||||
72 | 38.2.2 | ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการทำ Primary PCI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||||
73 | 19 | 10. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง | 39 | ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ภายใน 4, 6 และ 6 สัปดาห์ | - | - | ||||||||||||||||||||
74 | 39.1 | ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
75 | 39.2 | ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
76 | 39.3 | ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษา ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
77 | 40 | ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ที่มีการส่งต่อข้อมูลผ่านโปรแกรม TCB Plus | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
78 | 41 | ร้อยละของจำนวนหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่มี Cancer Coordinator | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||||
79 | 20 | 11. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต | 42 | ร้อยละผู้ป่วย CKD ที่มีค่า eGFR ลดลง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ml/min/1.73 m2/yr | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||
80 | 21 | 12. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา | 43 | ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน | NCD | นางจิราภรณ์ คนมั่น | 086-2554688 | |||||||||||||||||||
81 | 22 | 13. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ | 44 | อัตราส่วนของจำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายที่ได้รับการผ่าตัดนำอวัยวะออกต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S) | พัฒนาคุณภาพฯ | นางชาลิกา จันทร์น้อย | ||||||||||||||||||||
82 | 23 | 14. โครงการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด | 45 | ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) | NCD | น.ส.ทิพย์เนตร รวยนิรัตน์ | ||||||||||||||||||||
83 | 24 | 15. โครงการการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง (Intermediate Care; IMC) | 46 | ร้อยละของ ผู้ป่วย Intermediate care * ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือน | NCD | นางน้ำทิพย์ วิชาชัย | 095-9125333 | |||||||||||||||||||
84 | 25 | 16. โครงการพัฒนาระบบบริการ One Day Surgery: ODS | 47 | ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.ชรริน พูลศิลป์ | ||||||||||||||||||||
85 | 48 | ร้อยละของการ Re-admit ภายใน 1 เดือน จากการผ่าตัดโรคนิ่วในถุงน้ำดีและหรือถุงน้ำดีอักเสบ ผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) | พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.ชรริน พูลศิลป์ | ||||||||||||||||||||||
86 | 26 | 17. โครงการกัญชาทางการแพทย์ | 49 | ร้อยละของหน่วยบริการสาธารณสุขที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ | - | - | ||||||||||||||||||||
87 | 49.1 | ร้อยละของ รพ. สังกัด สป.สธ. ที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ | คุ้มครองผู้บริโภค/แพทย์แผนไทยฯ | น.ส.ดนัยา ชนะชัยวิบูลย์วัฒน์/น.ส.มาดีนา จริยศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||
88 | 49.2 | ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ | คุ้มครองผู้บริโภค/แพทย์แผนไทยฯ | น.ส.ดนัยา ชนะชัยวิบูลย์วัฒน์/น.ส.มาดีนา จริยศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||
89 | 49.3 | จำนวนสถานพยาบาลเอกชนที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ในแต่ละเขตสุขภาพ | คุ้มครองผู้บริโภค/แพทย์แผนไทยฯ | น.ส.ดนัยา ชนะชัยวิบูลย์วัฒน์/น.ส.มาดีนา จริยศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||
90 | 49.4 | ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ | คุ้มครองผู้บริโภค/แพทย์แผนไทยฯ/พัฒนาคุณภาพฯ | น.ส.ดนัยา ชนะชัยวิบูลย์วัฒน์/น.ส.มาดีนา จริยศาสตร์/ นางชาลิกา จันทร์น้อย | ||||||||||||||||||||||
91 | 49.5 | ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ | แพทย์แผนไทยฯ | น.ส.ดนัยา ชนะชัยวิบูลย์วัฒน์/น.ส.มาดีนา จริยศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||
92 | แผนงานที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ | |||||||||||||||||||||||||
93 | 27 | 1. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ | 50 | อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) | - | - | ||||||||||||||||||||
94 | 51 | ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน | ควบคุมโรค | นายสันติ มีแสง | 083-0219767 | |||||||||||||||||||||
95 | 52 | ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ | ควบคุมโรค | นายสันติ มีแสง | 083-0219767 | |||||||||||||||||||||
96 | 52.1 | ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ | ไม่ใช่ตัวชี้วัดลพบุรี | - | ||||||||||||||||||||||
97 | 52.2 | ร้อยละของโรงพยาบาลทั่วไป ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ | ควบคุมโรค | นายสันติ มีแสง | 083-0219767 | |||||||||||||||||||||
98 | แผนงานที่ 8 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ | |||||||||||||||||||||||||
99 | 28 | 1. โครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และโครงการพื้นที่เฉพาะ | 53 | ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีมาตรฐานการบริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่กำหนด | ไม่ใช่ตัวชี้วัดลพบุรี | - | ||||||||||||||||||||
100 | แผนงานที่ 9 : อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย |