ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
1
แบบรายงานผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2
3
ไตรมาสที่ 1 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2566
4
ยุทธศาสตร์จัดสรร-แผนงาน-เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ค่าเป้าหมาย
ปี 2567
ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1คำอธิบายผลการดำเนินงานปี 67
ปัญหา อุปสรรคและข้อจำกัด
ในการบรรลุค่าเป้าหมาย
ผู้รายงาน/หน่วยงาน/Cluster
5
1. แผนงาน : ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ
6
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง
7
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง : อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 70 ร้อยละ 70
(ร้อยละ 71)
ร้อยละ 93.69
(ข้อมูลจากระบบปฏิบัติการสาสุข อุ่นใจ ณ วันที่ 2 ม.ค. 67)
1.อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 70 ในภาพรวมของประเทศ (สำรวจทุก 5 ปี) อยู่ระหว่างวิเคราะห์ข้อมูลอละจัดทำรายงานผลสำรวจ
2. ดำเนินการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน (Rapid Survey) ในประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในชุมชนนำร่อง พบว่า สัดส่วนประชากรที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพียงพอร้อยละ 93.69
โดย มีชุมชนนำร่องที่ร่วมลงทะเบียนในระบบปฏิบัติการ “สาสุข อุ่นใจ” เพื่อพัฒนาเป็นชุมชนรอบรอบรู้ด้านสุขภาพ จำนวน 4,711 แห่ง ผ่านการประเมินเป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพจำนวน 2,591 แห่ง
Cluster HL
8
ผลสัมฤทธิ์กรม (ประชาชนทุกกลุ่มวัยสุขภาพดีด้วยการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม)
9
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์หน่วยงาน : อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 70 ร้อยละ 70 ร้อยละ 93.69
(ข้อมูลจากระบบปฏิบัติการสาสุข อุ่นใจ ณ วันที่ 2 ม.ค. 67)
1.อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 70 ในภาพรวมของประเทศ (สำรวจทุก 5 ปี) อยู่ระหว่างวิเคราะห์ข้อมูลอละจัดทำรายงานผลสำรวจ
2. ดำเนินการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน (Rapid Survey) ในประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในชุมชนนำร่อง พบว่า สัดส่วนประชากรที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพียงพอร้อยละ 93.69
โดย มีชุมชนนำร่องที่ร่วมลงทะเบียนในระบบปฏิบัติการ “สาสุข อุ่นใจ” เพื่อพัฒนาเป็นชุมชนรอบรอบรู้ด้านสุขภาพ จำนวน 4,711 แห่ง ผ่านการประเมินเป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพจำนวน 2,591 แห่ง
Cluster HL
10
ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน
11
ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน : เชิงคุณภาพ : เมืองสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน 12 เมือง12 เมืองรายงานผลไตรมาสที่ 31. พัฒนาหลักเกณฑ์ มาตรฐาน หรือกฎหมายในการควบคุมเหตุรำคาญและกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขที่เหมาะสมกับสถานการณ์
- พัฒนาค่ามาตรฐานมลพิษทางน้ำด้านจุลินทรีย์สำหรับสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
(1) กำหนดแนวทางการจัดทำค่ามาตรฐานมลพิษทางน้ำด้านจุลินทรีย์สำหรับสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
(2) กำหนดแนวทางจัดทำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ค่ามาตรฐานมลพิษทางน้ำด้านจุลินทรีย์สำหรับสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ....
2. ขับเคลื่อนการจัดการเหตุรำคาญและควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อลดมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน
- ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (EHA7000) สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
- ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีการร้องเรียนปัญหาเหตุรำคาญ 5 ครั้ง
3. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กรมอนามัย และเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
- ประชุมเชิงปฏิบัติการการตรวจสอบและพิสูจน์ข้อเท็จจริงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีร้องเรียนเหตุรำคาญ ประกอบการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข โดยเจ้าหน้าที่ส่วนกลางกรมอนามัย และศูนย์อนามัย จำนวน 55 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ องค์ความรู้ และทักษะในการตรวจสอบข้อเท็จจริงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีร้องเรียนเหตุรำคาญ รวมถึงพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมภาคสนาม และการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข
- ประชุมเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนระบบการจัดการเหตุรำคาญและกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองสุขภาพดี โดยเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และระดับภูมิภาค จำนวน 90 คน ได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้และพัฒนาขีดความสามารถในการขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมในการจัดการเหตุรำคาญและควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
12
ตัวชี้วัดผลผลิต/โครงการ
13
โครงการ : ส่งเสริมการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่เมืองสุขภาพดี
14
เชิงคุณภาพ : 1. เมืองที่มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่เมืองสุขภาพดี ร้อยละ 20ร้อยละ 20อยู่ระหว่างการดำเนินงาน1. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานเมืองสุขภาพดี และ ชี้แจงเกณฑ์เมืองสุขภาพดี ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสมัครเข้ารับการประเมินเมืองสุขภาพดี
3.อบรมพัฒนาสร้างความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาทักษะในการเป็นพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่เมืองสุขภาพดี
4. อบรมเสริมสร้างศักยภาพเพื่อพัฒนาธรรมาภิบาลด้านสุขภาพเมืองสุขภาพดี และสร้างภาวะผู้นำในการทำงานร่วมกันเป็นทีมในการจัดการปัญหาของเมือง และเพื่อพัฒนาทักษะการคาดการณ์อนาคตเพื่อพัฒนามาตรการ นวัตกรรมในการจัดการปัญหาของเมือง ร่วมกับ WHO SEARO
-กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ / คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
15
โครงการ : ส่งเสริมการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน
16
เชิงคุณภาพ : จังหวัดในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนมีการประเมินความเสี่ยงและจัดการปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ 6 แห่ง6 แห่งอยู่ระหว่างการดำเนินงาน1. จัดทำกรอบแนวทางการดำเนินการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
2. จัดทำแนวทางและแผนการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และชี้แจงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมดำเนินการ
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ / คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
17
โครงการ : ยกระดับบริการความปลอดภัยและบริหารจัดการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน
18
เชิงคุณภาพ : จังหวัดมีการจัดการมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและมาตรฐานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวและรักษามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง 77 แห่ง77 แห่งอยู่ระหว่างดำเนินการ1. พัฒนาแบบตรวจมาตรฐานและรับฟังความคิดเห็นแบบตรวจด้านสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 5 แบบตรวจ
- ตลาดสด
- ตลาดนัด
- สถานที่จำหน่ายอาหาร
- สถานที่สะสมอาหาร
- การจำหน่ายอาหารในที่หรือทางสาธารณะ
2. ติดตามและตรวจเยี่ยมเสริมพลังการพัฒนางานสุขาภิบาลอาหาร
อาหารริมบาทวิถีปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (Street Food Good Health) ระหว่างวันที่ 26 – 29 ต.ค. 66 ณ จ.สุโขทัย จ.น่าน จำนวน 1 ครั้ง
3. ประชุมหารือการจัดการสถานที่สะสมอาหาร ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 วันที่ 4 ต.ค.66 จำนวน 1 ครั้ง
4. ประชุมหารือเพื่อจัดทำกรอบแนวทางการพัฒนากฎหมายระดับอนุบัญญัติ และแผนการขับเคลื่อนคณะอนุกรรมการ หมวด 7, 8, 9
วันที่ 9 ต.ค. 66
5. วางกรอบแนวทางการพัฒนาระบบรับรองมาตรฐาน san ผ่านระบบ Foodhandler
6. จัดทำแผนการเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัย ร่วมกับ อย. และภาคีเครือข่ายในกลุ่มประเทศอาเซียน
7. จัดกิจกรรมรณรงค์ “วันล้างมือโลก” Global Handwashing Day ประจำปี 2566 “มือสะอาด...อยู่ใกล้แค่เอื้อม: Clean hands are within reach” และคิเรอิ คิเรอิ Global Hand Washing Run วิ่งด้วยใจ ให้น้องมือสะอาดวันที่ 15 ต.ค. 66 ณ สวนหลวง ร.9 เขตประเวศ กทม. จำนวน 1 ครั้ง
8. จัดกิจกรรมรณรงค์ตรวจเยี่ยมเสริมพลังและรณรงค์ “กินเจ อิ่มบุญ มือสะอาด สุขภาพดี วิถีใหม่”วันที่ 16 ต.ค. 66 ณ ลานเอาเล็จเมืองทองธานี จ.นนทบุรี จำนวน 1 ครั้ง
9.ชี้แจงทิศทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร ปีงบประมาณ 2567 ให้กับศูนย์อนามัย เมื่อวันที่ 20 พ.ย.66
10. จัดการอบรมผู้สัมผัสอาหารภายในกรมอนามัย 2 ครั้ง
- วันที่ 3 พ.ย. 66 (วิทยากรสอน)
- วันที่ 9 พ.ย. 66 (เปิดสื่อ)
11. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวสุขภาพดี
- แลกเปลี่ยนแนวคิด วิธีการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับมาตรฐานด้านสุขอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว และกิจการด้านการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวสุขภาพดี ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวช้องและภาคีเครือข่ายจำนวน 295 หน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สมาคมโรงแรมไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศูนย์อนามัยและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
- บูรณาการการตรวจประเมินและรับรองตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) ร่วมกับภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์อนามัยและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
-สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
19
ตัวชี้วัดกิจกรรมหลัก
20
เชิงปริมาณ : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย จัดการเหตุรำคาญและควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 10ร้อยละ 10รายงานผลไตรมาสที่ 21. ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (EHA7000) สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2. พัฒนาทีมปฏิบัติการตรวจสอบข้อเท็จจริงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมประกอบการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
- เจ้าหน้าที่ส่วนกลางกรมอนามัย และศูนย์อนามัย จำนวน 55 คน ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ องค์ความรู้ และทักษะในการตรวจสอบข้อเท็จจริงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีร้องเรียนเหตุรำคาญ รวมถึงพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมภาคสนาม และการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุข
- เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และระดับภูมิภาค จำนวน 90 คน ได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้และพัฒนาขีดความสามารถในการขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมในการจัดการเหตุรำคาญและควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
21
เชิงปริมาณ : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมายมีการจัดการลดและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพสู่เมืองสุขภาพดี 3 แห่ง3 แห่ง1. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานเมืองสุขภาพดี
2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สมัครเข้ารับการประเมินเมืองสุขภาพดี
3. ชี้แจงเกณฑ์เมืองสุขภาพดี ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
4. อยู่ระหว่างการรับสมัครองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เข้ารับการประเมินรับรองตามมาตรฐานเมืองสุขภาพดี
-กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ / คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
22
เชิงคุณภาพ : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนมีการจัดการตามมาตรฐานเมืองสุขภาพดี 10 แห่ง10 แห่ง1. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานเมืองสุขภาพดี
2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน สมัครเข้ารับการประเมินเมืองสุขภาพดี
3. ชี้แจงเกณฑ์เมืองสุขภาพดี ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
4. อยู่ระหว่างการรับสมัครองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เข้ารับการประเมินรับรองตามมาตรฐานเมืองสุขภาพดี
-กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ / คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
23
เชิงปริมาณ : สถานประกอบกิจการด้านอาหารมีการบริหารจัดการด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ตามกฎหมาย พ.ร.บ.สาธารณสุข ร้อยละ 40ร้อยละ 40อยู่ระหว่างดำเนินการ1. พัฒนาแบบตรวจมาตรฐานและรับฟังความคิดเห็นแบบตรวจด้านสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 5 แบบตรวจ
- ตลาดสด
- ตลาดนัด
- สถานที่จำหน่ายอาหาร
- สถานที่สะสมอาหาร
- การจำหน่ายอาหารในที่หรือทางสาธารณะ
2. ติดตามและตรวจเยี่ยมเสริมพลังการพัฒนางานสุขาภิบาลอาหาร
อาหารริมบาทวิถีปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (Street Food Good Health) ระหว่างวันที่ 26 – 29 ต.ค. 66 ณ จ.สุโขทัย จ.น่าน จำนวน 1 ครั้ง
3. ประชุมหารือการจัดการสถานที่สะสมอาหาร ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 วันที่ 4 ต.ค.66 จำนวน 1 ครั้ง
4. ประชุมหารือเพื่อจัดทำกรอบแนวทางการพัฒนากฎหมายระดับอนุบัญญัติ และแผนการขับเคลื่อนคณะอนุกรรมการ หมวด 7, 8, 9
วันที่ 9 ต.ค. 66
5. วางกรอบแนวทางการพัฒนาระบบรับรองมาตรฐาน san ผ่านระบบ Foodhandler
6. จัดทำแผนการเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัย ร่วมกับ อย. และภาคีเครือข่ายในกลุ่มประเทศอาเซียน
7. จัดกิจกรรมรณรงค์ “วันล้างมือโลก” Global Handwashing Day ประจำปี 2566 “มือสะอาด...อยู่ใกล้แค่เอื้อม: Clean hands are within reach” และคิเรอิ คิเรอิ Global Hand Washing Run วิ่งด้วยใจ ให้น้องมือสะอาดวันที่ 15 ต.ค. 66 ณ สวนหลวง ร.9 เขตประเวศ กทม. จำนวน 1 ครั้ง
8. จัดกิจกรรมรณรงค์ตรวจเยี่ยมเสริมพลังและรณรงค์ “กินเจ อิ่มบุญ มือสะอาด สุขภาพดี วิถีใหม่”วันที่ 16 ต.ค. 66 ณ ลานเอาเล็จเมืองทองธานี จ.นนทบุรี จำนวน 1 ครั้ง
9.ชี้แจงทิศทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร ปีงบประมาณ 2567 ให้กับศูนย์อนามัย เมื่อวันที่ 20 พ.ย.66
10. จัดการอบรมผู้สัมผัสอาหารภายในกรมอนามัย 2 ครั้ง
- วันที่ 3 พ.ย. 66 (วิทยากรสอน)
- วันที่ 9 พ.ย. 66 (เปิดสื่อ)
11. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวสุขภาพดี
- แลกเปลี่ยนแนวคิด วิธีการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับมาตรฐานด้านสุขอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว และกิจการด้านการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวสุขภาพดี ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวช้องและภาคีเครือข่ายจำนวน 295 หน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สมาคมโรงแรมไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศูนย์อนามัยและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
- บูรณาการการตรวจประเมินและรับรองตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) ร่วมกับภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์อนามัยและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
-สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
24
เชิงปริมาณ : . สถานประกอบการโรงแรมและรีสอร์ทผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงแรมที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพ ร้อยละ 35ร้อยละ 35รายงานผลไตรมาสที่ 21. บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ ดำเนินการตามมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction)
2. กำกับ ติดตามการประเมิน รับรอง และรายงานผล
- ปรับปรุงระบบการรายงานผลประเมินและรับรองมาตรฐานโรงแรมและแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel & GREEN Health Attraction) และ Wellness Hotel เพื่อเป็นไปตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข
25
2. แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
26
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง
27
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง : อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 70 ร้อยละ 70
28
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์หน่วยงาน : อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 70 ร้อยละ 70
29
ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน (ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม)
30
1. เชิงคุณภาพ : เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 86 (แม่และเด็ก)ร้อยละ 8671.5การขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาการเด็กปฐมวัย ระดับเขต ในปี 2567 (ไตรมาสแรก ตุลาคม - ธันวาคม 2566) พบว่า ภาพรวมเด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 71.5 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 86) เมื่อ พิจารณารายเขต พบว่า ผลการดำเนินงานด้านความครอบคลุมในการคัดกรองพัฒนาการ และร้อยละการติดตามเด็กที่ มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเข้ารับการประเมินพัฒนาการซ้ำภายในระยะเวลา 30 ทั้ง 12 เขต และภาพรวมของประเทศต่ำ กว่าเป้าหมาย คือ ร้อยละ 74.2 และร้อยละ 85.2 ในขณะที่ ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า เขต 1, 4, 5 และ เขต 11 พบเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าน้อยกว่าร้อยละ 20
31
2. เชิงคุณภาพ : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 68 (แม่และเด็ก)ร้อยละ 68ร้อยละ 58.8
(ข้อมูล HDC ไตรมาส 1 วันที่ 3 ม.ค.67)
1.ประชุมหารือการขับเคลื่อนรูปแบบการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยไทย
2.จัดจ้างออกแบบและผลิตชุดความรู้ส่งเสริมโภชนาการและเฝ้าระวังการเจริญเติบโตสำหรับการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัยไทย
สำนักโภชนาการ
32
3. เชิงคุณภาพ : เด็กวัยเรียน 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 59 (วัยเรียน) ร้อยละ 59รายงานผลในไตรมาสที่ 21.ประชุมชี้แจงขับเคลื่อนงานส่งเสริมด้านอาหารและโภชนาการให้กับศูนย์อนามัยและสสม.
