A | B | C | D | E | F | G | H | I | J | K | L | M | N | O | P | Q | R | S | T | U | V | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | FAQ ข้อมูลสำหรับตอบคำถามเรื่องโรคและภัยสุขภาพ ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 ข้อมูล ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2567 ศูนย์บริการข้อมูลข่าสารกรมควบคุมโรค 1422 | |||||||||||||||||||||
2 | ||||||||||||||||||||||
3 | ||||||||||||||||||||||
4 | ||||||||||||||||||||||
5 | ||||||||||||||||||||||
6 | ||||||||||||||||||||||
7 | ||||||||||||||||||||||
8 | ||||||||||||||||||||||
9 | ||||||||||||||||||||||
10 | ||||||||||||||||||||||
11 | ||||||||||||||||||||||
12 | ||||||||||||||||||||||
13 | ||||||||||||||||||||||
14 | ||||||||||||||||||||||
15 | ||||||||||||||||||||||
16 | ||||||||||||||||||||||
17 | ||||||||||||||||||||||
18 | ||||||||||||||||||||||
19 | ||||||||||||||||||||||
20 | ||||||||||||||||||||||
21 | ||||||||||||||||||||||
22 | ||||||||||||||||||||||
23 | ||||||||||||||||||||||
24 | ||||||||||||||||||||||
25 | ||||||||||||||||||||||
26 | ||||||||||||||||||||||
27 | ||||||||||||||||||||||
28 | ||||||||||||||||||||||
29 | ||||||||||||||||||||||
30 | ||||||||||||||||||||||
31 | ||||||||||||||||||||||
32 | ||||||||||||||||||||||
33 | ||||||||||||||||||||||
34 | ||||||||||||||||||||||
35 | ||||||||||||||||||||||
36 | ||||||||||||||||||||||
37 | ||||||||||||||||||||||
38 | ||||||||||||||||||||||
39 | ||||||||||||||||||||||
40 |
A | B | C | D | E | F | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | คำถามที่สอบถามบ่อยประจำสัปดาห์ | |||||
2 | ||||||
3 | 22 -26 ม.ค. 67 | |||||
4 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
5 | 1 | ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครมีที่ใดยังเปิดบริการฉีดวัคซีนโควิด19บ้าง | แนะนำสถาบันโรคผิวหนัง ที่ตั้ง 456 ถ. ราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร หรือศูนย์บริการสาธารณสุขประจำเขตพื้นที่ของท่าน | |||
6 | 2 | หากต้องการไปติดต่อขอรับชุดตรวจ HIV ฟรี สามารถติดต่อขอรับได้ที่หน่วยงานใด | สามารถใช้บัตรประชาชน ไปใช้สิทธิ ณ หน่วยบริการที่เข้าร่วม เช่น รพ.สต. รพ.รัฐ ร้านขายยา ศูนย์บริการสาธารณสุข คลินิกชุมชนอบอุ่น คลินิกเวชกรรม และคลินิกการพยาบาลฯ | |||
7 | 3 | หากต้องการทำวัควีนพาสปอร์ตชนิดรูปเล่ม สามารถดำเนินการได้ที่หน่วยงานใด | สามารถดำเนินการทำหนังสือวัคซีนพาสปอร์ตได้ที่โรงพยาบาลบำราศนราดูร โรงพยาบาลกลาง และโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โดยทำการโทรติดต่อนัดหมายเพื่อทำหนังสือวัคซีนพาสปอร์ตได้ที่โรงพยาบาลโดยตรง | |||
8 | 4 | หากติดเชื้อโควิด19 สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่รพ.ตามสิทธิบัตรทอง สิทธิประกันสังคม หรือตามสิทธิการรักษา | |||
9 | 5 | หากพบเห็นผู้ที่สูบบุหรี่ในพื้นที่ห้ามสูบ สามารถร้องเรียนได้ที่ใด | แนะนำให้ติดต่อสำนักงานเขตประจำพื้นที่ หรือร้องเรียนผ่านระบบ Tas | |||
10 | ||||||
11 | ||||||
12 | 29 ม.ค.- 2 ก.พ. 67 | |||||
13 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
14 | 1 | ไม่สามารถล็อกอินเข้าใช้งานแอปพลิเคชั่นหมอพร้อมได้ เนื่องจากเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ ต้องติดต่อแก้ไขที่หน่วยงานใด | ติดต่อโรงพยาบาลที่เคยไปฉีดวัคซีนโควิด19 เพื่อทำการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
15 | 2 | กรณีต้องการร้องเรียนเกี่ยวกับบุคคลสูบบุหรี่ในพื้นที่ห้ามสูบและเป็นพื้นที่สาธารณะ สามารถร้องเรียนได้ผ่านช่องทางใด | เบื้องต้นท่านสามารถร้องเรียนผ่านช่องทางระบบ TAS หรือท่านสะดวกติดต่อแจ้งไปยังสำนักงานสาธารณสุขประจำเขตพื้นที่หรือประจำจังหวัด | |||
16 | 3 | หากติดเชื้อโควิด19 สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่รพ.ตามสิทธิบัตรทองและสิทธิประกันสังคม | |||
17 | 4 | หากป่วยเป็นโควิด19 แต่ไม่สะดวกไปรับยาที่โรงพยาบาล สามารถให้ผู้อื่นไปรับแทนได้หรือไม่ | หากต้องการให้ญาติหรือบุคคลอื่นไปรับยาแทน แนะนำให้ติดต่อไปที่โรงพยาบาลที่ต้องการใช้สิทธิการรักษา ว่าต้องเตรียมเอกสารใดไปยื่น เพื่อทำเรื่องขอรับยาแทน | |||
18 | ||||||
19 | 5-9 ก.พ. 67 | |||||
20 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
21 | 1 | หากคนในครอบครัวติดเชื้อโควิด19 ต้องปฏิบัติตัวอย่างไร | ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด 19 แยกทำการกักตัว 5 วัน ส่วนผู้ที่ไม่ติดเชื้อจะเป็นผู้สัมผัสเสี่ยงสูงให้สังเกตอาการ 10 วัน | |||
22 | 2 | หากติดเชื้อโควิด 19 จะมีอาการอย่างไร | อาการโดยส่วนใหญ่ของผู้ติดเชื้อโควิด 19 จะมีอาการมีไข้สูง แสบคอ เจ็บคอ แสบคอ เจ็บคอ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บางรายอาจมีอาการหอบเหนื่อย หายใจลำบาก สูญเสียการรับรส หรือรับกลิ่น ทำให้จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่ได้รับรส เป็นต้น อาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับภูมิในร่างกายและสุขภาพของแต่ละท่าน | |||
23 | 3 | หากติดเชื้อโควิด 19 สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่หน่วยงานใด และกักตัวกี่วัน | สามารถติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิรักษาเพื่อขอรับยา และทำการกักตัวตามใบรับรองแพทย์ | |||
24 | 4 | หากต้องการขอหนังสือวัคซีนพาสปอร์ตชนิดเล่มเหลืองที่สถาบันบำราศนราดูร สามารถ Walk-in ไปรับเอกสารได้หรือไม่ | ปัจจุบันสถาบันบำราศไม่สามารถจัดทำหนังสือเล่มเหลืองได้เป็นการชั่วคราว แนะนำให้ขอแบบอิเล็กทรอนิกส์แทน สามารถใช้เดินทางได้เช่นกัน | |||
25 | 5 | หากต้องการขอใบรับรองเกี่ยวกับการขนส่งอาหารสามารถติดต่อเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กลุ่มงานใด | สามารถติดต่อและสอบถามข้อมูลได้ที่กลุ่มงาม Pink from เบอร์ 02-5903921-22 | |||
26 | ||||||
27 | 12-16 ก.พ. 67 | |||||
28 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
29 | 1 | หากต้องการเอกสารวัคซีนพาสปอร์ตชนิดรูปเล่ม สามารถดำเนินการได้ที่หน่วยงานใด | สามารถดำเนินการได้ที่โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน | |||
30 | 2 | หากต้องการติดต่อหน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไป สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ใด | สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ 02 590 3162 | |||
31 | 3 | กรณีต้องการร้องเรียนบุคคลขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ให้กับเด็กที่อายุต่ำกว่าเกณฑ์สามารถร้องเรียนได้ผ่านช่องทางใด | ท่านสามารถร้องเรียนได้ผ่านช่องทางเว็บไซต์ระบบTAS หรือแจ้งหน่วยงานสาธารณสุขประจำจังหวัด,กรมสรรพสามิตหรือโทรสายด่วน.191เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนทางกฏหมาย | |||
32 | 4 | หากต้องการทราบข้อมูลจำนวนผู้ติดเชื้อไข้เลือดออกในแต่ละปี สามารถดูข้อมูลได้จากช่องทางใด | แนะนำให้เข้าไปที่เว็บไซต์กองระบาด ของกรมควบคุมโรค หลังจากนั้นกดคำว่า 506 แล้วเลือกโรคที่ต้องการดูข้อมูล จะมีข้อมูลจำนวนผู้ติดเชื้อระบุอยู่ในเว็บไซต์ | |||
33 | 5 | กรณีที่ฉีดวัคซีนจากต่างประเทศมา 2 เข็ม สามารถนำข้อมูลเข้าระบบหมอพร้อมได้หรือไม่ | ไม่สามารถนำข้อมูลวัคซีนที่ฉีดจากต่างประเทศเข้าระบบหมอพร้อมในประเทศไทยได้ | |||
34 | 6 | หากต้องการแก้ไขชื่อ-นามสกุล ในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อมต้องติดต่อกดำเนินการแก้ไขอย่างไร | ติดต่อจุดบริการที่เคยไปฉีดวัคซีนโควิด 19 เพื่อทำการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
35 | ||||||
36 | ||||||
37 | 19-23 ก.พ. 67 | |||||
38 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
39 | 1 | หากต้องการเอกสารวัคซีนพาสปอร์ตชนิดรูปเล่ม สามารถดำเนินการได้ที่หน่วยงานใด | สามารถดำเนินการได้ที่โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน | |||
40 | 2 | หากต้องการติดต่อหน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไป สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ใด | สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ 02 590 3162 | |||
41 | 3 | กรณีต้องการร้องเรียนบุคคลขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ให้กับเด็กที่อายุต่ำกว่าเกณฑ์สามารถร้องเรียนได้ผ่านช่องทางใด | ท่านสามารถร้องเรียนได้ผ่านช่องทางเว็บไซต์ระบบTAS หรือแจ้งหน่วยงานสาธารณสุขประจำจังหวัด,กรมสรรพสามิตหรือโทรสายด่วน.191เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนทางกฏหมาย | |||
42 | 4 | หากต้องการทราบข้อมูลจำนวนผู้ติดเชื้อไข้เลือดออกในแต่ละปี สามารถดูข้อมูลได้จากช่องทางใด | แนะนำให้เข้าไปที่เว็บไซต์กองระบาด ของกรมควบคุมโรค หลังจากนั้นกดคำว่า 506 แล้วเลือกโรคที่ต้องการดูข้อมูล จะมีข้อมูลจำนวนผู้ติดเชื้อระบุอยู่ในเว็บไซต์ | |||
43 | 5 | กรณีที่ฉีดวัคซีนจากต่างประเทศมา 2 เข็ม สามารถนำข้อมูลเข้าระบบหมอพร้อมได้หรือไม่ | ไม่สามารถนำข้อมูลวัคซีนที่ฉีดจากต่างประเทศเข้าระบบหมอพร้อมในประเทศไทยได้ | |||
44 | 6 | หากต้องการแก้ไขชื่อ-นามสกุล ในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อมต้องติดต่อกดำเนินการแก้ไขอย่างไร | ติดต่อจุดบริการที่เคยไปฉีดวัคซีนโควิด 19 เพื่อทำการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
45 | ||||||
46 | 27 ก.พ. - 1 มี.ค. 67 | |||||
47 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
48 | 1 | หากต้องการเช็คสิทธิบัตรทองต้องติดต่อที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อเช็คสิทธิบัตรทองได้ที่สายด่วน สปสช โทร 1330 | |||
49 | 2 | โดวัคซีนโควิด19 มาแล้ว 1 เดือน แต่ข้อมูลการฉีดวัคซีนยังไม่ขึ้นในระบบหมอพร้อม ต้องติดต่อหน่วยงานใด | แนะนำให้ติดต่อจุดฉีดวัคซีนที่ท่านฉีด หากทางจุดฉีดแจ้งว่าบันทึกข้อมูลเข้าระบบแล้ว แต่ในระบบไม่ขึ้น ให้ติดต่อไปที่ กองดิจิตอล ของสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข | |||
50 | 3 | หากต้องการเปลี่ยนข้อมูลชื่อ-นามสกุลในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | สามารถแก้ไขได้ที่จุดฉีดวัคซีนที่ท่านเคยฉีด เพื่อทำการแก้ไขข้อมูลชื่อ-นามสกุล ในระบบหมอพร้อม | |||
51 | 4 | ลงทะเบียนทำการขอวัคซีนพาสปอร์ตรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อม จะได้รับข้อมูลภายในกี่วัน | จะได้รับข้อมูลภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากที่ทำการลงทะเบียน โดยจะได้รับข้อมูลผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อมในรูปแบบคิวอาร์โค้ด | |||
52 | 5 | หากต้องการวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์สามารถดำเนินการผ่านช่องทางใด | สามารถขอผ่านแอพพลิเคชั่นหมอพร้อมโดยเลือก(International Vaccination Certificate)โดยกรอกข้อมูลรายละเอียดในช่องว่างให้ครบถ้วน | |||
53 | ||||||
54 | 4 - 8 มี.ค. 67 | |||||
55 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
