ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
1
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2566 ภาควิชาภาษาไทย
2
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3
กรอบระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2566 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2567
4
5
ชื่อแผนงาน/ความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของคณะชื่อโครงการ/กิจกรรมวัตถุประสงค์ของโครงการตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการระยะเวลาดำเนินการงบประมาณ
(บาท)
ผู้รับผิดชอบหมายเหตุ
6
1. แผนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน
7
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสู่
ตลาดแรงงานและสังคม


* หากไม่สอดคล้อง โปรดชี้แจงเหตุผล
1. กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2566เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านภาษา
ก.ค. - ก.ย. 663,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
8
2.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2566เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านวรรณกรรม
ก.ค. - ก.ย. 663,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
9
3.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2566เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านสังคมวัฒนธรรมและคติชนวิทยาก.ค. - ก.ย. 663,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
10
4.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2566เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านสัมพันธสารและวาทกรรมก.ค. - ก.ย. 663,000ผศ.ดร.วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต (บัณฑิตศึกษา)
11
5.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2567เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านภาษามิ.ย - ก.ย. 673,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
12
6.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2567เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านวรรณกรรมมิ.ย - ก.ย. 673,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
13
7.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2567เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านสังคมวัฒนธรรมและคติชนวิทยามิ.ย - ก.ย. 673,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
14
8.กิจกรรมบรรยายพิเศษในรายวิชาระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2567เพื่อพัฒนาทักษะเดิมและเพิ่มเติมทักษะใหม่ด้านสัมพันธสารและวาทกรรมมิ.ย - ก.ย. 673,000ผศ.ดร.วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต (บัณฑิตศึกษา)
15
ยุทธศาสตร์ที่ 1
เป้าประสงค์ที่ 1.1 พัฒนาหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่น ทันสมัย และหลากหลาย เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน
9. โครงการพัฒนาระบบงานและการบริหารหลักสูตร (ภาคต้น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)
9.1 ระบบงานและการบริหารหลักสูตร
9.2 ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อวางแผนระบบการบริหารหลักสูตร1.แผนปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2566 (การมอบหมาย กระจายภาระงานอย่างเหมาะสม อย่างน้อยเป็นแผนระยะที่ 1)
2.มีแนวทางการพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
3.ผลประเมินความพึงพอใจผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3.51
มิ.ย.66 - ก.ย.676,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
16
10. โครงการรับนิสิตแรกเข้า ปีการศึกษา 2567เพื่อรับนิสิตใหม่เข้าศึกษาในหลักสูตรหลักสูตรสามารถรับนิสิตใหม่ได้ตามแผนการรับนิสิต (แผนรับ 50คน/ปีการศึกษา)ต.ค. 66 - ก.ย.670ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
17
11.โครงการกำกับมาตรฐานรายวิชา ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ (มคอ.2/3/5 การมอบหมายภาระงานสอน) ปีการศึกษา 2566เพื่อกำกับมาตรฐานรายวิชาในหลักสูตรรายวิชาในหลักสูตรทวนสอบฯ ครบถ้วนภายในรอบการปรับปรุงหลักสูตรพ.ค. 25673,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ, ศศ.ม., ปร.ด.
18
12.โครงการประเมินคุณภาพหลักสูตร (มคอ.7 และระบบประกันคุณภาพ) ปีการศึกษา 2566เพื่อกำกับมาตรฐานหลักสูตรหลักสูตรผ่านการประเมิน และมีผลคะแนนไม่ต่ำว่า 3.00ม.ค. - มิ.ย. 6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ, ศศ.ม., ปร.ด.