2.จัดทำ (ร่าง)คู่มือแนวทางการจัดการเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินในสถานศึกษา และ(ร่าง) คู่มือแนวทางการจัดการโรคอ้วนในเด็กสำหรับสถานบริการสาธารณสุข
3.ประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนงานการป้องกันและควบคุมปัญหาโรคอ้วนในเด็ก
4.ลงพื้นที่พัฒนาหลักสูตรการจัดการอาหารและโภชนาการ 4 โรงเรียน (ครั้งที่ 3/2566)
5. พัฒนาศักยภาพครูแกนนำงานอนามัยโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร และประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่ระดับมาตรฐานสากล (GSHPS)
สภ.
33
4. เชิงปริมาณ : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน ไม่เกิน 21 ต่อพัน (วัยรุ่น) ไม่เกิน 21 ต่อพัน20.51
(ข้อมูลจาก HDC ไตรมาส 4 ปี 66)
1. ประชุมพัฒนารูปแบบการดำเนินงานเฝ้าระวังด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2566 เพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ให้มีแบบแผนที่ชัดเจน พัฒนาแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ สามารถสะท้อนให้เห็นสถานการณ์ แนวโน้มการตั้งครรภ์ในแม่วัยรุ่นได้อย่างเป็นปัจจุบัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย
2. ประชุมความร่วมมือระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกด้านการวางแผนครอบครัว (FP 2030) เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2566 โดย 14 ประเทศสมาชิกได้หารือร่วมกันในประเด็นด้านสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงทางประชากร กลุ่มเปราะบาง เพื่อแลกเปลี่ยนและแบ่งปันประสบการณ์ สร้างการมีส่วนร่วม/ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการดำเนินการด้านนโยบายและโครงการที่ครอบคลุมความท้าทายด้านประชากร
3. ประชุมว่าด้วยประชากรประจำภูมิภาคเอชียและแปซิฟิก (UN ESCAP) ระหว่างวันที่ 15 - 17 พฤศจิกายน 2566 ร่วมกับ UNFPA เพื่อให้ประเทศสมาชิกและคณะกรรมาธิการว่าด้วยประชากรและการพัฒนาทบทวนการดำเนินงานตามปฏิญญาแห่งเอเชียและแปซิกว่าด้วยประชาการและการพัฒนา ระยะเวลา 30 ปี และแผนปฏิบัติการของการประชุมนานาชาติว่าด้วยประชากรและการพัฒนาในภูมิภาค ซึ่งมุ่งเน้นที่การคำนึงถึงประชากรสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในปี 2030
4. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแนวทางการเก็บข้อมูลประสิทธิภาพการบังคับใช้ พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2566 เพื่อกำหนดแนวทางการเก็บข้อมูลในการใช้ประกอบกอบการประเมินผลสัมฤทธ์ของ พ.ร.บ.ฯ ให้เกิดความครบถ้วนและถูกต้องต่อไป
5. ลงพื้นที่ทดลองใช้เครื่องมือแบบสอบถามเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น ณ พื้นที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ระหว่างวันที่ 28 - 29 พฤศจิกายน 2566 เพื่อทดสอบความเที่ยงตรง ประสิทธิภาพของเครื่องมือ ตลอดจนระบบการใช้งานแบบออนไลน์ก่อนดำเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูลเฝ้าระวังในภาพของประเทศต่อไป
6. ประชุมฝ่ายเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2566 เพื่อหารือแนวทาง หลักการ การเสนอรายงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อคณะรัฐมนตรี สำหรับการประชุมคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่กำหนดไว้ในเดือน ม.ค.67 ต่อไป
7. ประชุมคณะอนุกรรมการที่ปรึกษาอิสระด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2566 เพื่อพิจารณาผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการที่ปรึกษาอิสระฯ ปี 2566 และจัดทำข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เสนอต่อคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
สอพ.