56 | 1 | กรณีต้องการฉีดวัคซีนไข้กาฬหลังแอ่น และวัคซีนไข้หวัดใหญ่เพื่อเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์โดยไม่เสียค่าบริการ สามารถรับบริการได้ที่หน่วยงานใด | กรณีท่านต้องการรับวัคซีนไข้กาฬหลังแอ่นและวัคซีนไข้หวัดใหญ่ท่านสามารถติดต่อลงทะเบียนรับสิทธิการเข้ารับบริการฉีดวัคซีนไข้กาฬหลังแอ่นและวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่กรมการปกครองและติดต่อสถาบันบำราศนราดูรเพื่อลงทะเบียนรับสิทธิการรับวัคซีนดังกล่าวโดยไม่เสียค่าบริการ | |||
57 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด19 ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร สามารถฉีดได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถฉีดได้ที่สถานเสาวภาติดต่อสอบถามได้ที่เบอร์ 02-2520161 | |||
58 | 3 | ลงทะเบียนทำการขอวัคซีนพาสปอร์ตรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อม จะได้รับข้อมูลภายในกี่วัน | จะได้รับข้อมูลภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากที่ทำการขอ โดยจะได้รับข้อมูลผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อมในรูปแบบคิวอาร์โค้ด | |||
59 | 4 | หากไม่สามารถเข้าใช้งานแอปพลิเคชั่นหมอพร้อมได้ จะต้องดำเนินการแก้ไขอย่างไร | สามารถดำเนินการแก้ไขได้ที่โรงพยาบาลที่ฉีดวัคซีนโควิด19 เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
60 | 5 | หากไม่สามารถดาวน์โหลดเอกสารวัคซีนพาสปอร์ตผ่านหมอพร้อม ต้องดำเนินการอย่างไร | นะนำให้ติดต่อไปที่กองโรคติดต่อทั่วไป เบอร์โทรศัพท์ 02 590 3234-5 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการส่งผ่านอีเมลล์ | |||
61 | ||||||
62 | 11 - 15 มี.ค. 67 | |||||
63 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
64 | 1 | หากต้องการติดต่อเกี่ยวกับการลงทะเบียนเข้าระบบ Pinkforms | โทรติดต่อสอบถามกองโรคติดต่อทั่วไป เบอร์ 02-590-3922, 02-590-3921 และติดต่อเจ้าหน้าที่ mail pinkforms.gcd@gmail.com ค่ะ | |||
65 | 2 | หากรักษาตัวจากโควิด 19 ครบ 10 วันแล้ว แต่ ATK ยังขึ้น 2 ขีดอยู่ ต้องกักตัวต่อจนกว่า ATK จะขึ้น 1 ขีดหรือไม่ | แนะนำให้ท่านล้างจมูกด้วยน้ำเกลือ หรือไม่ต้องตรวจพราะ ATK จำแนกเชื้อเป็นเชื้อตายไม่ได้ หากต้องการทราบผลที่เเน่ชัดเเนะนำให้ท่านตรวจแบบ RT-PCR | |||
66 | 3 | พื้ื้นที่ต่างจังหวัดมีหน่วยบริการใดที่เปิดบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 | กรณีพื้นที่ต่างจังหวัดแนะนำให้ท่านติดต่อไปยังสำนักงานสาธารณสุขประจำจังหวัดหรือติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษา เนื่องจากปัจจุบันนโยบายของภาครัฐได้มีการปรับเปลี่ยนให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด19 กระตุ้นภูมิในร่างกายปีละ1ครั้ง จึงส่งผลให้หน่วยบริการของภาครัฐเริ่มมีการทยอยปิดการให้บริการ แต่ยังมีบางแห่งในพื้นที่กรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่างจังหวัดก็ยังเปิดให้บริการอยู่ ซึ่งแต่ละแห่งอาจจะไม่ได้มีการแจ้งมายังกรมควบคุมโรคให้ทราบ ดังนั้นเบื้องต้นจึงต้องแนะนำให้ทางประชาชนติดต่อไปยังหน่วยบริการใกล้บ้านของท่าน หรือหากท่านสะดวกเดินทางมายังหน่วยบริการสถานเสาวภา สภากาชาดไทย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | |||
67 | 4 | หากต้องการขอ Vaccine passport ชนิดอิเล็กทรอนิกส์สามารถติดต่อขอได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถขอได้ที่ application/line หมอพร้อม | |||
68 | 5 | กากต้องการเปลี่ยนชื่อนามสกุลในหมอพร้อมต้องทำอย่างไร | ให้ท่านติดต่อจุดฉีดวัคซีนโควิด 19 ที่ท่านเคยรับวัคซีน หรือดำเนินการผ่านทางfacebook หมอพร้อมได้เช่นกัน | |||
69 | ||||||
70 | 18 - 22 มี.ค. 67 | |||||
71 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
72 | 1 | หากเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคอีดำอีแดงหรือไม่ เนื่องจากปัจจุบันโรคนี้ระบาดในประเทศญี่ปุ่น | ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคอีดำอีแดง ทั้งนี้แนะนำป้องกันตนเองโดยการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ และท่านสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารโรคเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์กรมควบคุมโรค | |||
73 | 2 | หากต้องการย้ายสิทธิ์การรักษาพยาบาล สามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานใด | แนะนำให้ติดต่อสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช) โทร 1330 | |||
74 | 3 | ไม่สามารถขอสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ได้เนื่องจากระบบขึ้นดาวน์โหลด ไม่สามารถทำการดำเนินการต่อได้ กรณีเช่นนี้สามารถติดต่อหน่วยงานใดเพื่อขอรับสมุดวัคซีนชนิดอิเล็กทรอนิก์ได้ | ติดต่อหน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไปกรมควบคุมโรคซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในส่วนสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ ท่านสามารถประสานงานติดต่อเพื่อขอความอนุเคราะห์ได้ เบอร์ติดต่อ 02-590-3234-5 | |||
75 | 4 | หากต้องการขอหนังสือวัคซีนพาสปอร์ตชนิดเล่มเหลืองสามารถทำได้ที่ใด กรณี Walk-in | แนะนำติดต่อคลินิกเวชศาสตร์เขตร้อน เปิดให้บริการ จ-ศ เวลา 08.00-12.00 2. รพ กลาง เปิดให้บริการ จ-ศ 08.00-15.30 | |||
76 | 5 | กรณีต้องการร้องเรียนร้านค้าขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้กับเด็กที่อายุต่ำกว่า 18 ปี สามารถร้องเรียนได้ที่ใด | สามารถติดต่อร้องเรียนหรือแจ้งปัญหาได้ที่สาธารณสุขประจำจังหวัด | |||
77 | ||||||
78 | 25-29 มี.ค. 67 | |||||
79 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
80 | 1 | หากติดเชื้อโควิด 19 จะต้องทำการกักตัวรักษากี่วัน | ทำการกักตัว 5 วัน และสังเกตอาการจนครบ 10 วัน หากไม่ได้ไปพบแพทย์ให้ทานยาตามอาการ | |||
81 | 2 | หากต้องการเอกสารใบรับรองการฉีดวัคซีนโควิด19 ต้องติดต่อหน่วยงานใด | แนะนำให้ดาวน์โหลดผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อมหรือขอได้ที่โรงพยาบาลที่เคยได้รับวัคซีน | |||
82 | 3 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลชื่อในแอพลิเคชั่นหมอพร้อม ต้องติดต่อขอแก้ไขได้ที่ใด | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในใบรับรองการฉีดวัคซีนแนะนำให้แก้ไขผ่านเว็บไซต์หมอพร้อม โดยเป็นการกรอกข้อมูลแบบฟอร์มในเว็บไซต์ | |||
83 | 4 | หากถูกแมวข่วนแล้วมีเลือดซึมบริเวณผิวหนังต้องทำอย่างไร | วิธีดูแลตนเองเบื้องต้นเมื่อถูกแมวข่วน อย่างแรกให้รีบล้างแผลด้วยน้ำสบู่และน้ำสะอาดทันที แล้วเช็ดแผลด้วยผ้าสะอาดให้แห้ง ตามด้วยการเช็ดแอลกอฮอล์ เบตาดีน หรือน้ำเกลือ จากนั้นให้รีบเดินทางไปพบแพทย์เพื่อรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และวัคซีนป้องกันบาดทะยัก โดยเฉพาะการถูกข่วนโดยแมวที่ข่วนแล้วหนี หรือแมวที่ไม่มีเจ้าขอ | |||
84 | 5 | หากต้องการขอหนังสือวัคซีนพาสปอร์ตชนิดเล่มเหลืองสามารถทำได้ที่ใด กรณี Walk-in | แนะนำ 2 สถานที่ได้แก่ 1.คลินิกเวชศาสตร์เขตร้อน เปิดให้บริการ จ-ศ เวลา 08.00-12.00 2. รพ กลาง เปิดให้บริการ จ-ศ 08.00-15.30 | |||
85 | ||||||
86 | 1-5 เม.ย. 67 | |||||
87 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
88 | 1 | หากต้องการเปลี่ยนชื่อในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่หน่วยงานใด | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยฉีดวัคซีนโควิด เพื่อทำการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
89 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด19 ในพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร สามารถฉีดได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถฉีดได้ที่โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่เบอร์ 02 306 9199 | |||
90 | 3 | หากต้องการขอสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดเล่มเหลืองสามารถทำได้ที่ใด กรณี Walk-in | แนะนำ 2 สถานที่ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน เปิดให้บริการ จ-ศ เวลา 08.00-12.00 02-3069199 2. โรงพยาบาลกลาง เปิดให้บริการ จ-ศ 08.00-15.30 02-2208000 | |||
91 | 4 | หากติดเชื้อโควิด19 ปัจจุบันกักตัวระยะเวลากี่วัน | กักตัว 5 วัน โดยตั้งแต่วันที่6เป็นต้นไปสามารถไปทำงานและออกไปข้างนอกได้ ทั้งนี้แนะนำให้ป้องกันสูง สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือเป็นประจำและงดทานอาหารร่วมกับผู้อื่น | |||
92 | 5 | หากต้องการเอกสารใบรับรองการฉีดวัคซีนโควิด19 ต้องติดต่อหน่วยงานใด | แนะนำให้ดาวน์โหลดผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อมหรือขอได้ที่โรงพยาบาลที่เคยได้รับวัคซีน | |||
93 | ||||||
94 | 8-12 เม.ย. 67 | |||||
95 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
96 | 1 | หากป่วยเป็นโควิด 19 ปัจจุบัน ต้องทานยาอะไรบ้าง | ส่วนใหญ่การรักษาและการทานยา จะเป็นการทานยาตามอาการเป็นหลัก หากจะไปซื้อยามาทานเอง แนะนำให้แจ้งอาการกับเภสัชกรอย่างละเอียด | |||
97 | 2 | หากต้องการปรึกษาข้อมูลเกี่ยวกับยาแก้ปวด และยาแก้อักเสบ | โทรสายด่วนติดต่อองค์กรณ์เภสัชกรรม 1648 | |||
98 | 3 | สอบถามโรควัณโรคสามารถติดต่อกันได้อย่างไร | วัณโรคติดต่อจากคนสู่คนผ่านทางอากาศ เมื่อผู้ป่วยวัณโรค ไอ จาม ทำให้เกิดละอองฝอย ฟุ้งกระจายออกมาละอองฝอยที่มีขนาดใหญ่มากจะตกสงสู่พื้นดินและแห้งไป ละอองฝอยที่มีขนาดเล็ก 1-5 ไมโครเมตร จะลอยและกระจายอยู่ในอากาศ แพร่เชื้อให้ผู้ที่สูดเข้าไป | |||
99 | 4 | หากสงสัยว่าสัตว์ป่วยเป็นพิษสุนัขบ้าต้องติดต่อแจ้งที่หน่วยงานใด | แนะนำแจ้งปศุสัตว์ประจำจังหวัด หรือ สำนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำจังหวัด | |||
100 | 5 | กรณีไม่สามารถเข้า Application หมอพร้อมได้เนื่องจากมีการเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ใหม่ สามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่โรงพยาบาลที่ฉีดวัคซีนให้ หรือดำเนินการผ่านเว็ปไซต์หมอพร้อม https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ | |||
101 | ||||||
102 | 15-19 เม.ย. 67 | |||||
103 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
104 | 1 | กรณีต้องการตรวจคัดกรองวัณโรคสามารถเข้ารับบริการได้ที่หน่วยงานใด | ท่านสามารถเข้ารับบริการตรวจหาเชื้อวัณโรคได้ที่โรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาของท่าน ได้โดยก่อนการเดินทางไปใช้บริการแนะนำให้ท่านโทรสอบถามยังหน่วยบริการนั้นๆถึงรายละเอียดการเข้ารับบริการทุกครั้งเพื่อจะได้ไม่เป็นการเสียเวลาในการเดินทางในครั้งนั้น | |||
105 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด19 ในกรุงเทพมหานครสามารถฉีดได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถเข้ารับบริการได้ที่สถานเสาวภาติดต่อเบอร์ 02-2520161 | |||
106 | 3 | กรณีไม่สามารถเข้า Application หมอพร้อมได้เนื่องจากมีการเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ใหม่ สามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่โรงพยาบาลที่ฉีดวัคซีนให้ หรือดำเนินการผ่านเว็ปไซต์หมอพร้อม https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ | |||