19
13.โครงการจัดการข้อมูลสารสนเทศหลักสูตร และเก็บข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตรเพื่อเตรียมปรับปรุงหลักสูตรเพื่อจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศหลักสูตร ทะเบียนนิสิตปัจจุบันและศิษย์เก่ามีฐานข้อมูลการดำเนินการงานหลักสูตร เก็บข้อมูลจากผู้มีเส่วนได้ส่วนเสีย และวางแผนการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ปรับปรุงหลักสูตรต่อไปมิ.ย.66 - ก.ย.6720,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
20
14.โครงการศึกษาดูงานหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศไทย ปีการศึกษา 25661.เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตร
2.เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน รายวิชาในหลักสูตรให้ก้าวทันศาสตร์
3.เพื่อศึกษาแนวทางการยกระดับมาตรฐานหลักสูตรตามแนวทาง IQA และ AUN QA
4.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น
1.ศึกษาดูงานหลักสูตรอย่างน้อย 1 แห่ง
2.ผลประเมินความพึงพอใจผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3.51
มิ.ย.66 - ก.ย.6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
21
15. โครงการสำรวจความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร1.เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร
2.เพื่อประเมินการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ของนิสิต 3.เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน
1.หลักสูตรได้รับข้อมูลความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน
2.หลักสูตรได้รับผลการประเมินการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ของนิสิต
3.หลักสูตรสามารถกำหนดแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอนได้
ม.ค. -มิ.ย. 6730,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ (นานาชาติ)
22
2. แผนการพัฒนานิสิต
23
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสู่ตลาดแรงงานและสังคม1.โครงการบอกเล่าเก้าสิบจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เรื่อง "เขียนวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จ"1.เพื่อให้นิสิตเก่าถ่ายทอดประสบการณ์เกี่ยวกับการทำวิทยานิพนธ์แก่นิสิตปัจจุบัน
2.เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างนิสิตเก่าศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกับนิสิตปัจจุบัน
นิสิตร้อยละ 80 เกิดความเข้าใจในเรื่องการเขียนวิทยานิพนธ์และการเขียนบทความส.ค. 25664,500ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ (บัณฑิตศึกษา)
24
2.โครงการบอกเล่าเก้าสิบจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เรื่อง "เตรียมเขียนบทความอย่างไรให้ได้รับการตีพิมพ์"1.เพื่อให้นิสิตเก่าถ่ายทอดประสบการณ์เกี่ยวกับการทำวิทยานิพนธ์แก่นิสิตปัจจุบัน
2.เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนิสิตเก่าหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกับนิสิตปัจจุบัน
นิสิตร้อยละ 80 เกิดความเข้าใจในเรื่องการเขียนวิทยานิพนธ์และการเขียนบทความม.ค. 25674,500ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ (บัณฑิตศึกษา)
25
3.กิจกรรมพัฒนาทักษะ ( Upskill ) และสร้างทักษะใหม่ ( Reskill ) ให้แก่นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา (จัดอบรมระบบ ITHESIS 1 และ ITHESIS 2)เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำ iThesis ให้แก่นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา1 ตุลาคม 25666,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
26
4.โครงการปฐมนิเทศนิสิตและเตรียมความพร้อม ประจำปีการศึกษา 25661.เพื่อแนะนำหลักสูตรและวางแนวทางการเรียนให้แก่นิสิต 2.เพื่อเตรียมความพร้อมนิสิตก่อนเข้าศึกษา1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย. 256625,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
27
5.โครงการปฐมนิเทศนิสิตและเตรียมความพร้อม ประจำปีการศึกษา 25671.เพื่อแนะนำหลักสูตรและวางแนวทางการเรียนให้แก่นิสิต 2.เพื่อเตรียมความพร้อมนิสิตก่อนเข้าศึกษา1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย. 256725,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
28
6.โครงการภาคสนามระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 21.เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. เพื่อให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิขาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้จริงในภาคสนาม1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
4-5 ก.พ.67 ณ ตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสารคร100,000ผศ.ดร.ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์ (บัณฑิตศึกษา)
29
7.โครงการติดตามความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์เพื่อติดตามความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
เม.ย. - พ.ค. 6720,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
30