34
5. เชิงคุณภาพ : วัยทำงานอายุ 18-59 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 53ร้อยละ 53
35
6. เชิงคุณภาพ : ผู้สูงอายุได้รับบริการหรือนวัตกรรมในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการสามารถดูแลตนเองและดำรงชีวิตประจำวันได้ 1,393,000 คน1,393,000 คน
36
7. เชิงคุณภาพ : ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเอง 20,000,000 คน20,000,000 คน24,740,000 คนประชาชนได้รับบริการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเอง 24,740,000 คน
37
8. เชิงคุณภาพ : ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัยเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ ร้อยละ 71ร้อยละ 71
38
ตัวชี้วัดผลผลิต/โครงการ
39
โครงการ : พัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มแม่และเด็ก
40
เชิงคุณภาพ : 1. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 90ร้อยละ 9059
การขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาการเด็กปฐมวัย ระดับเขต ในปี 2567 (ไตรมาสแรก ตุลาคม - ธันวาคม 2566) พบว่า ภาพรวมเด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 71.5 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมาย ร้อยละ 86) เมื่อ พิจารณารายเขต พบว่า ผลการดำเนินงานด้านความครอบคลุมในการคัดกรองพัฒนาการ และร้อยละการติดตามเด็กที่ มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเข้ารับการประเมินพัฒนาการซ้ำภายในระยะเวลา 30 ทั้ง 12 เขต และภาพรวมของประเทศต่ำ กว่าเป้าหมาย คือ ร้อยละ 74.2 และร้อยละ 85.2 ในขณะที่ ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า เขต 1, 4, 5 และ เขต 11 พบเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าน้อยกว่าร้อยละ 20
41
เชิงคุณภาพ : 2. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 90ร้อยละ 90
42
ตัวชี้วัดกิจกรรมหลัก
43
1. เชิงปริมาณ : หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 55ร้อยละ 55
44
2. เชิงปริมาณ : เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ร้อยละ 90 ร้อยละ 90
45
3. เชิงปริมาณ : เด็กแรกเกิดที่ได้รับการคัดกรองและมีผลผิดปกติได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐาน ร้อยละ 80 ร้อยละ 80
46
4. เชิงปริมาณ : หน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ มีการจัดบริการคลินิกเด็กสุขภาพดีตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก 77 แห่ง77 แห่ง
47
5. เชิงปริมาณ : สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้รับการยกระดับตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติด้านสุขภาพ (4 D) 770 แห่ง770 แห่ง
48
6. เชิงปริมาณ : หน่วยบริการมีการจัดบริการให้คำปรึกษาทางเลือก เครือข่ายการส่งต่อ และบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ตามกฎหมาย ร้อยละ 100ร้อยละ 100ร้อยละ 100 (136 แห่ง)
(ข้อมูล ณ 31 ธ.ค.66)
สนับสนุนการดำเนินการจัดอบมการให้คำปรึกษาทางเลือกสตรีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3 วัน ) ให้กับ ศอ. และ สสจ. ได้แก่
1. ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น วันที่ 13-14 ธันวาคม 2566 ณ ห้องประชุมวนิดา สินไชย ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น
ผู้เข้าอบรมจำนวน 70 คน
2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร วันที่ 20-22 ธันวาคม 2566 ณ แสตมป์ฮิลล์ รีสอร์ท อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
ผู้เข้าอบรมจำนวน 45 คน
สอพ.
49
7. เชิงปริมาณ : จังหวัดมีการเฝ้าระวังการละเมิดและบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 ร้อยละ 70ร้อยละ 70
50
8. เชิงปริมาณ : จังหวัดมีการขับเคลื่อนและคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 77 จังหวัด77 จังหวัด5 จังหวัด
(ณ 28 ธ.ค.66)
จังหวัดมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ผ่านกลไกของคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ กำแพงเพชร นนทบุรี กรุงเทพมหานคร อุทัยธานี และระยองสอพ.
51
9. เชิงปริมาณ : ภาคีเครือข่ายมีการขับเคลื่อนสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยดำเนินการตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยขั้นต้น ร้อยละ 80ร้อยละ 80
52
10. เชิงปริมาณ : เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะการเจริญเติบโตและส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ 90 ร้อยละ 90
53
11. เชิงปริมาณ : สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดบริการดูแลรักษาภาวะมีบุตรยาก ร้อยละ 100ร้อยละ 100
54
3. แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
55
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง
56
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง : อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 70 ร้อยละ 70
57
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์หน่วยงาน : อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ร้อยละ 70 ร้อยละ 70
58
ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน
59
1. เชิงคุณภาพ : เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 86 (แม่และเด็ก)
ร้อยละ 86
60
2. เชิงคุณภาพ : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 68 (แม่และเด็ก)
ร้อยละ 68
61
3. เชิงคุณภาพ : เด็กวัยเรียน 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 59 (วัยเรียน)
ร้อยละ 59
62
4. เชิงปริมาณ : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน ไม่เกิน 21 ต่อพัน (วัยรุ่น)ไม่เกิน 21 ต่อพัน
63
5. เชิงคุณภาพ : วัยทำงานอายุ 18-59 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 53
ร้อยละ 53
64