107 | 4 | หากสงสัยว่าสัตว์ป่วยเป็นพิษสุนัขบ้าต้องติดต่อแจ้งที่หน่วยงานใด | แนะนำแจ้งปศุสัตว์ประจำจังหวัด หรือ สำนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำจังหวัด | |||
108 | 5 | อยู่พื้นที่กรุงเทพมหานครต้องการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก สำหรับผู้ที่มีอายุ 11-20 ปี สามารถรับบริการฉีดได้ที่ใด | สามารถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขประจำเขตพื้นที่ ทุกวันพุธ เวลา 13.00-15.00 น. | |||
109 | ||||||
110 | 22-26 เม.ย. 67 | |||||
111 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
112 | 1 | ลงทะเบียนทำการขอวัคซีนพาสปอร์ตรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อม จะได้รับข้อมูลภายในกี่วัน | จะได้รับข้อมูลภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากที่ทำการขอ โดยจะได้รับข้อมูลผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อมในรูปแบบคิวอาร์โค้ด | |||
113 | 2 | หากติดเชื้อโควิด19 สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่โรงพยาบาลตามสิทธิบัตรทองหรือสิทธิประกันสังคม | |||
114 | 3 | หากทานยาฟาวิพิราเวียร์แล้วมีอาการตาสีฟ้าเกิดจากผลข้างเคียงอะไร | การเกิดภาวะตาสีฟ้าจากยาฟาวิพิราเวียร์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเม็ดสีเมลานิน ที่เป็นผลจากการที่ร่างกายดูดซึมยาฟาวิพิราเวียร์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสีที่บริเวณจอตา ถุงหุ้มแก้วตา ในผู้ป่วยบางรายอาจมีการเปลี่ยนแปลงของสีเกิดขึ้นที่บริเวณเล็บและน้ำลายทำให้เกิดเป็นสีฟ้าขึ้น | |||
115 | 4 | หากต้องการขอใบรับรองเกี่ยวกับการขนส่งอาหารสามารถติดต่อเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กลุ่มงานใด | สามารถติดต่อและสอบถามข้อมูลได้ที่กลุ่มงาม Pink from เบอร์ 02-5903921-22 | |||
116 | 5 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด19 ในกรุงเทพมหานคร สามารถฉีดได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถฉีดได้ที่โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่เบอร์ 02 306 9199 | |||
117 | ||||||
118 | 29 เม.ย. - 3 พ.ค. 67 | |||||
119 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
120 | 1 | ลงทะเบียนทำการขอวัคซีนพาสปอร์ตรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อม จะได้รับข้อมูลภายในกี่วัน | จะได้รับข้อมูลภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากที่ทำการขอ โดยจะได้รับข้อมูลผ่านแอปพลิเคชันหมอพร้อมในรูปแบบคิวอาร์โค้ด | |||
121 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ฉีดได้ที่ใด | แนะนำให้ท่านติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาเพื่อเข้ารับบริการฟรี สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถจองนัดหมายได้ด้วยตนเอง ผ่านแอปฯ เป๋าตัง หรือติดต่อสายด่วน สปสช. 1330 กด 8 | |||
122 | 3 | หากต้องการร้องเรียนคนสูบบุหรี่ในพื้นที่ห้ามสูบ สามารถร้องเรียนได้ที่หน่วยงานใด | แนะนำให้ร้องเรียนผ่านระบบ TAS หรือกองงานคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ โทร 025903852 | |||
123 | 4 | กรณีไม่สามารถเข้า Application หมอพร้อมได้เนื่องจากมีการเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ใหม่ สามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่โรงพยาบาลที่ฉีดวัคซีนให้ หรือดำเนินการผ่านเว็ปไซต์หมอพร้อม https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ | |||
124 | 5 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด 19 มีที่ใดเปิดบริการบ้างในพื้นที่กรุงเทพมหานคร | 1. โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ค่าบริการ 1,762 บาท เบอร์โทรศัพท์ 02 306 9199 2. สถานเสาวภา สภากาชาดไทย 1,820บาท เบอร์โทรศัพท์ 02 252 0161 | |||
125 | ||||||
126 | 6-10 พ.ค. 67 | |||||
127 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
128 | 1 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยฉีดวัคซีนโควิด เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อมหรือดำเนินการผ่านเว็ปไซต์หมอพร้อม https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ | |||
129 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานใด | 1.โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โทรศัพท์ 02 306 9199 2. สถานเสาวภา สภากาชาดไทย โทรศัพท์ 02 252 0161 | |||
130 | 3 | หากต้องการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ฉีดได้ที่ใด | แนะนำให้ท่านติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาเพื่อเข้ารับบริการฟรี สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถจองนัดหมายได้ด้วยตนเอง ผ่านแอปฯ เป๋าตัง หรือติดต่อสายด่วน สปสช. 1330 กด 8 | |||
131 | 4 | หากต้องการขอใบรับรองเกี่ยวกับการขนส่งอาหารสามารถติดต่อเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กลุ่มงานใด | สามารถติดต่อและสอบถามข้อมูลได้ที่กลุ่มงาม Pink from เบอร์ 02-5903921-22 | |||
132 | 5 | หากไม่สามารถขอสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ได้เนื่องจากระบบขึ้นดาวน์โหลด ไม่สามารถทำการดำเนินการต่อได้ กรณีเช่นนี้สามารถติดต่อหน่วยงานใดเพื่อขอรับสมุดวัคซีนชนิดอิเล็กทรอนิก์ได้ | ติดต่อหน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไปกรมควบคุมโรคซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในส่วนสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ ท่านสามารถประสานงานติดต่อเพื่อขอความอนุเคราะห์ได้ เบอร์ติดต่อ 02-590-3234-5 | |||
133 | ||||||
134 | 13-17 พ.ค. 67 | |||||
135 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
136 | 1 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยฉีดวัคซีนโควิด เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อมหรือดำเนินการผ่านเว็ปไซต์หมอพร้อม https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ | |||
137 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานใด | 1. โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โทรศัพท์ 02 306 9199สถานเสาวภา 2. สภากาชาดไทย โทรศัพท์ 02 252 0161 | |||
138 | 3 | หากต้องการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ฉีดได้ที่ใด | แนะนำให้ท่านติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาเพื่อเข้ารับบริการฟรี สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถจองนัดหมายได้ด้วยตนเอง ผ่านแอปฯ เป๋าตัง หรือติดต่อสายด่วน สปสช. 1330 กด 8 | |||
139 | 4 | หากต้องการขอใบรับรองเกี่ยวกับการขนส่งอาหารสามารถติดต่อเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กลุ่มงานใด | สามารถติดต่อและสอบถามข้อมูลได้ที่กลุ่มงาม Pink from เบอร์ 02-5903921-22 | |||
140 | 5 | ไม่สามารถขอสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ได้เนื่องจากระบบขึ้นดาวน์โหลด ไม่สามารถทำการดำเนินการต่อได้ กรณีเช่นนี้สามารถติดต่อหน่วยงานใดเพื่อขอรับสมุดวัคซีนชนิดอิเล็กทรอนิก์ได้ | ติดต่อหน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไปกรมควบคุมโรคซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในส่วนสมุดวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ ท่านสามารถประสานงานติดต่อเพื่อขอความอนุเคราะห์ได้ เบอร์ติดต่อ 02-590-3234-5 | |||
141 | ||||||
142 | 20-24 พ.ค. 67 | |||||
143 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
144 | 1 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยฉีดวัคซีนโควิด เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อมหรือดำเนินการผ่านเว็ปไซต์หมอพร้อม https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ | |||
145 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานใด | 1. โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โทรศัพท์ 02 306 9199 2. สถานเสาวภา สภากาชาดไทย โทรศัพท์ 02 252 0161 | |||
146 | 3 | หากต้องการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ฉีดได้ที่ใด | แนะนำให้ท่านติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาเพื่อเข้ารับบริการฟรี สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถจองนัดหมายได้ด้วยตนเอง ผ่านแอปพลิเคชั่นเป๋าตัง หรือติดต่อสายด่วน สปสช. 1330 กด 8 | |||
147 | 4 | กรณีสัมผัสกับผู้ที่มีเชื้อ HIV สามารถขอรับยาได้ที่ใด และวิธีการทานยาทานอย่างไร | กรณีอาศัยอยู่ต่างจังหวัดหรือกรุงเทพฯและปริมณฑล สามารถขอรับยาป้องกัน HIV ทั้ง PrEP และ PEP ฟรีได้ที่โรงพยาบาลหรือหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ ยา PEP เป็นยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี (HIV) ในกรณีฉุกเฉินที่ต้องรับประทานให้เร็วที่สุด หลังสัมผัสความเสียงที่จะติดเชื้อเอชไอวี โดยต้องเริ่มรับประทานภายใน 72 ชั่วโมงหลังมีความเสียง และรับประทานต่อเนื่องติดต่อ | |||
148 | 5 | กรณีต้องการขอ Vaccine passport ชนิดอิเล็กทรอนิกส์ใช้ระยะเวลากี่วันจึงได้รับข้อมูล | ใช้ระยะเวลา 24 ชม. จะได้รับ QR Code ผ่าน Application หมอพร้อม ทั้งนี้หากยังไม่ได้รับข้อมูลสามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่กองโรคติดต่อทั่วไป เบอร์โทรศัพท์ 02-5903234-35 | |||
149 | ||||||
150 | 27-31 พ.ค. 67 | |||||
151 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
152 | 1 | กรณีติดเชื้อโควิด19 หากหายแล้วสามารถกลับมาติดเชื้อได้ระยะเวลากี่วัน | สามารถกลับมาติดเชื้อได้อีกครั้ง1-3เดือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภูมิคุ้มกันแต่ละบุคคล | |||
153 | 2 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยฉีดวัคซีนโควิด เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
154 | 3 | กรณีต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สามารถติดต่อได้ที่หน่วยบริการใด | มี 2 หน่วยงานที่ให้บริการ แต่มีค่าใช้จ่าย ท่านสามารถติดต่อได้ที่ 1. สถานเสาวภาติดต่อได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 02-2520161 2. เวชศาสตร์เขตร้อนติดต่อได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 02-3069199 | |||
155 | 4 | หากทำการลงทะเบียนทำหนังสือวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์เมื่อได้รับเอกสารคิวอาร์โค้ดจะสามารถใช้งานได้ภายในกี่ชั่วโมง | หากได้รับคิวอาร์โค้ด จะสามารถใช้งานได้ภายใน 24 ชั่วโมง | |||
156 | 5 | หากผู้สูงอายุ ที่มีโรคประจำตัว ป่วยเป็นโรคโควิด 19 จำเป็นต้องพบแพทย์หรือไม่ | ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว จัดเป็นกลุ่ม 608 หากป่วยเป็นโควิด 19 และมีอาการ แนะนำให้ไปพบแพทย์ เพื่อที่ให้แพทย์ตรวจเพิ่มเติมและพิจารณาในการให้ยาต้านไวรัส | |||
157 | ||||||
158 | 3-7 มิ.ย. 67 | |||||
159 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