8.โครงการนำเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์เพื่อให้นิสิตได้นำเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์และฝึกการนำเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์นิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และโครงการวิทยานิพนธ์ก.พ. - เม.ย. 6720,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
31
ยุทธศาสตร์ที่ 1
เป้าประสงค์ที่ 1.3 พัฒนานิสิตที่มีคุณภาพสู่ตลาดแรงงานและสังคม
และ ยุทธศาสตร์ที่ 4
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
9.โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 เพื่อความพร้อมในการทำงาน (Knowledge: Soft skills & Hard skills) (ภาคต้น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเตรียมความพร้อมและเสริมทักษะให้แก่นิสิตในหลักสูตร โดยเฉพาะชั้นปีที่ 4 ก่อนสำเร็จการศึกษาและเข้าสู่ตลาดงาน1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย.66 - ก.ย.6730,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
32
10.โครงการบรรยายพิเศษรายวิชาในหลักสูตร/ระดับหลักสูตร เพื่อเสริมความเข้มแข็งทางวิชาการ วิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ (ภาคต้น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งทางวิชาการให้แก่นิสิตในหลักสูตร1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย.66 - ก.ย.6730,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
33
11. โครงการส่งเสริมและพัฒนานิสิต (การเข้าอบรมกับหน่วยงานภายนอก/การประกวด/แข่งขันกิจกรรมทางวิชาการ และทักษะต่างๆ รวมถึงศิลปวัฒนธรรม) (ปีการศึกษา 2566 และ 2567)เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมการเข้าประกวด แข่งขันทางวิชาการ ทั้งหน่วยงานภายในและนอกมหาวิทยาลัยนิสิตได้รับรางวัลระดับชาติ อย่างน้อย 2 รายการแข่งขันมิ.ย.66 - ก.ย.6730,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
34
12.โครงการปฐมนิเทศ ปี 1 เตรียมความพร้อมนิสิตเข้าหลักสูตร (ปีการศึกษา 2566 และ 2567)เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นิสิตใหม่ ปีการศึกษา 25661. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย.66 - ก.ย.6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
35
13.โครงการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกงาน ปี 3 (ปีการศึกษา 2566)เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นิสิตชั้นปีที่ 3 ก่อนการฝึกงานช่วงภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 25661. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย.66 - ก.ย.6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
36
14. โครงการปัจฉิมนิเทศนิสิตชั้นปีที่ 41. เพื่อให้นิสิตชั้นปีที่ 4 เตรียมความพร้อมก่อนสำเร็จการศึกษาและเข้าสู่ตลาดงาน 2. เพื่อแสดงมุทิตาจิตต่อคณาจารย์ภาควิชา1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
วันพุธที่ 14 ก.พ. 6715,790ผศ.ดร. วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
37
15. โครงการ open house เปิดบ้านภาษาไทย (ปีการศึกษา 2566)เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. - ธ.ค. 6610,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
38
ยุทธศาสตร์ที่ 1
เป้าประสงค์ที่ 1.3 พัฒนานิสิตที่มีคุณภาพสู่ตลาดแรงงาและสังคม
กลยุทธ์ 1.3.1 การพัฒนานิสิตให้มีสุขภาวะทางกายและจิตใจ เป็นนักมนุษยศาสตร์รุ่นใหม่
16. โครงการเสริมสร้าง Mental Wellbeing & Social Wellbeing (สุขภาวะทางใจและทางสังคม) : .โครงการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร (ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางใจและทางสังคม1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 66 - ก.ย.676,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
39
17. โครงการเสริมสร้าง Mental Wellbeing & Social Wellbeing (สุขภาวะทางใจและทางสังคม) : โครงการส่งเสริมทักษะการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม (ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางใจและทางสังคม1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 66 - ก.ย.676,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
40
18. โครงการเสริมสร้าง Mental Wellbeing & Social Wellbeing (สุขภาวะทางใจและทางสังคม) : โครงการบันทึกธรรมชาติ ปรับผัสสะ สร้างสุขภาวะทางใจ (ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางใจและทางสังคม1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 66 - ก.ย.676,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
41
19.โครงการเสริมสร้าง Digital Wellbeing (สุขภาวะดิจิทัล) : การใช้สื่ออย่างเหมาะสม (ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะดิจิทัล1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 66 - ก.ย.676,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
42
20.โครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ ประจำปีการศึกษา 25661.เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นิสิตใหม่ประจำปีการศึกษา 2566 ที่เข้าศึกษาในหลักสูตรฯ