6. เชิงคุณภาพ : ผู้สูงอายุได้รับบริการหรือนวัตกรรมในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการสามารถดูแลตนเองและดำรงชีวิตประจำวันได้ 1,393,000 คน 1,393,000 คน
65
7. เชิงคุณภาพ : ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเอง 20,000,000 คน 20,000,000 คน
66
8. เชิงคุณภาพ : ประชาชนมีพฤติกรรมอนามัยเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ ร้อยละ 71ร้อยละ 71
67
ตัวชี้วัดผลผลิต/โครงการ
68
โครงการ : พัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มวัยเรียนวัยรุ่น
69
เชิงคุณภาพ : เด็กไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ร้อยละ 60ร้อยละ 60ร้อยละ 44.22ขับเคลื่อนกิจกรรมเด็กไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ควบคู่กับกิจกรรมโรงเรียนส่งสเริมสุขภาพระดับมาตรฐานสากล
70
เชิงปริมาณ : หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ตั้งครรภ์ไม่เกิน 27,000 คน (ชื่อตัวชี้วัดน่าจะผิดนะคะ "ตั้งครรภ์ซ้ำ" ไม่ใช่ "ตั้งครรภ์") จาก Admin นะค่ะ ตัวชี้วัด ใช้คำว่า "ตั้งครรภ์" ตาม พรบ. ขาวคาดแดงค่ะ ไม่ใช่ ตั้งครรภ์ซ้ำ ค่ะ 27,000 คน4,862 คน
(ข้อมูล HDC ณ 17 พ.ย.66)
1. ประชุมจัดทำข้อมูลสำคัญของประเทศไทย สำหรับการประชุมด้าประชากรเอเชีย - แปซิฟิก (Asia - Pacific Population Conference : APPC) เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและจัดทำข้อมูลด้านประชากรของประเทศไทย สำหรับการประชุมด้าประชากรเอเชีย - แปซิฟิก (Asia - Pacific Population Conference : APPC)
2. จัดอบรมเรื่อง เทคโนโลยีการวางแผนครอบครัวและการดูแลสุขภาพอนามัยสตรี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข
2.1 วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 กิจกรรมส่งเสริมทักษะและความรู้เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น เมื่อ เพื่อให้ความรู้และเพิ่มพูนทักษะการป้องกันตนเองจากกสถานการณ์เสี่ยงและปัจจัยที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ให้แก่นักเรียนชั้น ม.4 - 5 จำนวน 380 คน
2.2 วันที่ 7 ธันวาคม 2566 ณ โรงพยาบาลแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก จำนวน 54 คน
2.3 วันที่ 18 ธันวาคม 2566 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 224 คน
3. จัดอบรมการให้บริการยาฝังคุมกำเนิดสำหรับพยาบาลวิชาชีพและนักวิชาการสาธารณสุข เพื่อพัฒนาศักยภาพในการฝังและถอดยาฝังคุมกำเนิด ตลอดจนแก้ขัปญหารที่อาจเกิดขึ้นจากวิธีคุมกำเนิดได้อย่างถูกต้อง
3.1 ระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม 2566 ณ อาคารหอประชุมอำเภอ 2 ที่ว่าการอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 15 คน
3.2 ระหว่างวันที่ 20–22 ธันวาคม 2566 ณ โรงพยาบาลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
สอพ.
71
ตัวชี้วัดกิจกรรมหลัก
72
1. เชิงปริมาณ : วัยรุ่นที่เข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ร้อยละ 70ร้อยละ 70N/A1. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำหลักสูตรพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน รูปแบบ e-Learning เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2566 เพื่อพิจารณาความสมบูรณ์ของเนื้อหาตามหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน และระบบโปรแกรม e-Learning
2. อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน "2023 Young Health Programme Youth-Friendly Health Service Training" ระหว่างวันที่ 26 - 27 ตุลาคม 2566 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุข รพ.สต. ครู/เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานพยาบาลของโรงเรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถบริหารจัดการ ให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนได้
3. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแนวทางการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนออนไลน์ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการจัดบริการสุขภาพออนไลน์ แนวทางปฏิบัติ หลักเกณฑ์ แนวทาง ข้อคำนึงถึง กฎหมาย ข้อบังคับ ความปลอดภัยในการจัดบริการฯ แบบออนไลน์สำหรับวัยรุ่นและเยาวชนให้ครอบคลุมทุกกลุ่มและทุกพื้นที่
4. ประเมินรับรองโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนระดับดีเด่น เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2566
5. ประเมินรับรองอำเภอตามมาตรฐานการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับอำเภอ ระดับดีเด่น เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2566
สอพ.
73
2. เชิงปริมาณ : บุคลากรด้านโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และสุขภาพอนามัยในสถานศึกษามีทักษะการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่น ร้อยละ 100ร้อยละ 100
74
3. เชิงปริมาณ : แพลตฟอร์มดิจิทัลด้านสุขภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่น 1 ระบบ1 ระบบ1 ระบบ
(Line OA Teen Club)
1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนา Teenage Digital Platform ผ่าน Line OA Teen Club ระหว่างวันที่ 17 - 18 ตุลาคม 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสดงความคิดเห็นต่อการเข้าถึง Line OA Teen Club รวมทั้งการให้คำปรึกษาและช่องทางการช่วยเหลือส่งต่อ และการมีส่วนร่วมของเยาวชนในการขับเคลื่อน Line OA Teen Club ให้ตอบโจทย์ ตรงใจวัยรุ่น และเข้าถึงง่าย
2. ประชุมเชิงปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็นต่อการเข้าถึง Line Official Teen Club เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เพื่อตัวแทนวัยรุ่นและเยาวชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นต่อการเข้าถึง Line Official Teen Club และเสนอแนวทางการพัฒนาให้ตอบโจทย์วัยรุ่น และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายยิ่งขึ้น
สอพ.