160 | 1 | กรณีหายป่วยจากการติดเชื้อโควิด19 สามารถไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้หรือไม่ และควรเว้นระยะห่างจำนวนกี่วัน | หากไม่มีอาการใดๆ สามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ได้ทันที ทั้งนี้หากยังมีอาการมีไข้ไม่สบาย ปวดเมื่อยร่างกายแนะนำให้เว้นระยะห่าง 14 วัน ก่อนเข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ | |||
161 | 2 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด19 เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
162 | 3 | ปัจจุบันหากผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวติดเชื้อโควิด19 ควรปฏิบัติตัวอย่างไร | ผู้ป่วยสามารถติดต่อโรงพยาบาลตามสิทธิการรักษา เพื่อให้แพทย์ประเมินอาการและจ่ายยา ทั้งนี้การจ่ายยาโมโนพิราเวียร์ขึ้นอยู่การดุลยพินิจของแพทย์ | |||
163 | 4 | หากหน่วยงานภาครัฐ กรมราชทัณฑ์มีความประสงค์จะขออนุเคราะห์วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ให้แก่นักโทษในเรือนจำ สามารถติดต่อประสานงานกรมควบคุมโรคได้หรือไม่ | เบื้องต้นสามารถติดต่อกองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค ได้ที่เบอร์ 02-590-3196 ต่อ 104 เพื่อสอบถามรายละเอียด | |||
164 | 5 | เนื่องจากเด็กอายุ 1 ขวบ ย้ายพำนักจากต่างจังหวัดมาในกรุงเทพมหานคร ต้องการฉีดวัคซีนพื้นฐานตามช่วงอายุ สามารถติดต่อได้ที่หน่วยบริการใด | ผู้ปกครองสามารถนำเล่มประวัติการฉีดวัคซีนพื้นฐานตามช่วงอายุ (เล่มสีชมพู) นำไปยื่นและเข้ารับบริการฉีดได้ที่อนามัยใกล้บ้านหรือศูนย์บริการสาธาณสุขประจำเขต | |||
165 | ||||||
166 | 10-14 มิ.ย. 67 | |||||
167 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
168 | 1 | หากต้องการขอหนังสือรับรองการฉีดวัคซีนสำหรับการเดินทางต่างประเทศให้แก่บุตรที่ไม่มีแอพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถลงทะเบียนได้ผ่านช่องทางใด | เบื้องต้นสามารถลงทะเบียนผ่านมือถือของผู้ปกครองได้ โดยทำการลงชื่อออกจากระบบของผู้ปกครองก่อน แล้วจึงสร้างบัญชีหมอพร้อมให้แก่บุตร หลังจากนั้นสามารถเข้าทำรายการขอวัคซีนพาสปอร์ตผ่านแอพลิเคชั่นหมอพร้อมได้ทันที | |||
169 | 2 | กรณีเพิ่งหายจากการติดเชื้อโควิด19 สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ทันทีหรือไม่ | สามารถฉีดได้ทันทีหากหายเป็นปกติ ทั้งนี้ถ้ายังมีอาการปวดเมื่อยตัว มีไข้ แนะนำให้เว้นระยะ 14 วัน จึงสามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ | |||
170 | 3 | หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม สามารถดำเนินการแก้ไขได้อย่างไร | ติดต่อโรงพยาบาลหรือหน่วยงานที่เคยฉีดวัคซีนโควิด เพื่อดำเนินการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม 4.คำถาม: กรณีประชาชนอายุต่ำกว่า 65ปีเป็นผู้ป่วยโรคธาลัสซิเมียสามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ฟรีได้หรือไม่ | |||
171 | 4 | กรณีประชาชนอายุต่ำกว่า 65ปีเป็นผู้ป่วยโรคธาลัสซิเมียสามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ฟรีได้หรือไม่ | ท่านสามารถเข้ารับบริการได้เนื่องจากท่านอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเข้ารับบริการได้ฟรี | |||
172 | 5 | หากผู้สูงอายุ ที่มีโรคประจำตัว ป่วยเป็นโรคโควิด 19 จำเป็นต้องไปพบแพทย์หรือไม่ | ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวจัดเป็นกลุ่ม 608 หากป่วยเป็นโควิด19 และมีอาการป่วย แนะนำให้พบแพทย์ เพื่อให้แพทย์ตรวจเพิ่มเติมและพิจารณาในการจ่ายยาต้านไวรัส | |||
173 | ||||||
174 | 17-21 มิ.ย. 67 | |||||
175 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
176 | 1 | กรณีต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สามารถเข้ารับบริการได้ที่หน่วยบริการใดในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร | กรณีอยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครท่านสามารถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขประจำเขตพื้นที่ของท่านหรือสามารถเข้ารับบริการได้ที่โรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาของท่านได้ และกรณีที่ท่านอยู่ต่างจังหวัดแนะนำให้ท่านติดต่อขอรับบริการได้ที่ โรงพยาบาลตามสิทธิการรักษาของตนเองหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล | |||
177 | 2 | หากติดเชื้อโควิด19 สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อขอรับยาได้ที่โรงพยาบาลตามสิทธิบัตรทองหรือประสิทธิประกันสังคม | |||
178 | 3 | กรณีต้องการร้องเรียนบุคคลสูบบุหรี่ในที่สาธารณะและมีป้ายห้ามสูบ สามารถดำเนินการแจ้งได้ที่หน่วยงานใดเพื่อดำเนินการตามกระบวนการทางกฎหมาย | หากท่านมีหลักฐานยืนยันผู้กระทำความผิดท่านสามารถดำเนินการแจ้งไปยังเจ้าหนักงานตำรวจใน สถานีตำรวจภูธรเขตพื้นที่นั้นๆโดยตรง หรือแจ้งไปยังสำนักงานสาธารณสุขประจำเขตหรือจังหวัด | |||
179 | 4 | กรณีหายจากการติดเชื้อโควิด19 สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ทันทีหรือไม่หรือควรเว้นระยะห่างในการได้รับวัคซีน | หากไม่มีอาการใดๆแล้วสามารถฉีดวัคซีนได้ทันที ทั้งนี้หากมียังอาการมีไข้หรือปวดเมื่อยกล้ามเนื้อแนะนำให้เว้นระยะไป 14 วันจึงสามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ | |||
180 | 5 | กรณีต้องการสอบถามข้อมูลสิทธิการรักษาบัตรทอง สามารถติดต่อสอบถามได้ที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่สปสช. เบอร์ 1330 | |||
181 | ||||||
182 | 24-28 มิ.ย. 67 | |||||
183 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
184 | 1 | หากต้องการทราบจำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อต่างๆ สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ใด | หากเป็นของกรมควบคุมโรคจะมีกองระบาดวิทยาที่รวบรวมสถิติ สามารถเช็คผ่านเครือข่าย 506 ผ่านเว็บไซต์กองระบาดวิทยา เนื่องจากมีการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยโรคติดต่อในเว็บไซต์ | |||
185 | 2 | กรณีต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สามารถฉีดได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถฉีดได้ที่สาธารณสุขจังหวัด ศูนย์บริการสาธารณสุขประจำเขตหรือโรงพยาบาลตามสิทธิบัตรทอง สิทธิประกันสังคม | |||
186 | 3 | กรณีต้องการเปลี่ยนชื่อในข้อมูลสิทธิบัตรทอง สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่หน่วยบริการใด | ติดต่อสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเบอร์ 1330 | |||
187 | 4 | กรณีผู้สูงอายุ70ปี กลุ่ม 608 ต้องการรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ประชาชนสามารถเข้าบริการได้ที่หน่วยบริการใด | ท่านสามารถเข้ารับบริการได้ที่หน่วยบริการสาธารณสุขประจำจังหวัดหรือประจำเขตพื้นที่ของท่านทั้งนี้ก่อนเข้ารับบริการแนะนำให้ประชาชนติดต่อสอบถามไปยังหน่วยบริการนั้นๆ หากท่านต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหน่วยงานที่ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สามารถติดต่อได้ที่สายด่วน สปสช.1330 | |||
188 | 5 | กรณีหายจากการติดเชื้อโควิด19 สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ทันทีหรือไม่หรือควรเว้นระยะห่างในการได้รับฉีดวัคซีน | ||||
189 | ||||||
190 | 1-5 ก.ค. 67 | |||||
191 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
192 | 1 | กรณีต้องการติดต่อสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ใด | สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ 02-5211668 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. | |||
193 | 2 | หากผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวป่วยเป็นโรคโควิด19 จำเป็นต้องไปพบแพทย์หรือไม่ | ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวจัดเป็นกลุ่ม 608 หากป่วยเป็นโควิด19 และมีอาการ แนะนำให้ไปพบแพทย์เพื่อที่ให้แพทย์ตรวจเพิ่มเติมและพิจารณาในการให้ยาต้านไวรัส | |||
194 | 3 | หากต้องการแก้ไขชื่อ-นามสกุลใน Application สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สามารถติดต่อแก่ไขได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือติดต่อเบอร์สายด่วน 1330 | |||
195 | 4 | หากเพิ่งได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามายังไม่ถึง 6 เดือน หลังจากนั้นบริเวณมือที่มีแผลไปโดนเลือดสุนัข จำเป็นต้องฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าไหม | การสัมผัสเลือดสุนัขนั้น อาจไม่ได้นำโรคติดต่อสู่คนได้โดยตรง แต่แนะนำให้รีบทำความสะอาดแผล และทายาฆ่าเชื้อ เช่น ทิงเจอร์ไอโอดีน โดยทันที หากแผลบวมแดงอักเสบควรรีบไปพบแพทย์ | |||
196 | 5 | กรณีเพิ่งหายจากการติดเชื้อโควิด19 สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้หรือไม่ | สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ทันที ทั้งนี้หากมีอาการมีไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อแนะนำให้เว้นระยะห่าง 14 วันจึงสามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ที่หน่วยบริการ | |||
197 | ||||||
198 | 8-12 ก.ค. 67 | |||||
199 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
200 | 1 | หากผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว ป่วยเป็นโรคโควิด19 จำเป็นต้องไปพบแพทย์หรือไม่ | ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว จัดเป็นกลุ่ม 608 หากป่วยเป็นโควิด19 และมีอาการ แนะนำให้ไปพบแพทย์ เพื่อให้แพทย์ตรวจเพิ่มเติมและวินิจฉัยในการจ่ายยาต้านไวรัส | |||
201 | 2 | กรณีต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโรค โควิด19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถติดต่อได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อได้ที่สถานเสาวภาเบอร์ 02-2520161 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. | |||
202 | 3 | หากต้องการทราบข้อมูลกฏหมายของการติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ในพื้นที่ส่วนตัว สามารถสอบถามได้ที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อสอบถามได้ที่กองงานคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบเบอร์ 02-590 3818 | |||
203 | 4 | กรณีต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 ในพื้นที่ต่างจังหวัดสามารถติดต่อรับบริการได้ที่หน่วยงานใด | ปัจจุบันวัคซีนป้องกันโควิด19 เป็นวัคซีนทางเลือก ท่านสามารถติดต่อสอบถามโรงพยาบาลหรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | |||
204 | 5 | กรณีต้องการทราบราคาฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี ราคาและค่าบริการจำนวนเท่าใด | โรงพยาบาลรัฐบาลเข็มละ 300 - 500 บาท ไม่รวมค่าบริการโรงพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน เข็มละ 600 - 1,200 บาท ไม่รวมค่าบริการโรงพยาบาล ทั้งนี้สามารถโทรสอบถามเพิ่มเติมที่โรงพยาบาลที่ท่านต้องการใช้บริการ | |||
205 | ||||||
206 | 15-19 ก.ค. 67 | |||||
207 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
208 | 1 | กรณีไม่สามารถแก้ไขข้อมูลใน Vaccine passport ได้เนื่องจากระบบค้าง สามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่กองโรคติดต่อทั่วไป เบอร์ 02-5903234-35 | |||
209 | 2 | หากต้องการติดต่อสถาบันบำราศนราดูร สามารถติดต่อได้ผ่านช่องทางใด | สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ 02-9511170-79 เวลา 08.30-16.30 น. | |||