2.เพื่อให้นิสิตใหม่ประจำปีการศึกษา 2566 ได้มีโอกาสทำความรู้จักและสร้างสัมพันธภาพที่ดีก่อนเข้าศึกษา
1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
14 ส.ค. 6620,000อ.ดร.สุรีย์รัตย์ บำรุงสุข ศศ.บ (นานาชาติ)
43
21.โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตเพื่อการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทยผ่านแหล่งท่องเที่ยว ปีการศึกษา 25661.เพื่อพัฒนานิสิตด้านการสื่อสารผ่านแหล่งท่องเที่ยว
2.เพื่อให้นิสิตเห็นถึงคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมอันสูงค่าของไทย
1. นิสิตได้มีเรียนรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยได้ไม่ต่ำกว่าระดับมาก
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
3. ค่าเฉลี่ยผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
มี.ค. - เม.ย. 6730,000อ.ดร.ธัญญธร เส้งเนตร ศศ.บ (นานาชาติ)
44
22.โครงการปัจฉิมนิเทศผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปีการศึกษา 25651.เพื่อแสดงความยินดีและเตรียมความพร้อมให้แก่นิสิตที่กำลังจะสำเร็จการศึกษา
2.เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การศึกษาและการทำงาน
3.เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้องของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาคพิเศษ
1.ค่าเฉลี่ยผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
27 เม.ย. 6720,000อ.พัชราพรรณ กะตากูล ศศ.บ (นานาชาติ)
45
23.โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม1.เพื่อให้นิสิตได้เรียนรู้วัฒนธรรมกับนิสิตชาวไทย
2.เพื่อให้นิสิตเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมชาติตน
1.ค่าเฉลี่ยผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ก.ย. 66300,000อ.ดร.ดีอนา คาซา ศศ.บ (นานาชาติ)
46
24.กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อ re-skill & up-skill เครื่องมือออกแบบกราฟิกออนไลน์1. เพื่อให้นิสิตเรียนรู้เครื่องมือและวิธีการออกแบบกราฟิกออนไลน์ 2. เพื่อให้นิสิตสามารถนำไปใช้กับการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาได้1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 6625,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ (นานาชาติ)
47
25.โครงการปลูกป่าชายเลน ณ จังหวัดระยอง1.เพื่อให้นิสิตได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ และการสื่อสารภาษาไทยในบริบทวัฒนธรรมไทย
2.เพื่อให้นิสิตได้รับความรู้เกี่ยวกับการปลูกป่าชายเลนและตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.เพื่อให้นิสิตได้พัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มี.ค. 67400,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ (นานาชาติ)
48
26. โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตเพื่อการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทยผ่านแหล่งท่องเทียว ปีการศึกษา 25651. เพื่อพัฒนานิสิตด้านการสื่อสารผ่านแหล่งท่องเทียว 2. เพื่อให้นิสิตเห็นถึงคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมอันสูงค่าของไทย1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
25 เม.ย.6629,500อาจารย์ ดร. ธัญญธร เส้งเนตร
49
27. โครงการสร่้างสุขภาวะทางใจ "Parkใจ Go Campus เรียนรู้และสัมผัสธรรมชาติ (อาบป่า) ครั้งที่ 21. เพื่อใหเ้นิสิตมีความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับธรรมชาติ การอาบป่า และรู้จักใช้ผัสสะในตัวเองเชื่อมโยงกับธรรมชาติ 2.เพื่อให้นิสิตตระหนักในคุณค่าของการเชื่อมโยงตนเองกับธรรมชาติ 3. เพื่อเป็นเครื่องมือในการหาทางออกและสร้างสมดุลของสุขภาวะทางจิตใจและอารมณ์ โดยพึ่งพาธรรมชาติใกล้ตัว1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
28 เม.ย.675,450ผศ.ดร. วิิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
50
28. โครงการเสน่ห์เสียงไทย การประกวดอ่านออกเสียงร้อยแก้วสำหรับนิสิตนักศึกษาชาวต่างประเทศ ภาคฤดูร้อน ปี พ.ศ. 25671 . เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงร้อยแก้วภาษาไทยให้แก่นิสิตนักศึกษาชาวต่างประเทศ
2. เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการด้านภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร ศศ.บ. สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)
1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
6 เม.ย.67 และ 27เมษายน 2567
25,000อ.ดร.พัชราพรรณ กะตากูล
51
3. แผนการวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์
52
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างผลงานทางวิชาการงานวิจัยขั้นสูงและงานสร้างสรรค์โดยประยุกต์องค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 3. จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ด้านสามัตถิยะทางภาษา1.โครงการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนาบุคลากรผู้สอนและนิสิตไปนำเสนอผลงานวิจัยภายในประเทศหรือต่างประเทศเพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการนำเสนองานวิจัยจำนวนผลงานวิจัยที่ได้ไปนำเสนอที่ประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตลอดปี100,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
