ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZAAABACADAEAFAGAHAIAJAKALAMANAOAPAQARASATAUAVAWAXAYAZBABB
1
ประทับเวลาชื่ออำเภอชื่อตำบลชื่อหมู่บ้าน1. เพศ2. ปัจจุบันท่านอายุ
3. ท่านจบการศึกษาสูงสุดหรือกำลังศึกษาระดับชั้นใด
4. ท่านมีบทบาท/ตำแหน่ง/สถานะทางสังคมแบบใด
องค์ประกอบที่ 1 ทักษะการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ [1. เมื่อต้องการข้อมูลด้านสุขภาพและวิธีป้องกันตนเอง ท่านสามารถหาแหล่งข้อมูลได้โดยทันที]
องค์ประกอบที่ 1 ทักษะการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ [2. ท่านสามารถค้นหาข้อมูลสุขภาพที่ต้องการจากหลายแหล่งได้ เช่น จากผู้รู้ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ เป็นต้น]
องค์ประกอบที่ 1 ทักษะการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ [3. ท่านสามารถเสาะหาแหล่งบริการสุขภาพที่จะให้การช่วยเหลือด้านสุขภาพ เมื่อเกิดความเจ็บป่วยหรือจำเป็นได้]
องค์ประกอบที่ 1 ทักษะการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ [4. ท่านสามารถติดต่อเบอร์สายด่วนสุขภาพที่จะให้การช่วยเหลือด้านสุขภาพ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรือปัญหาสุขภาพได้]
องค์ประกอบที่ 2 ด้านการเข้าใจข้อมูลสุขภาพ [5. ท่านสามารถอ่านข้อมูลด้านสุขภาพและวิธีการป้องกันตนเองด้วยความเข้าใจวิธีการปฏิบัติตามคำแนะนำในคู่มือ หรือเว็ปไซด์]
องค์ประกอบที่ 2 ด้านการเข้าใจข้อมูลสุขภาพ [6. ท่านสามารถอ่านฉลากอาหารและยา ที่ได้รับถึงวิธีการกิน การใช้ การเก็บรักษา และผลข้างเคียง]
องค์ประกอบที่ 2 ด้านการเข้าใจข้อมูลสุขภาพ [7. ท่านสามารถเข้าใจข้อมูลสุขภาพที่นำเสนอในรูปของสัญลักษณ์ คำศัพท์ ตัวเลขหรือเครื่องหมายในสถานพยาบาลได้]
องค์ประกอบที่ 2 ด้านการเข้าใจข้อมูลสุขภาพ [8. ท่านกล้าซักถามผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ เช่น หมอ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครูอนามัย เพื่อเพิ่มเข้าใจวิธีการดูแลสุขภาพให้ความเข้าใจที่ถูกต้อง]
องค์ประกอบที่ 3 ด้านการประเมินข้อมูลและบริการด้านสุขภาพ [9. ท่านตรวจสอบข้อมูลการปฏิบัติตัว โดยการซักถาม หรือโต้แย้ง แพทย์ ผู้รู้หรือผู้ให้บริการสุขภาพ ก่อนที่จะเชื่อหรือทำตาม]
องค์ประกอบที่ 3 ด้านการประเมินข้อมูลและบริการด้านสุขภาพ [10.ท่านพิจารณาข้อดีข้อเสียของข้อมูลสุขภาพที่ได้รับด้วยเหตุผล ก่อนที่จะเชื่อหรือทำตามถึงแม้จะมีคนที่ใช้แล้วได้ผล]
องค์ประกอบที่ 3 ด้านการประเมินข้อมูลและบริการด้านสุขภาพ [11. ท่านทบทวนถึงประโยชน์และความปลอดภัยของข้อมูลสุขภาพที่ได้รับ ก่อนที่จะเชื่อหรือทำตาม]
องค์ประกอบที่ 3 ด้านการประเมินข้อมูลและบริการด้านสุขภาพ [12. เมื่อมีข้อมูลใหม่เข้ามา ท่านสามารถตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูลก่อนตัดสินใจเชื่อหรือทำตาม]
องค์ประกอบที่ 4 การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ [13. ท่านสามารถนำข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพ ไปใช้ในการส่งเสริมสุขภาพตนเองให้ดีอยู่เสมอ]
องค์ประกอบที่ 4 การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ [14.ท่านหมั่นสังเกตความผิดปกติของร่างกายและอารมณ์ของตนเอง เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นได้]