210 | 3 | หากติดเชื้อโควิด19 กักตัวจำนวนกี่วัน | ปัจจุบันกักตัวจำนวน 5 วัน วันที่6เป็นต้นไปสามารถออกไปพื้นที่สาธาณะได้ ทั้งนี้แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่างและงดรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่นจนกว่าจะครบ 10 วัน | |||
211 | 4 | หากมีอาการผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียนศรีษะ หลังรับประทานลูกเนียงควรทำอย่างไร | แนะนำให้รีบปรึกษาแพทย์และแจ้งประวัติการรับประทานอาหารเพื่อให้แพทย์ดำเนินการวินิจฉัยและจ่ายยาได้อย่างถูกต้อง | |||
212 | 5 | หากต้องการร้องเรียนคนสูบบุหรี่บริเวณข้างบ้าน สามารถดำเนินการแจ้งหรือร้องเรียนได้ที่หน่วยงานใด | สามารถแจ้งปัญหาได้ที่นิติบุคคลของโครงการหมู่บ้านหรือสาธารณสุขประจำเขตที่ท่านพักอาศัย | |||
213 | ||||||
214 | 23-26 ก.ค. 67 | |||||
215 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
216 | 1 | หากต้องการร้องเรียนคนสูบบุหรี่บริเวณพื้นที่สาธารณะ สามารถดำเนินการแจ้งหรือร้องเรียนได้ที่หน่วยงานใด | ติดต่อแจ้งหรือร้องเรียนได้ที่สาธาณสุชประจำเขตพื้นที่ | |||
217 | 2 | หากต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สามารถติดต่อขอรับบริการได้ที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อได้ที่โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน เบอร์ 02-3069199 หรือสถานเสาวภาสภากาชาดไทย เบอร์ 02-2520161 | |||
218 | 3 | กรณีต้องการขอ Vaccine passport ชนิดอิเล็กทรอนิกส์ สามารถขอได้ที่หน่วยงานใด | สามารถขอได้ที่ Application หมอพร้อม เมื่อดำเนินการเสร็จจะได้รับ QR Code กลับมาทาง Application ภายใน 24 ชั่วโมง | |||
219 | 4 | กรณีหายเพิ่งหายจากการติดเชื้อโควิด19 ควรเว้นระยะห่างจำนวนกี่วันจึงสามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ได้ | หากไม่มีอาการเจ็บป่วยใดๆ เช่น มีไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ สามารถรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ได้ทันที ทั้งนี้หากท่านยังมีอาการไม่สบายตัว มีไข้หรือปวดเมื่อยกล้ามเนื้อแนะนำให้เว้นระยะห่างไป 14 วัน | |||
220 | 5 | กรณีต้องการแก้ไขชื่อใน Application หมอพร้อม สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถติดต่อแก้ไขได้ที่โรงพยาบาลที่ท่านได้รับวัคซีน | |||
221 | ||||||
222 | 29 ก.ค. - 2 ส.ค. 67 | |||||
223 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
224 | 1 | หากติดเชื้อโควิด19 กักตัวจำนวนกี่วัน | ปัจจุบันกักตัวจำนวน 5 วัน วันที่6เป็นต้นไปสามารถออกไปพื้นที่สาธาณะได้ ทั้งนี้แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่างและงดรับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่นจนกว่าจะครบ 10 วัน | |||
225 | 2 | หากต้องการแก้ไขชื่อ-นามสกุลใน Application หมอพร้อมสามารถดำเนินการแก้ไขได้ที่หน่วยงานใด | ติดต่อโรงพยาบาลที่ท่านได้รับฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 เพื่อดำเนินการการแก้ไขข้อมูลในระบบหมอพร้อม | |||
226 | 3 | กรณีต้องการขอ Vaccine passport ชนิดอิเล็กทรอนิกส์ สามารถขอได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถขอได้ที่ Application หมอพร้อมหลังจากนนั้นท่านจะได้รับ QR Code กลับมาภายใน 24 ชั่วโมง | |||
227 | 4 | หากพบสุนัขและแมวติดเชื้อพิษสุนัขบ้า สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือหน่วยงานใด | สามารถติดต่อขอได้ที่เทศบาลหรือกรมปศุสัตว์เพื่อเข้ารับการช่วยเหลือ | |||
228 | 5 | หากมีอาการปวดตาข้างเดียวควรรักษาอย่างไร | แนะนำให้หยอดน้ำตาเทียมเพื่อเพิ่มความชุ่นชื้นม่านตา ประคบเย็นเพื่อทำให้รู้สึกดีขึ้นและควรปรับพฤติกรรมการใช้สายตา เช่น การจ้องหน้าจอคอม เล่นโทรศัพท์เป็นเวลานานหรือใช้สายตามากเกินไป ทั้งนี้หากอาการยังไม่ดีขึ้นแนะนำให้ปรึกษาแพทย์จักษุเพื่อวินิจฉัยและรักษา | |||
229 | ||||||
230 | 5 - 9 ส.ค. 67 | |||||
231 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | หมายเหตุ | ||
232 | 1 | กรณีต้องการตรวจโรค HIV สามารถตรวจได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถตรวจได้ที่โรงพยาบาลตามสิทธิบัตรทอง สิทธิประกันสังคมหรือคลินิกใกล้บ้าน | |||
233 | 2 | กรณีต้องการสอบถามการผสมน้ำยาพ่นหมอกควัน น้ำมันโซล่าและเดลต้าเมทริน สามารถสอบถามได้หน่วยงานใด | สามารถติดต่อได้ที่กองโรคติดต่อนำโดยแมลง เบอร์02-5903121 | |||
234 | 3 | หากต้องการให้หน่วยงานเข้ามาดำเนินการจับสุนัขจรจัดในพื้นที่ต่างจังหวัด สามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานใด | สามารถติดต่อได้ที่สำนักงานเทศบาล หรือกรมปศุสัตว์ประจำจังหวัด | |||
235 | 4 | กรณีต้องการขอ Vaccine passport ชนิดอิเล็กทรอนิกส์แต่ไม่สามารถขอได้เนื่องจากระบบค้าง สามารถติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่กลุ่มงานใด | ติดต่อแจ้งปัญหาได้ที่กองโรคติดต่อทั่วไปเบอร์ 02-5903234-35 | |||
236 | 5 | หากต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร สามารถติดต่อฉีดได้ที่หน่วยบริการใด | สามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ได้ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขประจำเขต โรงพยาบาลตามสิทธิบัตรทอง สิทธิประกันสังคม | |||
237 | ||||||
238 | ||||||
239 | ||||||
240 | ||||||
241 | ||||||
242 | ||||||
243 | **แก้ไข MOPH IC ของหน่วยบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ( หมอพร้อม) ติดต่อ กองสุขภาพดิจิตอล สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทร 025901206 025902077 ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก : 1 million HPV vaccine for free | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | 1 | อายุตั้งแต่เท่าไร ที่สามารถเข้ารับบริการฉีดวัคซีน HPV (ฉีดวัคซีนมะเร็งปากมดลูก) ฟรี | อายุ ตั้งแต่ 11-20 ปี | ||
4 | 2 | กรณีอยู่ต่างจังหวัดติดต่อขอรับวัคซีนได้ที่ใด | เด็กนักเรียนให้ติดต่อที่สถานศึกษาของตนเอง กรณีนอกระบบให้ติดต่อ สสจ ในพื้นที่ | ||
5 | 3 | หากอายุ18-20 ต้องการฉีดติดต่อได้ที่ใด เนื่องจากไม่ได้อยู่ในสถานศึกษา | กรณีอยู่นอกระบบการศึอกษาให้ติดต่อ สสจ ในพื้นที่ โดยรับการฉีดที่หน่วยบริการเดือน ธ.ค. 66 - ม.ค. 67 | ||
6 | 4 | หน่วยบริการฉีดคือที่ใดในต่างจังหวัด | สอบถาม สสจ. ในพื้นที่ | ||
7 | 5 | อนามัยหรือโรงพยาบาลประจำตำบลมีฉีดหรือไม่ | สอบถาม สสจ. ในพื้นที่ | ||
8 | 6 | วัคซีนมีฉีดทั้ง77จังหวัดหรือไม่ | ระยะแรก จัดให้มีการเปิดให้บริการฉีดเขตสุขภาพละ 1 แห่ง อนาคตอาจจะมีการจัดสรรเพิ่มเติมและอาจจะมีการเปิดศูนย์ฉีดเพิ่มเติม ทั้งนี้ให้สอบถาม สสจ.ในพื้นที่ |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | ลำดับ | หากไม่สามารถดาวน์โหลดหนังสือรับรองการเดินทางระหว่างประเทศ แบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ต้องดำเนินการอย่างไร | สามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โดยประสานผ่าน 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 3. 096 190 9290 ,096 190 9462 4. ให้ประชาชนแจ้งปัญหา พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผ่าน E-mail : vaccinepassport.thailand@gmail.com | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 3. 096 190 9290 ,096 190 9462 | |
4 | 2 | หากสแกน QR Code ในหนังสือรับรองการเดินทางระหว่างประเทศ (Vaccine passport) แต่ระบบขึ้นว่าไม่พบข้อมูล ควรดำเนินการอย่างไร | สามารถติดต่อได้ที่หน่วยงานกองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โดยประสานผ่าน 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 3. 096 190 9290 ,096 190 9462 4. ให้ประชาชนแจ้งปัญหา พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผ่าน E-mail : vaccinepassport.thailand@gmail.com | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 3. 096 190 9290 ,096 190 9463 | |
5 | 3 | กรณีที่ดำเนินการขอหนังสือรับรองการเดินทางระหว่างประเทศ (Vaccine passport) แต่แอปพลิเคชันหมอพร้อมขึ้น Error-9999 ควรดำเนินการอย่างไร | 1. สามารถดำเนินการผ่านหมอพร้อม LINE Officialได้ 2. กรณีดำเนินการขอแบบรูปเล่ม ให้ประสานหน่วยงานที่รับผิดชอบ | 1. LINE Official หมอพร้อม 2. หน่วยบริการในพื้นที่ (สคร. สสจ. รพ.) 3. https://ddc.moph.go.th/dcd/news.php?news=20511&deptcode&fbclid=IwAR17fAQm3osPws-QBZFVnIK6ijzNj6UysZlUe86G576NzourQKq3cliN5tA | * แนะนำให้ประชาชนติดต่อหน่วยงานก่อนเข้ารับบริการ |
6 | 4 | คำนำหน้าในแอปพลิเคชันหมอพร้อมไม่ถูกต้องสามารถแก้ไขข้อมูลได้ที่ใด | 1. ติดต่อสถานบริการ หรือจุดฉีดวัคซีนที่รเข้ารับวัคซีน เพื่อขอแก้ไขข้อมูล 2. แก้ไขข้อมูลผ่าน เว็บไซต์ "หมอพร้อม" https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ 3. แก้ไขข้อมูลผ่าน Inbox เพจ Facebook "หมอพร้อม" | เว็บไซต์/LINE Official หมอพร้อม | |
7 | 5 | มาตรการการรักษาตัวเมื่อติดเชื้อโควิด 19 ปัจจุบันเป็นอย่างไร | การักษา Covid 19 1. ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการหรือสบายดี (Asymptomatic COVID-19) ให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอก ให้ปฏิบัติตนตาม DMHT อย่างเคร่งครัด อย่างน้อย 5 วัน - ให้ดูแลรักษาตามอาการตามดุลพินิจจของแพทย์ไม่ให้ยาต้านไวรัสเนื่องจากส่วนมากหายได้เอง 2. ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง ไม่มีปอดอักเสบ ไม่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรง/โรคร่วม สำคัญ หรือ ภาพถ่ายรังสี ปอดปกติ (Symptomatic COVID-19 without pneumonia and no risk factors for severe disease) - ให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอกให้ปฏิบัติตนตาม DMHT อย่างเคร่งครัด อย่างน้อย 5 วัน - อาจพิจารณาให้ยาฟ้าทะลายโจร หรือ favipiravir ถ้าจะให้ควรเริ่มยาภายใน 5 วันนับจากวันที่เริ่มมีอาการ - ไม่แนะนําให้ใช้ยา molnupiravir, nirmatrelvir/ritonavir และ remdesivir เนื่องจากไม่มีการศึกษารองรับใน ผู้ป่วยกลุ่มนี้รวมทั้งมีข้อมูล mutagenicity ใน molnupiravir ทําใหต้องการศึกษาด้านความปลอดภัยเพิ่มเติม (อ้างอิงข้อมูล WHO) - หากตรวจพบเชื้อเมื่อผู้ป่วยมีอาการมาแล้วเกิน 5 วัน และผู้ป่วยไม่มีอาการหรือมีอาการน้อยอาจไม่ จำเป็นต้องให้ยาต้านไวรัส เพราะผู้ป่วยจะหายได้เองโดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน คำแนะนําการรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล (Admission) ผู้ป่วยที่มีอาการหรือลักษณะทางคลินิกต่อไปนี้ให้ให้พิจารณารับรักษาในโรงพยาบาล 1. มีไข้อุณหภูมิกายตั้งแต่ 39 องศา ขึ้นไปโดยวัดได้อย่างน้อยสองครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมง 2. มีภาวะขาดออกซิเจน วัด oxygen saturation ได้ไม่เกิน 94% 3. มีภาวะแทรกซ้อน หรือการกำเริบของโรคประจําตัวเดิม 4. เป็นผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงต่ออาการรุนแรง และไม่มีผู้อยู่ดูแลตลอดทั้งวัน 5. มีภาวะอื่น ๆ ที่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ตามดุลยพินิจของแพทย์ 6. ผู้ป่วยเด็กให้รกษาในโรงพยาบาลเมื่อมีข้อบ่งชี้เช่น ต้องสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด หรือให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ หรือต้องการออกซิเจน หรือเด็กที่มีอาการซึม กินได้น้อย มีภาวะขาดน้ำจากอุจจาระร่วง หรือชักจากไข้สูง ฯลฯ ** ทัั้งนี้มาตรการดังกล่าวเป็นเพียงคำแนะนำเบื้องต้น การหยุดงานโดยใช้ใบรับรองแพทย์ หรือแนวทางการหยุดงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของหน่วยงาน | * มาตราการดังกล่าว สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามคำสั่ง ของคณะกรรมการกํากับดแลรักษาโควิด 19 หรือตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข | |
8 | 6 | สอบถามเรื่องหากต้องการไปฉีดวัคซีนไฟเซอร์ Gen 2 สามารถไปฉีดได้ที่ใดบ้าง | ได้รับมอบวัคซีนไบวาเลนท์ (วัคซีนไฟเซอร์ Gen 2) มาเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ก่อนจะได้จัดสรรให้หน่วยงานสาธารณสุขต่าง ๆ ให้บริการกับประชาชนตั้งแต่เดือนมีนาคม 2566 เป็นต้นไป เนื่องด้วยปัจจุบันวัคซีนชนิดดังกล่าว ยังมีไม่มาก จะเน้นให้บริการในกลุ่มเสี่ยง 607 ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข บุคลากรด่านหน้าเป็นหลักก่อน หน่วยบริการฉีด 1. สถาบันโรคผิวหนัง 2. สถานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 151 แห่ง (จองคิวเข้ารับบริการผ่าน แอพพลิเคชัน Que Q) 3. สถานพยาบาล สังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 4. สถานพยาบาล สังกัด กรมการแพทย์ 5. โรงเรียนแพทย์ 6. สถานบันบำราศนราดูร 7. สถาบันการแพทย์บางรัก | หน่วยบริการฉีด 1. สถาบันโรคผิวหนัง โทร. 02 354 5222 2. สถานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 151 แห่ง (จองคิวเข้ารับบริการผ่าน แอพพลิเคชัน Que Q) 02 203 2883 3. สถานบันบำราศนราดูร โทร. 02 590 3427 | |
9 | 7 | กรณีเด็กอายุ 6 เดือน - 4ปี สามารถลงทะเบียนขอรับวัคซีนโควิด 19 ได้ที่หน่วยงานใดบ้าง | สามารถติดต่อขอรับได้ที่ 1. สถานบริการใกล้บ้าน 2. สถาบันโรคผิวหนัง 3. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี 4. โรงพยาาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ | สามารถติดต่อขอรับได้ที่ 1. สถานบริการใกล้บ้าน 2. สถาบันโรคผิวหนัง โทร. 02 354 5222 3. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี โทร. 1415 | * แนะนำให้ประชาชนติดต่อหน่วยงานก่อนเข้ารับบริการ |
10 | 8 | การลงทะเบียนขอวัคซีนพาสปอร์ตชนิดอิเล็กทรอนิกส์ในแอพพลิเคชั่น หมอพร้อม จะได้รับ QR Code ภายในกี่วัน | ภายใน 24 ชั่วโมง หลังการดำเนินการสำเร็จ | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 | |
11 | 9 | การดำเนินการขอเอกสาร Vaccine passport สามารถดำเนินการ ผ่านช่องทางไหนได้บ้าง | เอกสาร Vaccine passport ปัจจุบันมี 2 รูปแบบ คือ Vaccine passport ชนิด Electronic และ Vaccine passport ชนิดรูปเล่ม (เล่มเหลือง) โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้ 1. วัคซีนพาสปาร์ตชนิด Electronic สามารถดำเนินการได้ทั้งหมด 2 ช่องทาง - ลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่นหมอพร้อม - การขอผ่านช่องทาง "หมอพร้อม" โดยต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น หรือ LINE OA "หมอพร้อม" 2. วัคซีนพาสปาร์ตชนิดรูปเล่ม (เล่มเหลือง) - ดำเนินการผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ ที่เปิดให้บริการ - ดำเนินการผ่านหน่วยบริการในพื้นที่ ที่เปิดให้บริการ - สถานบันบำราศนราดูร - โรงพยาบาลกลาง - โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 | |
12 | 10 | หากต้องการอัพเดทวัคซีนโควิด 19 ในหนังสือรับรองการเดินทางระหว่าง ประเทศ (เล่มเหลือง) สามารถติดต่อขออัพเดทได้ที่ใดบ้าง | 1. ดำเนินการผ่านสำนักงานป้องกันควบคุมโรค หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ ที่เปิดให้บริการ 2. สถานบันบำราศนราดูร 3. โรงพยาบาลกลาง 4.โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903237 | * แนะนำให้ประชาชนติดต่อหน่วยงานก่อนเข้ารับบริการ |
13 | 11 | สอบถามเรื่องกรณีต้องการอัพเดทจำนวนเข็มวัคซีน (ชนิด Electronic) ในระบบหมอพร้อม ต้องทำอย่างไร | 1. ดำเนินการผ่านแอพพลิเคชั่นหมอพร้อม 2. ดำเนินการผ่านช่องทาง "หมอพร้อม" โดยต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น หรือ LINE OA "หมอพร้อม" | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903238 | |
14 | 12 | กรณีชื่อใน Vaccine passport ผิดสามารถแก้ไขได้ที่ใด | 1. สามารถดำเนินการลงทะเบียนใหม่ผ่านแอพพลิเคชัน "หมอพร้อม" 2. สามารถดำเนินการลงทะเบียนใหม่ผ่าน LINE OA "หมอพร้อม" | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903239 | |
15 | 13 | กรณีต้องการขอสมุดวัคซีนพาสปอร์ตรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ท่านอื่น สามารถใช้มือถือเครื่องเดียวกันได้หรือไม่ | สามารถใช้เครื่องเดียวกันได้โดยเข้าใช้งานในแอพพลิเคชัน "หมอพร้อม" ล็อคอิน/ล็อคเอ้าท์ บัญชีของท่าน | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903240 | |
16 | 14 | ข้อมูลการฉีดวัคซีนในแอพพลิเคชั่นหมอพร้อมขึ้นจำนวนเข็มไม่ครบ ต้องดำเนินการอย่างไร | ติดต่อสถานพยาบาลที่ท่านใช้บริการฉีดวัคซีน | ||
17 | 15 | หากต้องการทราบมาตรการเดินทางเข้าประเทศไทย พร้อมเอกสารที่ต้อง ใช้มีอะไรบ้าง | ปัจจุบันสามารถเดินทางเข้าประเทศไทยได้ตามปกติ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย | สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย โทร 02-568-8800 | |
18 | 16 | ข้อมูลการฉีดวัคซีนในใบรับรองการฉีดวัคซีนภาษาไทย บนแอพพลิเคชั่น หมอพร้อมขึ้นจำนวนเข็มไม่ครบ ต้องดำเนินการอย่างไร | ติดต่อสถานพยาบาลที่ท่านใช้บริการฉีดวัคซีน | ||
19 | 17 | สอบถามเรื่องต้องการเปลี่ยนชื่อและนามสกุลในแอพพลิเคชั่นหมอพร้อม ต้องติดต่อหน่วยงานใด | 1. ติดต่อสถานบริการ หรือจุดฉีดวัคซีนที่รเข้ารับวัคซีน เพื่อขอแก้ไขข้อมูล 2. แก้ไขข้อมูลผ่าน เว็บไซต์ "หมอพร้อม" https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ 3. แก้ไขข้อมูลผ่าน Inbox เพจ Facebook "หมอพร้อม" | เว็บไซต์/LINE Official หมอพร้อม | |
20 | 18 | สอบถามเรื่องกรณีต้องการแก้ไขเบอร์โทรศัพท์ในแอพพลิเคชั่นหมอพร้อม ต้องทำอย่างไร | 1. ติดต่อสถานบริการ หรือจุดฉีดวัคซีนที่รเข้ารับวัคซีน เพื่อขอแก้ไขข้อมูล 2. แก้ไขข้อมูลผ่าน เว็บไซต์ "หมอพร้อม" https://mohpromt.moph.go.th/mpc/ 3. แก้ไขข้อมูลผ่าน Inbox เพจ Facebook "หมอพร้อม" | เว็บไซต์/LINE Official หมอพร้อม | |
21 | 19 | สอบถามเรื่องกรณีต้องการฉีดวัคซีน Covid 19 ในกทม.สามารถฉีดได้ที่ใด | แนะนำให้ประชาชนโทรสอบถามหน่วยงานที่จะเข้ารีบการฉีดวัคซีนก่อนเข้ารับบริการ เนื่องจากบางหน่วยงาน/สถานบริการ อาจจะมีข้อกำหนด และวัน เวลาการเปิดให้บริการที่แตกต่างกัน | หน่วยบริการฉีด 1. สถาบันโรคผิวหนัง โทร. 02 354 5222 2. สถานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 151 แห่ง (จองคิวเข้ารับบริการผ่าน แอพพลิเคชัน Que Q) 02 203 2883 3. สถานบันบำราศนราดูร โทร. 02 590 3427 | |
22 | 20 | สอบถามเรื่องมาตรการเดินทางเข้าประเทศไทยของชาวต่างชาติ ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง | ยกเลิกการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโรคโควิด 19 อาทิ เอกสารรับรองการได้รับวัคซีน และผลตรวจหาเชื้อโควิด 19 สำหรับผู้เดินทางเข้าประเทศไทย | กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ โทร 020 2575 1034 หรือ Call Center 24 ชั่วโมง 0 2572 8442 | |
23 | 21 | กรณีต่างชาติ/ต่างด้าวที่ต้องการขอรับวัคซีนโควิด 19 สามารถติดต่อ ขอรับได้ที่ไหนบ้าง | แนะนำให้ประชาชนโทรสอบถามหน่วยงานที่จะเข้ารีบการฉีดวัคซีนก่อนเข้ารับบริการ เนื่องจากบางหน่วยงาน/สถานบริการ อาจจะมีข้อกำหนด และวัน เวลาการเปิดให้บริการที่แตกต่างกัน | หน่วยบริการฉีด 1. สถาบันโรคผิวหนัง โทร. 02 354 5222 2. สถานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 151 แห่ง (จองคิวเข้ารับบริการผ่าน แอพพลิเคชัน Que Q) 02 203 2883 3. สถานบันบำราศนราดูร โทร. 02 590 3427 | |
24 | 22 | กรณีต่างชาติ/ต่างด้าวที่เลขประจำตัว 13 หลัก (บัตรสีชมพู) ไม่ตรงกับเลขประจำตัวที่ศุนย์ฉีดวัคซีนออกให้ ต้องดำเนินการอย่างไร | สามารถแจ้งจุดฉีดที่ท่านรับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 เพื่อดำเนินการแก้ไขเลข13หลัก ให้มีประวัติการฉีดวัคซีนในเลขเดียวได้เพื่อให้ มีข้อมูลที่ถูกต้องได้ | ||
25 | 23 | กรณีเป็นต่างชาติ/ต่างด้าว สามารถขอ Vaccine passport แบบอิเล็กทรอนิกส์ไว้เดินทางไปต่างประเทศได้หรือไม่และต้อง ขอที่หน่วยงานใด | สามารถดำเนินการขอเอกสารสำหรับเดินทาง (Vaccine passport) ได้ ทั้งชนิดรูปเล่มเหลือง และชนิด Electronic ทั้งนี้ต้องเป็นวัคซีนที่ได้รับ การฉีดในราชอาณาจักรไทย เท่านั้น เอกสาร Vaccine passport ปัจจุบันมี 2 รูปแบบ คือ Vaccine passport ชนิด Electronic และ Vaccine passport ชนิดรูปเล่ม (เล่มเหลือง) โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้ 1. วัคซีนพาสปาร์ตชนิด Electronic สามารถดำเนินการได้ทั้งหมด 2 ช่องทาง - ลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่นหมอพร้อม - การขอผ่านช่องทาง "หมอพร้อม" โดยต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น หรือ LINE OA "หมอพร้อม" 2. วัคซีนพาสปาร์ตชนิดรูปเล่ม (เล่มเหลือง) - ดำเนินการผ่านสำนักงานป้องกันควบคุมโรค หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่ ที่เปิดให้บริการ - ดำเนินการผ่านโรงพยาบาลหรือหน่วยบริการในพื้นที่ ที่เปิดให้บริการ | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903236 | |
26 | 24 | หากต้องการขอใบรับรองการฉีดวัคซีนโควิด 19 ภาษาไทย กรณีเป็นต่างด้าว, ต่างชาติ สามารถขอได้ที่หน่วยงานใด | 1. สามารถดำเนินการลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชัน "หมอพร้อม" 2. สามารถดำเนินการลงทะเบียนผ่าน LINE OA "หมอพร้อม" 3. สถานบริการที่ท่านเข้ารับการฉีดวัคซีน Covid 19 | 1. facebook กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 2. 02 590 3234 ,02 5903239 | |
27 | 25 | ต่างด้าว,ต่างชาติต้องการฉีดวัคซีนโควิด 19 สามารถฉีดได้ที่ใดและ เสียค่าบริการหรือไม่ | แนะนำให้ประชาชนโทรสอบถามหน่วยงานที่จะเข้ารีบการฉีดวัคซีนก่อนเข้ารับบริการ เนื่องจากบางหน่วยงาน/สถานบริการ อาจจะมีข้อกำหนด และวัน เวลาการเปิดให้บริการที่แตกต่างกัน กรณีค่าบริการการฉีดวัคซีน Covid 19 1. กรณีต่างด้าว,ต่างชาติ ที่มีใบอนุญาตการทำงานในประเทศไทย (มีสิทธิ์ประกันสังคม) จะไม่มีค่าบริการ 2. กรณีต่างด้าว,ต่างชาติ ที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศใน ต้องมีค่าบริการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานบริการนั้นๆ | * แนะนำให้ประชาชนติดต่อหน่วยงานก่อนเข้ารับบริการ | |
28 | 26 | หากต่างด้าวและต่างชาติมีเลขประกันสังคม (เลขประจำตัว 13 หลัก) กรณีไปฉีดวัคซีนโควิด 19 ข้อมูลประวัติการฉีดจะขึ้นในเลขประกันสังคมหรือไม่ | ศูนย์บริการมีการบันทึกประวัติการฉีดวัคซีนผ่าน เลขประกันสังคม (เลขประจำตัว 13 หลัก) | ||