53
2.โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อการตีพิมพ์บทความในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติเพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการนำเสนองานวิจัยจำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติตลอดปี100,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
54
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างผลงานทางวิชาการงานวิจัยขั้นสูงและงานสร้างสรรค์โดยประยุกต์องค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์3.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 5เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6610,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
55
4.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 6เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6610,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
56
5.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 7เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6610,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
57
6.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 8เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6610,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
58
7.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 9เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
59
8.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 10เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
60
9.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 11เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
61
10.กิจกรรมถนนนักวิจัยภาษาไทยเส้นทางที่ 12เพื่อ UPSKILL & RESKILL ความรู้ทางวิจัยให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและศิษย์เก่าของภาควิชานิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
62
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างผลงานทางวิชาการงานวิจัยขั้นสูงและงานสร้างสรรค์โดยประยุกต์องค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์ เป้าประสงค์ที่ 2.1 ยกระดับศักยภาพด้านการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนและมุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในระดับสากล
ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ด้านสามัตถิยะทางภาษา
ค่าเป้าหมาย 9 บทความ
11. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ1.เพื่อสนับสนุนทุนวิจัย/บทความวิชาการให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2.เพื่อสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย/บทความวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3.เพื่อสนับสนุนการนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ2 โครงการวิจัย / บทความวิจัยมิ.ย. 66- ก.ย. 67700,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ (นานาชาติ)
63
12.โครงการอบรมสัมมนา ดูงานในประเทศและต่างประเทศ : การประชุมวิชาการระดับชาติ การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ ครั้งที่ 1 เรื่องการกำหนดสัทอักษรถ่ายทอดเสียงภาษาไทยสำหรับสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ1.เพื่อ up-skill อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2.เพื่อ re-skill อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
1.อาจารย์มีความรู้เพิ่มขึ้นและเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม 2. อาจารย์เข้าอบรมเกินร้อยละ 80 ของระยะเวลาการอบรม22 ก.ค. 66100,000อ.นพวรรณ สังข์ห่อ ศศ.บ (นานาชาติ)
64
4. แผนการบริการวิชาการ
65
1.โครงการบรรยายเชิงบริการวิชาการของคณาจารย์และนิสิตแก่บุคคลภายนอก1.เพื่อบริการองค์ความรู้และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ
2.เพื่อพัฒนาคณาจารย์และนิสิตด้านการเผยแพร่องค์ความรู้ทางภาษาไทย
นิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการต.ค. 664,500ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ (บัณฑิตศึกษา)
66
2.โครงการบรรยายเชิงบริการวิชาการของคณาจารย์และนิสิตแก่บุคคลภายนอก1.เพื่อบริการองค์ความรู้และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ
2.เพื่อพัฒนาคณาจารย์และนิสิตด้านการเผยแพร่องค์ความรู้ทางภาษาไทย
นิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการพ.ค. 674,500ผศ.ดร.เมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา (บัณฑิตศึกษา)
67
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการนำองค์ความรู้สาขามนุษยศาสตร์สู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1 การนำองค์ความรู้สาขามนุษยศาสตร์สู่การพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างความเข้มแข็งให้แก่สังคมและชุมชน
กลยุทธ์ 3.1.1 พัฒนางานบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน
3.โครงการส่งเสริมบุคลากรที่มีศักยภาพด้านบริการวิชาการ (ภาคต้น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)1.เพื่อบริการองค์ความรู้และสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ
2.เพื่อพัฒนาคณาจารย์และนิสิตด้านการเผยแพร่องค์ความรู้ทางภาษาไทย
1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
มิ.ย. 66 - ก.ย. 6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
68
69
5. แผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
70
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของโคงการที่บรรลุเป้าหมายในการอนุรักษ์และทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย1.โครงการสร้างความร่วมมือด้านภาษาและวัฒนธรรมกับสถาบันการศึกษาอื่นเพื่อสร้างความร่วมมือด้านภาษาและวัฒนธรรมกับสถาบันการศึกษาหน่วยงานที่สร้างความร่วมมือระหว่างกันก.ย. 256615,000รศ.ดร.โกวิทย์ พิมพวง (บัณฑิตศึกษา)
71
2.โครงการภาษาสัญจรภาพสะท้อนสังคมในกรุงเทพมหานครเพื่อศึกษาภาษาที่สะท้อนสังคมในกรุงเทพมหานครนิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการพ.ค. 256715,000ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ (บัณฑิตศึกษา)
72
3.กิจกรรมศึกษาภาษาและวัฒนธรรมนอกสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2566เพื่อเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจากสถานการณ์จริงนิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 665,000ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ (บัณฑิตศึกษา)
73
4.กิจกรรมศึกษาภาษาและวัฒนธรรมนอกสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2567เพื่อเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจากสถานการณ์จริงนิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ และความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นจากการประเมินตนเองก.ค. - ก.ย. 675,000ผศ.ดร.บุญเลิศ วิวรรณ์ (บัณฑิตศึกษา)
74
5. โครงการวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2566เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทย และมีความภูมิใจในวัฒนธรรมไทยนิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการก.ค. 6620,000ภาควิชาภาษาไทย
75
6. โครงการวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปีการศึกษา 2567เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทย และมีความภูมิใจในวัฒนธรรมไทยนิสิตร้อยละ 80 พึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการก.ค. 6720,000ภาควิชาภาษาไทย
76
7.โครงการไหว้ครูภาควิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 25661.เพื่อให้นิสิตได้ระลึกถึงพระคุณของครู-อาจารย์ 2.เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทยผู้เข้าร่วมร้อยละ 80ส.ค. 665,000ภาควิชาภาษาไทย
77
8.โครงการไหว้ครูภาควิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 25661.เพื่อให้นิสิตได้ระลึกถึงพระคุณของครู-อาจารย์ 2.เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทย1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ก.ค. 665,000ภาควิชาภาษาไทย
78
9.โครงการไหว้ครูภาควิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 25671.เพื่อให้นิสิตได้ระลึกถึงพระคุณของครู-อาจารย์ 2.เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทย1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ส.ค. 675,000ภาควิชาภาษาไทย
79
10.โครงการไหว้ครูภาควิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 25671.เพื่อให้นิสิตได้ระลึกถึงพระคุณของครู-อาจารย์ 2.เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทย1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ก.ค. 675,000ภาควิชาภาษาไทย
80
11โครงการ “คุรุบูชาเกษียณวาร ประจำปี พ.ศ. 2566”เพื่อแสดงมุทิตาจิตต่อผู้เกษียณอายุงาน1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ก.ย. 6620,000ภาควิชาภาษาไทย
81
12.โครงการ “คุรุบูชาเกษียณวาร ประจำปี พ.ศ. 2566”เพื่อแสดงมุทิตาจิตต่อผู้เกษียณอายุงาน1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ก.ย. 6720,000ภาควิชาภาษาไทย
82
ยุทธศาสตร์ที่4 ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป้าประสงค์ที่ 4.1 ยกระดับงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัดที่ 2. ร้อยละของโครงการที่บรรลุเป้าหมายในการอนุรักษ์และทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
ค่าเป้าหมาย 4 โครงการ
13.โครงการเรียนรู้ประเพณีลอยกระทง ประจำปีการศึกษา 25661.เพื่อให้นิสิตได้เรียนรู้ประเพณี ประวัติความเป็นมาของวันลอยกระทง
2.เพื่อให้นิสิตได้ฝึกประดิษฐ์กระทง
1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
30 ต.ค. 6635,000อ.ดร.ธัญญธร เส้งเนตร ศศ.บ (นานาชาติ)
83
14.โครงการส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่1.เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์ และทำบุญเนื่องในโอกาสส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
2.เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทย
3.เพื่อเสริมสร้างสัมพันธ์ระหว่างนิสิตไทย นิสิตชาวต่างประเทศ และคณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย
1.นิสิตได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยได้ไม่ต่ำกว่าระดับมาก
2.มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
3.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.50
ธ.ค. 6629,000อ.พัชราพรรณ กะตากูล ศศ.บ (นานาชาติ)
84
15.โครงการเทศกาลวันตรุษจีน1.นิสิตชาวจีนในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ (นานาชาติ) ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมตามประเพณีจีน
2.เพื่อให้นิสิตชาวจีนได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติตนให้แก่นิสิตชาวไทย ได้ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิตสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ (นานาชาติ) นิสิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยกับสาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก
1.ค่าเฉลี่ยผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51 2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายก.พ. 6710,000อ.นพวรรณ สังข์ห่อ ศศ.บ (นานาชาติ)
85
86
16.โครงการปัจฉิมผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปีการศึกษา 25661.เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประเพณีสงกรานต์
2.เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวัฒนธรรม แนวคิด และการทำงาน
3.เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ
1.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
เม.ย 6770,000อ.ดร.พัชราพรรณ กะตากูล ศศ.บ (นานาชาติ)
87
6. แผนการพัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการ
88
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนช่องทางการสื่อสารองค์กรสู่สาธารณะ1.โครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ในประเทศ / ต่างประเทศเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก1.สื่อประชาสัมพันธ์และจำนวนผู้ติดตามสื่อประชาสัมพันธ์ 2.จำนวนนิสิตที่เข้ามาศึกษาม.ค. - พ.ค. 67400,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.ม. และ ปร.ด.
89
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานสู่ความเป็นเลิศ
เป้าประสงค์ 5.1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
กลยุทธ์ 5.1.3 เสริมสร้างสุขภาวะกายใจให้บุคลากร
2.โครงการเสริมสร้าง Mental Wellbeing & Social Wellbeing (สุขภาวะทางใจและทางสังคม) (ภาคต้น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางใจและทางสังคม ให้แก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 66 - ก.ย.6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
90
3.โครงการเสริมสร้าง Digital Wellbeing (สุขภาวะดิจิทัล) (ภาคต้น ภาคปลาย ปีการศึกษา 2566 และ ภาคต้น 2567)เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะดิจิทัลให้แก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 3.51
2. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
ต.ค. 66 - ก.ย.6710,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ
91
4.โครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ณ นครคุณหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน1.เพื่อสร้างสัมพันธภาพอันดีกับหน่วยงานในต่างประเทศ 2.เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนการสอนและวางแนวทางความร่วมมือในอนาคตต่อไป 3.เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ1.มีผู้สมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปีการศึกษา 2567
2. มีการขยายระยะสัญญา MOA กับหน่วยงาน YAAE
23 -27 มิ.ย. 6670,000อ.ดร.สุรีย์รัตน์ บำรุงสุข ศศ.บ (นานาชาติ)
92
5.โครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ณ สาธารณรัฐเกาหลี1.เพื่อแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการและเจรจาตกลงความร่วมมือการดำเนินการหลักสูตร 3+1 หรือ 7+1
2.เพื่อศึกษารูปแบบการเรียนการสอนหลักสูตรภาษาไทยในต่างประเทศ
3.เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนการสอนและวางแนวทางความร่วมมือในอนาคตต่อไป
4.เพื่อสร้างสัมพันธภาพอันดีกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มีนิสิตแลกเปลี่ยนเข้าศึกษาในหลักสูตรจากสาธารณรัฐเกาหลี ในปีการศึกษา 2567ก.ย. 66300,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ (นานาชาติ)
93
6.โครงการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่หลักสูตร1.เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หลักสูตร ศศ.บ. สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารฯ ผ่านช่องทางออนไลน์
2.เพื่อให้หลักสูตรฯ เป็นที่รู้จักและแพร่หลายไปยังชาวต่างชาติหรือผู้ที่สนใจศึกษาเรียนรู้ภาษาไทย
จำนวนนิสิตที่เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปีการศึกษามิ.ย. 66- ก.ย. 67100,000ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ศศ.บ (นานาชาติ)
94
หมายเหตุ สามารถปรับเปลี่ยนชื่อแผนงานได้ตามความเหมาะสม
95
96
97
98
99
100