องค์ประกอบที่ 4 การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ [15.วางแผน ทำกิจกรรมที่จำเป็น เช่น น้ำหนัก ตรวจสุขภาพประจำปี มองโลกในแง่บวก ลดอาหารทำลายสุขภาพ ออกกำลังกาย เพื่อการมีสุขภาพที่ดีของตนเอง]
องค์ประกอบที่ 4 การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ [16.ท่านตั้งเป้าหมายไว้ชัดเจนในการปฏิบัติตน เพื่อลดหรือหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ]
การบริโภคอาหาร [1. ท่านกินผักและผลไม้สดที่ไม่หวานจัด อย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัม]
การบริโภคอาหาร [2. ท่านกินอาหารที่มีแคลเซียม เช่น นม ปลาเล็ก ปลาน้อย เพื่อเสริมสร้างกระดูก]
การบริโภคอาหาร [3.ท่านกินอาหารที่มีไขมันสูง เช่น อาหารทอด แกงกะทิ เนื้อติดมัน เป็นต้น]
การบริโภคอาหาร [4.ท่านกินขนมที่มีรสหวานเช่น ลูกอม ขนมเชื่อม หรือผลไม้ที่มีน้ำตาลสูง]
การบริโภคอาหาร [5.ท่านดื่มเครื่องดื่มที่มีรสหวานเช่น น้ำอัดลม น้ำแดง น้ำเขียว]
การบริโภคอาหาร [6.ท่านกินอาหารรสเค็ม หมักดอง หรือเติมน้ำปลาเพิ่มในอาหาร]
การออกกำลังกาย [7.ท่านออกกำลังกายเพื่อฝึกการทรงตัว เช่น รำไม้พอง โยคะ เต้นรำจังหวะบาสโลป วันละ 30 นาที]
การออกกำลังกาย [8.ท่านได้เคลื่อนไหวร่างกายต่อเนื่องจากการทำกิจวัตรประจำวันประมาณ 30 นาที เช่น เดินไปทำงาน ทำงานบ้าน ทำงานโดยใช้แรง เป็นต้น]
การจัดการความเครียด [9. ท่านเบื่ออาหาร หรือ กินมากเกินไป]
การจัดการความเครียด [10.ท่านหลับยากหรือหลับๆตื่นๆหรือหลับมากไป]
การป้องกันการพลัดตกหกล้ม [11.ท่านเดินเกาะราวหรือใช้ไม้เท้า เมื่อต้องเดินบนพื้นลาดหรือต่างระดับ หรือในการใช้ห้องน้ำ]
การป้องกันการพลัดตกหกล้ม [12.ท่านจัดของใช้ให้เป็นระเบียบ ไม่กีดขวางทางเดิน]
การป้องกันการพลัดตกหกล้ม [13.ท่านดูแลเช็ดทำความสะอาดทันทีเมื่อมีเศษอาหารหรือของเหลวหกบนพื้น]
การป้องกันการพลัดตกหกล้ม [14.ท่านเปิดไฟเมื่อเข้าห้องน้ำ]
การดูแลสุขภาพช่องปาก [15.ท่านแปรงฟันทุกเช้าและก่อนนอน]
การดูแลสุขภาพช่องปาก [16.เมื่อมีเศษอาหารติดอยู่ตามซอกฟัน ที่ไม่สามารถแปรงฟันออกมาได้ ท่านจะใช้ไหมขัดฟันดึงเศษอาหารออก]
การดูแลสุขภาพช่องปาก [17.ท่านใช้ฟันกัดของแข็ง เช่น กัดก้านแว่นตา กัดปากกา กัดเข็มเย็บผ้า ถุงพลาสติก เป็นต้น]
พฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อม [18.ท่านเล่นเกมฝึกสมอง เช่น ฝึกเล่นเกมคำนวณ การทำงานฝีมือ งานศิลปะ เป็นต้น]
พฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อม [19.ท่านสูบบุหรี่]
พฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อม [20.ท่านดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ ยาดอง เป็นต้น]
พฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 [21.ท่านใช้สิ่งของส่วนตัว เช่น จาม ช้อนส้อม แก้วน้ำ ผ้าเช็ดตัว ฯลฯ ร่วมกับผู้อื่น]
พฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 [22.ท่านรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่น]
พฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 [23.ท่านล้างมือด้วยสบู่และน้ำสะอาด หรือใช้แอลกอฮอล์เจลล้างมือ หลังจากจับสิ่งของสาธารณะ เช่น ราวบันได ที่จับประตู ปุ่มกดลิพท์ เป็นต้น]
พฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 [24.ท่านสวมใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยในที่สาธารณะ]
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100