29 | 27 | สามารถขอรับการตรวจ Covid 19 แบบ RT-PCR และออกใบรับรองแพทย์ที่ใดบ้าง | แนะนำให้ประชาชนโทรสอบถามหน่วยงานที่จะเข้ารับการตรวจ Covid 19 ก่อนเข้ารับบริการ เนื่องจากบางหน่วยงาน/สถานบริการ อาจจะมีข้อกำหนด และวัน เวลาการเปิดให้บริการที่แตกต่างกัน | * แนะนำให้ประชาชนติดต่อหน่วยงานก่อนเข้ารับบริการ | * แนะนำให้ประชาชนติดต่อหน่วยงานก่อนเข้ารับบริการ |
30 | 28 | เด็กเล็กสามารถฉีดวัคซีนโควิด 19 ได้ตั้งแต่อายุเท่าไหร่และวัคซีนโควิด 19 สูตรใด | กำหนดให้วัคซีนโควิด 19 ฝาสีแดง ในเด็กอายุ 6 เดือน - 4 ปี จำนวน 3 ครั้ง เข้ากล้ามเนื้อ (IM) โดยระยะห่างระหว่างเข็มที่ 1 และ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ (3-8 สัปดาห์) และระยะห่างระหว่างเข็มที่ 2 และ 3 ห่างกัน 8 สัปดาห์(อย่างน้อย 8 สัปดาห์) | ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย https://www.thaipediatrics.org/?cat=8 | |
31 | 29 | ข้อแนะนำให้ใช้วัคซีนไฟเซอร์ bivalent (Gen 2) | วัคซีนไฟเซอร์ bivalent เป็นวัคซีนเข็มกระตุ้นในผู้ที่เคยได้รับวัคซีนไฟเซอร์ 2 เข็มขึ้นไป ซึ่งจะช่วยลดการติดเชื้อแบบมีอาการได้ประมาณ 28-56% | สำนักงานสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข | https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/all/04/186514 |
32 | 30 | ใครบ้างที่สามารถฉีดภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปสำหรับการป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อ และการรักษา โควิด 19 (Long-acting-Antibody : LAAB) | สำหรับป้องกัน Covid 19 ในกลุ่มเสี่ยง 607 และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ ที่มีอายุตั้งแต่ 12 ปี ขึ้นไป และมีน้ำหนักตัวตั้งแต่ 40 กิโลกรัมขึ้นไป ได้แก่ ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะหรือได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูกที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ผู้ป่วยโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยาหรือมะเร็งอวัยวะ ที่กำลังได้รับการรักษาหรือเพิ่งหยุดการรักษาภายใน 6 เดือน ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ ผู้ป่วยโรคไตระยะสุดท้าย ผู้ป่วยโรคข้อและรูมาติสซั่ม หรือโรคอื่น ๆ ที่กำลังได้รับยากดภูมิคุ้มกัน รวมถึง ผู้ที่แพทย์พิจารณาแล้วว่ามีภูมิคุ้มกันบกพร่องซึ่งควรได้รับภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป นอกจากนี้ ยังแนะนำให้เพิ่มขนาดการให้ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปสำหรับการป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อ เป็น 600 มิลลิกรัม (Tixagevimab 300 มิลลิกรัม และ Cilgavimab 300 มิลลิกรัม) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพกทั้ง 2 ข้างแยกกันตามลำดับ โดยจะป้องกันโรคได้นานประมาณ 6 เดือน ต่อการฉีด 1 ครั้ง ทั้งนี้ ยืนยันว่า ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปที่ยังมีอยู่ขณะนี้ ยังใช้ได้ดีกับสายพันธุ์ BA 2.75 และ BN.1 ซึ่งเป็นสายพันธุ์หลักที่ระบาดอยู่ในประเทศไทย ดังนั้นขอให้ประชาชนมั่นใจได้ว่า ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปมีประสิทธิภาพดีและมีความปลอดภัยสูง | 1. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ 2.กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข | https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=32896&deptcode= |
33 | 31 | น้ำกระชายสามารถป้องกันการติดเชื้อโควิด 19 ได้หรือไม่ | จากผลการวิจัยเบื้องต้น พบว่า "สารสกัดกระชายขาว" มีฤทธิ์ต้าน COVID 19 ในหลอดทดลอง แต่ก็ยังคงอยู่ระหว่างการศึกษาเพิ่มเติม ในด้านความปลอดภัยและปริมาณที่เหมาะสมต่อการบริโภค ดังนั้นหากต้องการบริโภคกระชายขาว แนะนำปรึกษาเภสัชกรหรือแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเพื่อความปลอดภัยจะดีที่สุด | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
34 | 32 | ฟ้าทะลายมีข้อบ่งชี้และข้อจำกัด ในการรใช้รักษาโรคโควิด 19 อย่างไรบ้าง | ผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ควรได้รับการรักษาด้วยยาฟ้าทะลายโจร 1. ผู้ที่ได้รับการตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อโควิด 19 และไม่ข้อห้ามการใช้ฟ้าทะลายโจร 2. ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่มีอาการ ไข้ เจ็บคอ ผู้ป่วยเด็ก : ไม่มีข้อมูลขนาดยาที่เพียงพอที่จะแนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่เป็นโควิด-19 รวมทั้งยามีลักษณะเป็นแคปซูลบรรจุผงยาที่ขมมาก เด็กเล็กจะกินได้ยากสำหรับเด็กโต อาจพิจารณาใช้ขนาด 3 3.5 มก/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน แบ่งให้วันละ 34 ครั้ง -เด็กที่น้ำหนักตัวตั้งแต่ 50 กก.ขึ้นไป ใช้ยาในขนาดของผู้ใหญ่ ข้อห้าม : ห้ามใช้ในกรณีต่อไปนี้ ผู้ที่แพ้ฟ้าทะลายโจร หญิงตั้งครรภ์/อาจจะตั้งครรภ์ หญิงที่กำลังให้นมบุตร เพราะอาจทำให้เกิดการบีบตัวของมดลูกเป็นผลให้แท้งหรือคลอดก่อนกำหนด หรือ ทารกผิดปรกติ ข้อควรระวัง : -การใช้ร่วมกับยากันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) เช่น ยาวาร์ฟาริน แอสไพริน โคลพิโดเกรล เพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ -การใช้ร่วมกับยาลดความดันเลือด เพราะอาจเสริมฤทธิ์กันได้ -การใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไชม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP 1A2, CYP 2C9 และ CYP 3A4 หากใช้ขนาดสูงหรือใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินกว่าที่แนะนำ อาจทำให้แขนขามีอาการชาหรือ อ่อนแรง และผลข้างเคียงอื่นๆ อาการไม่พึงประสงค์ : พบได้น้อย อาจทำให้เกิดอาการเบื่ออาหาร มวนท้อง ท้องเดิน คลื่นส้ อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น อ่อนเพลีย กรณีที่มีอาการมาก เมื่อหยุดยาก็จะหายเป็นปรกติ ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดอาการแพ้ เช่น ผื่น ลมพิษ หน้าบวม ให้หยุดยา กินยาแก้แพ้ พบแพทย์ และห้ามใช้ยานี้อีก -ถ้ามีอาการหน้ามืด เวียนศีรษะ ความดันต่ำ ให้นั่งหรือนอนพัก อาการจะดีขึ้น ใน 30 นาที | https://shorturl-ddc.moph.go.th/JfU7c | |
35 | 33 | มารดาที่ติดเชื้อโควิดสและได้รับยาต้านไวรัสามารถให้นมบุตรได้หรือไม่ | แนะนำให้ปรึกษาแพทย์เจ้าของคนไข้ เนื่องจากข้อบ่งชี้แต่ละไตรมาศมีข้อแตกต่างกัน | ||
36 | 34 | มารดาที่ติดเชื้อโควิด สามารถรับประทานยาต้านไวรัสสำหรับรักษาโควิด | แนะนำให้ปรึกษาแพทย์เจ้าของคนไข้ เนื่องจากข้อบ่งชี้แต่ละไตรมาศมีข้อแตกต่างกัน | ||
37 | 35 | การติดเชื้อโควิด 19 แล้วไม่ได้รับยาต้านไวรัสจะหายจากการติดเชื้อหรือไม่ | สามารถหายได้เองหากอาการไม่รุนแรง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ อายุ โรคประจำตัว ความรุนแรงของอาการ ซึ่งจะได้รับการพิจารณาการให้ยาต้านไวรั สจากแพทย์ | ||
38 | 36 | กรณีที่เคยติดเชื้อโควิด 19 สามารถเข้ารับวัคซีนโควิด 19 หลังจากหายแล้วกี่เดือน | กรณีหายจากการติดเชื้อโควิด 19 สามารถเข้ารับวัคซีนเข็มถัดไปหลังจากหาย 1-3 เดือน | ||
39 | 37 | กรณีติดเชื้อโควิด ระยะเวลาอีกกี่วันถึงสามารถฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้ | หลังหายจากโควิด นับไปอีก 14 วัน สามารถฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้ ทั้งนี้ กรณีป่วยไม่มีอาการหรืออาการไม่หนัก หากมั่นใจว่าหายดีแล้ว สามารถฉีดได้เลยหรือหลังจากหายดีประมาณ 7 วัน ถ้าผู้ป่วยอาการหนัก เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ควรรอให้หายดีก่อนและไม่มีอาการประมาณ 14 วัน ถึงแนะนำให้ฉีด จะคล้าย ๆ กับการรับวัคซีนชนิดอื่น คือ ให้หายดีก่อนถึงจะฉีดได้ หากไม่มั่นใจสามารถปรึกษาแพทย์ก่อนฉีด |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคจากการประกอบอาชีพ | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | 1 | Pm 2.5 คืออะไร | ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เป็นปัญหามลพิษอากาศที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนทั้งระยะสั้นและระยะยาว | แนวทางมาตรการ การเฝ้าระวังสุขภาพ และสื่อสารความเสี่ยง เพื่อสร้างความรอบรู้ที่เกี่ยวข้องกับฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1287120220815094919.pdf | |
4 | 2 | Pm 2.5 เกิดจากอะไร | ตุเกิดจากการจราจร (ไอเสียรถยนต์)การเผาป่าการเผาเศษพืชผลทางการเกษตรการใช้ฟืน ในการหุงต้ม โรงงานอุตสาหกรรม และจากหมอกควันข้ามแดน รวมถึงปัจจัยทางสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ ภาวะความกดอากาศสูงที่ทำ ให้เกิดภาวะอากาศปิด | ||
5 | 3 | Pm 2.5 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง | 1. เกิดอาการไอ จาม หรือภูมิแพ้ 2. ผู้ที่เป็นภูมิแพ้ฝุ่นอยู่แล้ว จะยิ่งถูกกระตุ้นให้เกิดอาการมากขึ้น 4. เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจเรื้อรัง 5. เกิดโรคปอดเรื้อรัง หรือมะเร็งปอด | ||
6 | 4 | ใครคือกลุ่มเสี่ยง ที่จะทำให้เกิดอัตรายได้ง่าย | กลุ่มเปราะบาง ได้แก่ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุและผู้มีโรคประจำตัวรวมทั้งประชาชนทั่วไปที่ทำกิจกรรมกลางแจ้ง | ||
7 | 5 | เราจะป้องกันตนเองจากฝุ่นละออง PM2.5 ได้อย่างไร | 1. ตรวจสอบค่าฝุ่นละออง PM2.5 จากเว็บไซต์ของกรมควบคุุมมลพิษ หรือผ่านทาง แอปพลิเคชัน Air4Thai ก่อนออกจากบ้้านทุุกครั้ง 2. สวมใส่หน้ากากป้องกัันฝุ่่น (N95) เนื่่องจากจะมีประสิทธิภาพที่สามารถกรอง 3. อนุุภาคขนาดเล็กได้ ทุกครั้งที่ออกจากบ้าน หรือไปในพื้นที่เสี่ยง 4. หลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง หากมีอาการผิดปกติควรรีบไปพบแพทย์ |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : วัณโรค | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | 1 | วัณโรคติดต่ออย่างไร แล้วถ้ารับเชื้อไปแล้วใช้เวลานานเท่าไหร่ถึงจะแสดงอาการ แล้วอาการสังเกตง่ายๆ คือ | วัณโรคเป็นโรคติดต่อจากคนสู่คนผ่านอากาศ (airborne transmission) โดยเมื่อผู้ป่วยวัณโรคปอด หลอดลม หรือกล่องเสียง ไอ จาม พูดดัง ๆ ตะโกน หัวเราะหรือร้องเพลง ทาให้เกิดละอองฝอย (droplet nuclei) ฟุ้งกระจายออกมา ละอองฝอยที่มีขนาดใหญ่มากจะตกลงสู่พื้นดินและแห้งไป ละอองฝอยที่มีขนาดเล็ก 1 – 5 ไมโครเมตร จะลอยและกระจายอยู่ในอากาศ ซึ่งผู้สูดหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อวัณโรค เข้าไปอนุภาคขนาดใหญ่ะติดอยู่ที่จมูกหรือลาคอ ซึ่งมักไม่ก่อให้เกิดโรค แต่อบุภาคขนาดเล็ก ๆ จะเข้าไปสู่ถุงลมในปอด | กองวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข | |
4 | 2 | หากประชาชนต้องการประเมินตนเอง รวมถึงคนใกล้ต้ว ว่าเป็นวัณโรคหรือไม่ เราจะมีการประเมินอาการ ที่สงสัยในเบื้องต้นอย่างไรบ้าง | อาการที่สงสัยว่าเป็นวัณโรค - อาการที่สาคัญของวัณโรคปอด คือ ไอเรื้อรังนาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป - อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ น้าหนักลด เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย มีไข้ (มักจะเป็นตอนบ่าย เย็น หรือตอนกลางคืน) ไอมีเลือดปน เจ็บหน้าอก หายใจขัด ถ้ามีอาการอย่างน้อย 2 อาการขึ้นไป รีบตรวจหาวัณโรคที่สาถานพยาบาลใกล้บ้าน | ||