75
4. เชิงปริมาณ : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับมาตรฐานสากล (Global Standards for Health Promoting School : GSHPS) 3,000 แห่ง3000 แห่ง676 แห่งการประชุมเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่มาตรฐานสากล (GSHPS) ระหว่างวันที่ 23 - 24 พฤศจิกายน 2566 ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ สไตลิช คอนเวชั่น จังหวัดนนทบุรีและถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live กรมอนามัย โดยมีวัตถุประสงค์ สำคัญเพื่อชี้แจงหลักเกณฑ์การขับเคลื่อนตามองค์ประกอบ 10 องค์ประกอบ และ 6 ตัวชี้วัด และการประเมินผลผ่าน โปรแกรมประเมิน
76
5. เชิงปริมาณ : ประชาชนอายุ 6-14 ปี เข้าถึงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 1,000,000 คน 3,000 แห่งค่าเป้าหมายน่าะจะผิดนะคะ
77
1,000,000 คนจำนวนผู้ลงทะเบียนประเภทนักเรียน/นักศึกษา 688,090 คน
ที่มา: แพลตฟอร์มก้าวท้าใจ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 66
1) โครงการยกระดับการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อเด็กวัยเรียนวันรุ่นสูงดี สมส่วน แข็งแรง และฉลาด มีการดำเนินงานผลิตคู่มือแนวทางการส่เสริมกิจกรรมทางกายและการนอนหลับวัยเรียนวัยรุ่น
- การดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการประชาสัมพันธ์และเปิดให้ลงทะเบียนเข้าร่วมตั้งแต่พฤศจิกายน 2566 โดยขณะนี้มีโรงเรียนเข้าร่วมจำนวน 1,008 โรงเรียน โดยปัจจุบันได้มีการส่งใบประกาศไปยังโรงเรียนต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามที่กำหนดไว้
2) โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กเปราะบาง มีการดำเนินการจัดทำคลิปวิดีโอเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กวัยเรียนวัยรุ่น โดยมีใช้ล่ามภาษามือ ผลิตคู่มือส่งเสริมกิจกรรมทางกายและการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับสามเณร และปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในการผลิตสื่อสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 9 ด้านตามที่ สพฐ. กำหนดไว้

เนื่องจากการอนุมัติงบประมาณมีความล่าช้าทำให้อาจจะต้องเลื่อนบางกิจกรรมออกไปกลุ่มกิจกรรมทางกายวัยเรียนและวัยรุ่น กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
78
โครงการ : ส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชาชนกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบาง
79
6.เชิงปริมาณ : ประชาชนกลุ่มด้อยโอกาสและเปราะบางของสังคม กลุ่มชาติพันธุ์ เข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพ ตามชุดสิทธิประโยชน์สร้างเสริมสุขภาพ 120,000 คน 79,833 คน1.วิเคราะห์สถานการณ์ การเข้าถึงบริการสุขภาพส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มชาติพันธุ์ และแรงงานข้ามชาติ กลุ่มเป้าหมาย เริ่มดำเนินการ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงวัย ที่เป็นจุดเริ่มต้นของชีวิต 2.จัดทำ แผนพัฒนาความร่วมมือและขับเคลื่อนการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นการจัดการการคลอดที่ปลอดภัย ในถิ่นทุรกันดารห่างไกล การแจ้งเกิดเพื่อหนทางสู่การมีสถานะ บุคคลและสิทธิพลเมือง ร่วมกับเครือข่ายภาคสาธารณสุข ภาคการศึกษา มหาดไทย ในระดับพื้นที่ 3.ประสานและพัฒนาความร่วมมือแก่หน่วยงานภาคีเครือข่ายในภาคส่วนนี่เกี่ยวข้อง ทั้งในเชิงนโยบาย และในระดับพื้นที่ เพื่อและขับเคลื่อนการดำ เนินงาน 4.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง (HHDC Dashboard) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของประชากร กลุ่มเปราะบางและด้อยโอกาสทางสังคม ที่ยังเข้าไม่ถึงระบบบริการด้านสุขภาพ1.การเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพของกลุ่มประชากร ระหว่างหน่วยงาน 2.ปัญหาด้านสุขภาพของประชากร 2.1 ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ เช่น แม่และเด็กตาย ภาวะทุพโภชนาการ 2.2 ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2.3 ปัญหาด้านสุขาภิบาลพื้นฐาน น้ำ ส้วม ขยะ 3.ปัญหาอุปสรรค ต่อการดำเนินงานในพื้นที่ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร เข้าถึงยากศอช. (นายพนมพันธ์ จันทร์สูง)
80
7.เชิงปริมาณ : ภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการเข้าถึงบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์สร้างเสริมสุขภาพ ในกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบาง ร้อยละ 80ร้อยละ 80ร้อยละ 361.วิเคราะห์สถานการณ์ การเข้าถึงบริการสุขภาพส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มชาติพันธุ์ และแรงงานข้ามชาติ กลุ่มเป้าหมาย เริ่มดำเนินการ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงวัย ที่เป็นจุดเริ่มต้นของชีวิต 2.จัดทำ แผนพัฒนาความร่วมมือและขับเคลื่อนการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นการจัดการการคลอดที่ปลอดภัย ในถิ่นทุรกันดารห่างไกล การแจ้งเกิดเพื่อหนทางสู่การมีสถานะ บุคคลและสิทธิพลเมือง ร่วมกับเครือข่ายภาคสาธารณสุข ภาคการศึกษา มหาดไทย ในระดับพื้นที่ 3.ประสานและพัฒนาความร่วมมือแก่หน่วยงานภาคีเครือข่ายในภาคส่วนนี่เกี่ยวข้อง ทั้งในเชิงนโยบาย และในระดับพื้นที่ เพื่อและขับเคลื่อนการดำ เนินงาน 4.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง (HHDC Dashboard) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของประชากร กลุ่มเปราะบางและด้อยโอกาสทางสังคม ที่ยังเข้าไม่ถึงระบบบริการด้านสุขภาพ1.การเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพของกลุ่มประชากร ระหว่างหน่วยงาน 2.ปัญหาด้านสุขภาพของประชากร 2.1 ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ เช่น แม่และเด็กตาย ภาวะทุพโภชนาการ 2.2 ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2.3 ปัญหาด้านสุขาภิบาลพื้นฐาน น้ำ ส้วม ขยะ 3.ปัญหาอุปสรรค ต่อการดำเนินงานในพื้นที่ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร เข้าถึงยากศอช. (นายพนมพันธ์ จันทร์สูง)
81
8. เชิงปริมาณ : เด็ก ประชาชน และภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพและถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ร้อยละ 100
82
9. เชิงปริมาณ : เด็กกลุ่มเปราะบางได้รับการพัฒนา ถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 10,000 คน10,000 คน
83
84
4. แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
85
ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์กระทรวง
88
ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน
97
ตัวชี้วัดผลผลิต/โครงการ
98
โครงการ : เสริมสร้างความรอบรู้วัยทำงานสุขภาพดี
99
เชิงคุณภาพ : วัยทำงานอายุ 18-59 ปี ได้รับการตรวจดัชนีมวลกายและวัดรอบเอว ร้อยละ 56ร้อยละ 5614.26 (จาก HDC วันที่ 3 ม.ค. 67)
100
โครงการ : พัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายประชาชน
101
เชิงคุณภาพ : ประชาชนมีกิจกรรมทางกายสม่ำเสมอเพิ่มขึ้น ร้อยละ 42ร้อยละ 42
102
โครงการ : สร้างความรอบรู้สุขภาวะและส่งเสริมสุขภาพเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
103
เชิงคุณภาพ : ประชากรก่อนวัยสูงอายุ (อายุ 25-59 ปี) ที่มีการเตรียมการเพื่อยามสูงอายุด้านสุขภาพ ร้อยละ 47ร้อยละ 47NR
(เก็บข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน 2567)
- ชี้แจงสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมกลุ่มวัยทำงานแก่ทันตบุคลากร
- สื่อสาร key message การแปรงฟันสูตร 2-2-2 และการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ผ่านอินฟลูเอนเซอร์บน social media
- พัฒนาสมรรถนะแกนนำสุขภาพสร้างเสริมสุขภาพช่องปากวัยทำงานในสถานประกอบการ
- จัดทำแผนการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้ และปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพวัยทำงาน
การถ่ายโอนภารกิจและบุคลากรสาธารณสุขไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งผลให้การดำเนินงานสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ และการติดตามงานยากมากขึ้นน.ส.นันท์มนัส แย้มบุตร
104
โครงการ : พัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ
105
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้สูงอายุในเรือนจำได้รับการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 50ร้อยละ 50ร้อยละ 14
(ข้อมูลจาก ระบบรายงาน กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์
ณ วันที่ 31 ธ.ค. 66 )
ผู้สูงอายุในเรือนจำเข้าถึงการรักษาและการบริการดูแลสุขภาพจากหน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 573 คน คิดเป็นร้อยละ 14
(จากเป้าหมาย 4,110 คน)(ข้อมูลจาก ระบบรายงาน กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 66 )
สำนักอนามัยผู้สูงอายุ/
Cluster ส่งเสริมสุขภาพ
106
เชิงคุณภาพ : 2. ผู้นำทางศาสนามีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 25ร้อยละ 25ร้อยละ 15.83
(ข้อมูลจาก Health temple
ณ วันที่ 31 ธ.ค. 66 )
การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผู้นำทางศาสนา จำนวน 2,596 รูป พบว่าผู้นำทางศาสนามีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จำนวน 411 รูป
คิดเป็นร้อยละ 15.83 (ข้อมูลจาก Health temple ณ วันที่ 31 ธ.ค. 66 )
สำนักอนามัยผู้สูงอายุ/
Cluster ส่งเสริมสุขภาพ
107
เชิงคุณภาพ : 3. ผู้สูญเสียฟันทั้งปากหรือเกือบทั้งปาก ได้รับบริการใส่ฟันเทียม ร้อยละ 100ร้อยละ 10092.39
รายงานจาก HDC ณ วันที่ 28 ธ.ค.66
-ชี้แจงการดำเนินงานโครงการฟันเทียม รากฟันเทียมฯ ปี 2567 ที่เกี่ยวข้องกับประเด็น การจัดสรรรากฟันเทียม การเบิกจ่ายในระบบ e-claim การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การบริหารจัดการ การกำกับติดตามผล และการประเมินผลโครงการฯ และพิจารณาแนวทางการจัดรณรงค์เฉลิมพระเกียรติ
-จัดทำแนวทางและชุดข้อมูลผู้รับบริการฟันเทียม และรากฟันเทียมระดับจังหวัด เพื่อจัดทำแนวทางการค้นหา คัดกรองกลุ่มเป้าหมายและชุดข้อมูลที่สำคัญ
-ติดตามความก้าวหน้าในการจัดทำสิทธิประโยชน์ในกลุ่มข้าราชการ ผู้ประกันตน รายงานผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2566 และนำเสนอแนวทางดำเนินงานในปี 2567 ผ่านประชุมคณะกรรมการอำนวยการโครงการฟันเทียม รากฟันเทียม เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา 28กรกฎาคม 2567
-จัดทำแนวทางจัดบริการรากฟันเทียมรองรับฟันเทียมตามชุดสิทธิประโยชน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร ผ่านการประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (คณะกรรมการ service plan เขต 13และหน่วยบริการในกทม.)
108
โครงการ : สร้างสังคมห่วงใยใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ
109
เชิงคุณภาพ : 1. ผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)ร้อยละ 55ร้อยละ 10.37
(ข้อมูลจาก BlueBook App.
ณ วันที่ 27 ธ.ค. 66 )
ผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness plan) จำนวน 29,045 คิดเป็นร้อยละ 10.37 (ข้อมูล ณ วันที่ 27 ธ.ค. 66) สำนักอนามัยผู้สูงอายุ/
Cluster ส่งเสริมสุขภาพ
110
เชิงคุณภาพ : 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Planร้อยละ 96รายงานผลไตรมาสที่ 2อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2สำนักอนามัยผู้สูงอายุ/
Cluster ส่งเสริมสุขภาพ