5 | 3 | วัณโรครักษาอย่างไร ใช้เวลาในการรักษานานไหมคะ แล้วต้องระวังเรื่องอะไรเป็นพิเศษ ขณะที่กำลังรักษาอยู่ | ณโรคสามารถรักษาให้หายได้ 1. มียารักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพสูงในการรักษาใช้เวลาในการรักษา 6 – 8 เดือน 2. มีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาจนครบการรักษา 3. หากมีอาการแพ้ยาควรรีบปรึกษาแพทย์ 4. กินยาครบทุกเม็ด ครบทุกมื้อ ไม่หยุดยาเอง เป็นการรักษาและหยุดการแพร่กระจายของเชื้อและเพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อวัณโรค แม้ว่าวัณโรคจะสามารถรักษาให้หายขาด แต่ก็มีโอกาสกลับไปเป็นซ้าได้ หากผู้ป่วยไม่มีวินัยในการรับประทานยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด | ||
6 | 4 | มีวิธีป้องกันไม่ให้ป่วยเป็นวัณโรคได้อย่างไร | 1.รักษาสุขภาพแข็งแรง โดยออกกำลังกาย และกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ 2. หลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค 3.ถ้ามีผู้ป่วยวัณโรคอยู่ในบ้าน ควรให้กินยาครบถ้วน สม่ำเสมอทุกวัน 4.ควรตรวจร่างกาย โดยการเอกซ์เรย์ปอด อย่างน้อยปีละครั้ง 5. หากมีอาการผิดปกติ น่าสงสัยว่าจะเป็นโรคควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อรับการตรวจโดยการเอกซ์เรย์ปอด และตรวจเสมหะทันที | ||
7 | 5 | การปฎิบัติตนเมื่อมีผู้ป่วยวัณโรคอยู่ในบ้าน | 1. ควรให้ผู้ป่วยแยกห้องกับคนในครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2 สัปดาห์แรก ไม่ควรเปิดเครื่องปรับะอากาศ ควรเป็นห้องที่เปิดหน้าต่างเพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก 2. สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา เพื่อป้องกัน การแพร่กระจายของเชื้อโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วง 2 สัปดาห์แรก 3. ควรบ้วนเสมหะในภาชนะหรือกระป๋อง ที่มีฝาปืดมิดชิด และนำทิ้งโดยผูกปากถุงให้สนิท |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคติดต่อนำโดยแมลง | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | โรคไข้เลือดออก | กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข | |||
4 | 1 | เมื่อป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก สามารถสังเกตอาการตนเองได้อย่างไร (สาเหตุ การติดต่อ อาการ ) | โรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ (Dengue Virus : DENV) ซึ่งมี 4 สายพันธุ์ ได้แก่ ไวรัสเดงกี่1 ไวรัสเดงกี่2 ไวรัสเดงกี่3 และไวรัสเดงกี่4 โดยผู้ที่เคยติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์นั้นแล้วจะมีภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์นั้นไปตลอดชีวิต แต่จะมีภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์อื่นที่เหลือประมาณ 3 - 12 เดือน และเมื่อได้รับเชื้อไวรัสเดงกี่ครั้งที่ 2 ที่ต่างสายพันธุ์กับครั้งแรก จะทำให้มีอาการรุนแรงยิ่งขึ้น - โรคไข้เลือดออกไม่สามารถติดต่อจากคนสู่คนได้โดยตรง ต้องอาศัยแมลงพาหะ โดยแมลงที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) และยุงลายสวน (Aedes albopictus) เมื่อยุงลายเพศเมียดูดเลือดของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ในกระแสเลือด (Viremia) โดยทั่วไปจะเป็นช่วง 2 วัน ก่อนผู้ป่วยเริ่มมีอาการจนถึง 6 วันหลังแสดงอาการ จากนั้นเชื้อไวรัสเดงกี่จะฟักตัวเพิ่มจำนวนที่กระเพาะอาหารของยุง และกระจายไปยังต่อมน้ำลายของยุง ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 8 – 12 วัน ถึงจะสามารถแพร่เชื้อไปยังคนต่อไปได้ โดยยุงตัวที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่จะสามารถแพร่เชื้อต่อไปได้ในทุกครั้งที่กัดคน เมื่อคนถูกยุงตัวดังกล่าวกัดก็จะติดเชื้อไวรัสเดงกี่ ใช้เวลาประมาณ 3 -14 วัน จึงจะแสดงอาการของโรค แต่ในบางรายก็ไม่แสดงอาการแต่ยังสามารถแพร่เชื้อต่อได้ เมื่อยุงมากัดก็จะได้รับเชื้อไวรัสเดงกี่และกระจายเชื้อต่อไป - โรคไข้เลือดออกมีอาการเด่น ได้แก่ มีไข้สูงลอย ปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว เบื่ออาหาร จุดเลือดออกตามผิวหนัง ซึ่งอาการที่เป็นสัญญาณ เตือนของอาการรุนแรง ได้แก่ อาเจียนมาก ปวดท้องจากตับโต (กดเจ็บชายโครงขวา) เลือดออกผิดปกติ เช่น มีเลือดกำเดา เลือดออกตามไรฟัน อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด (อุจจาระดำ) หากมีอาการดังนี้ให้สงสัยว่าตนเองอาจป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที | ||
5 | 2 | หากมีอาการหรือสงสัยว่าเป็นโรคไข้เลือดออก ทำไมต้องรีบไปพบแพทย์ ถ้าเข้ารับ การรักษาช้าจะเสี่ยงอันตรายหรือไม่? | ถึงแม้ว่าผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกส่วนใหญ่จะมีอาการไม่รุนแรงและหายเองได้ แต่ในกลุ่มที่มีอาการรุนแรงหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอย่างทันท่วงทีก็อาจเกิด ภาวะช็อก และเสียชีวิตได้ - โดยผู้ป่วยสามารถเข้าสู่ระยะวิกฤติได้ตั้งแต่วันที่ 3 ภายหลังเริ่มมีไข้ ดังนั้น ในผู้ป่วยที่มีไข้ 2 วัน แล้วไข้ยังไม่ลดลง หรือทานยาลดไข้แล้วไข้กลับมาสูงอีก มีโอกาสสูงที่จะเป็นไข้เลือดออก ต้องรีบไปโรงพยาบาลเพื่อรักษาทันที - ซึ่งจากข้อมูล ในปี 2565 และ 2566 พบว่าปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เสียชีวิต คือ การไปรักษาที่รพ.ช้า การปฏิเสธการรักษาในรพ. และการไม่มาติดตามการรักษา ตามนัด โดยเฉพาะผู้ใหญ่มักรอให้มีอาการรุนแรงถึงไปรพ. ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงยากต่อการรักษาให้หายได้ | ||
6 | 3 | เป็นไข้เลือดออก สามารถซื้อยามากินเองได้หรือไม่ | ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสามารถซื้อยาพาราเซตามอลมารับประทานเองได้ โดยรับประทานห่างกัน 4 – 6 ชั่วโมง แต่ห้ามซื้อยากลุ่ม NSAIDs เช่น ไอบูโพรเฟน ยาชุด ไดโคลฟีแน็ค แอสไพริน เด็ดขาด เพราะอาจเพิ่มความรุนแรงของภาวะเลือดออกได้ ถึงแม้ยากลุ่มดังกล่าวจะลดอาการปวด ลดไข้ได้ แต่เนื่องจากตัวยามีสาร ที่ทำลายเกล็ดเลือด ขัดขวางการแข็งตัวของเลือด และระคายเคืองกระเพาะอาหาร ทำให้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น และเสียชีวิตได้ในที่สุด | ||
7 | 4 | กลุ่มใดบ้างที่มีโอกาสป่วยหนัก จนถึงขั้นเสียชีวิต | 1. ผู้ที่มีภาวะอ้วน มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคตับ โรคไต ติดสุราเรื้อรัง เมื่อป่วยเป็นไข้เลือดออกจะมีโอกาสเสียชีวิตสูง เนื่องจากเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่ายกว่าคนทั่วไป 2. ผู้สูงอายุ 3. ผู้ที่ได้รับยาในกลุ่ม NSAIDs หรือ steroids ประเภทรับประทานหรือฉีด 4. ผู้ป่วยที่ไม่ยอมมารับการรักษาที่โรงพยาบาล หรือผู้ป่วยที่มารับการรักษาพยาบาลช้า (หลังวันที่ 3 หลังเริ่มมีอาการ) | ||
8 | 5 | มีวิธีป้องกันโรคไข้เลือดอออก ได้อย่างไรบ้าง | การป้องกันโรคไข้เลือดออกทำได้ง่ายโดยยึดหลัก 3 เก็บ เก็บบ้าน เก็บน้ำ และเก็บขยะ 1. ยุงลายมักเกาะตามสิ่งที่ห้อยแขวนต่างๆ ภายในบ้าน เช่น เสื้อผ้าในตู้เสื้อผ้า หรือตามมุมมืด การเก็บบ้านให้ปลอดโปร่ง ปิดประตูตู้เสื้อผ้าให้มิดชิด จะทำให้ยุงไม่มีที่เกาะพัก 2. ยุงลายชอบวางไข่ในภาชนะน้ำขังที่มีน้ำนิ่ง ใส โดยเฉพาะน้ำฝนและภาชนะที่มีน้ำภายในบ้าน เราป้องกันการวางไข่โดยการเก็บน้ำ ได้แก่ เปลี่ยนน้ำทุกๆ 7 วัน ในแจกันพลูด่าง ถาดรองกระถางดอกไม้ น้ำบนหิ้งพระ ที่รองตู้กับข้าว ที่รองน้ำหลังตู้เย็น นอกจากเททิ้งหรือเปลี่ยนน้ำแล้วยังต้องขัดขอบภาชนะด้วย เพราะไข่ของยุงลายสามารถทนอยู่ในสภาวะแห้งได้นานเป็นปี ถ้ามีน้ำขังอีกครั้งก็ฟักเป็นลูกน้ำได้ หากไม่สามารถเปลี่ยนน้ำได้ เช่น โอ่งเก็บน้ำดื่มน้ำใช้ อ่างน้ำในห้องน้ำ ก็หาฝามาปิดให้มิดชิด ไม่ให้ยุงบินเข้าไปวางไข่ หรือใส่ทรายกำจัดลูกน้ำยุง (เทมีฟอส) ในภาชนะดังกล่าว 3. น้ำฝนเป็นน้ำที่ยุงชอบวางไข่มากที่สุด หากบริเวณบ้านมีขยะหรือภาชนะที่ไม่ได้ใช้แล้วอยู่ เมื่อฝนตกลงมาขยะเหล่านั้นก็จะรองรับน้ำฝนและกลายเป็น แหล่งวางไข่ของยุงลายได้ เช่น แก้วน้ำ ยางรถยนต์เก่า โอ่งแตก กล่องนม เศษวัสดุเหลือใช้ต่างๆ การเก็บขยะจะช่วยลดโอกาสการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ได้ นอกจาก 3 เก็บ แล้วการป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัดก็สำคัญ โดยการทาโลชั่นกันยุง นอนในมุ้ง สวมใส่เสื้อผ้าให้มิดชิด ใช้สเปรย์หรือยาจุดไล่ยุง เปิดพัดลมหรืออยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเท ไม่เพียงแต่ป้องกันโรคไข้เลือดออก วิธีนี้ยังสามารถป้องกันโรคอื่นๆ ที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคได้ ทั้งโรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา | ||
9 | โรคชิคุนกุนยา | ||||
10 | 6 | โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือโรคชิคุนกุนยา เกิดจากอะไร | โรคไข้ปวดข้อยุงลายหรือชิคุนกุนยา พาหะนำโรคคือ “ยุงลาย” คล้ายกับโรคไข้เลือดออก มีทั้งยุงลายบ้าน ยุงลายสวน เมื่อยุงไปกัดผู้ป่วยไข้ปวดข้อยุงลายที่อยู่ในระยะไข้สูง (ประมาณ 3-5 วันแรก) ซึ่งเป็นระยะที่ผู้ป่วยมีเชื้อไวรัสอยู่ในกระแสเลือดเป็นปริมาณมาก ยุงจะได้รับเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา และเมื่อยุงไปกัดคนที่ยังไม่ป่วย จะปล่อยเชื้อเข้าสู่คนอื่นทำให้คนเกิดอาการของโรคได้ | ||
11 | 7 | อาการของผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยา | อาการไข้ของผู้ป่วยชิคุนกุนยาส่วนใหญ่มีไข้สูงลอย อุณหภูมิกายสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส เป็นอยู่ประมาณ 3 – 5 วัน หรืออาจนานเป็นสัปดาห์ บางรายอาจมีไข้ลง และมีไข้ใหม่อีกครั้ง (biphasic) พบผื่นแดง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ได้ซึ่งอาการที่เด่นชัดของโรคไข้ปวดข้อยุงลายที่แตกต่างจากไข้เลือดออก คือส่วนใหญ่ จะมีอาการปวดข้อร่วมกับไข้สูงเฉียบพลัน และจะไม่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำจนเลือดออก | ||
12 | 8 | อาการของผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลาย | โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ส่วนใหญ่จะเริ่มจากข้อเล็ก ข้อนิ้ว ข้อมือ ข้อเท้า มักปวดหลายข้อและเป็นทั้งสองข้าง จากนั้นอาจลาม ไปที่ข้อที่ใหญ่ขึ้น เช่น ข้อเข่า ข้อศอก ข้อสะโพก ข้อไหล่ บางคนอาจปวดมากจนเดินไม่ได้ | ||
13 | 9 | หากมีอาการหรือสงสัยว่าเป็นโรคชิคุนกุนยา ต้องทำอย่างไร | หากมีไข้ ให้เช็ดตัวลดไข้ และสามารถทานยาลดไข้ได้หากมีไข้สูง ในช่วงแรก แต่ห้ามซื้อยาแก้ปวดและลดการอักเสบ ที่ออกฤทธิ์ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร (กลุ่ม NSAIDs) เช่น ไอบูโพรเฟน (Ibuprofen) ไดโคลฟีแนค (Diclofenac) ซึ่งยังไม่มียารักษาเฉพาะ เป็นการรักษาตามอาการ โดยให้ยาลดไข้ แก้ปวด แนะนำให้ผู้ป่วย ดื่มน้ำมาก ๆ พักผ่อนให้ให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ แนะนำให้พักการใช้ข้อ ในช่วงที่มีอาการปวดและเริ่มเคลื่อนไหว ทีละน้อยเมื่ออาการปวดทุเลาลง เพื่อป้องกันข้อติดและลดอาการปวด และแนะนำให้ไป พบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยยืนยันทำการรักษา 4. วิธีป้องกันโรค | ||
14 | 10 | การป้องกันโรคที่สำคัญ คือ การช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และการป้องกันยุงลายกัด | 1) สวมเสื้อผ้าสีอ่อน แขนยาว ขายาว ป้องกันยุงกัด เมื่อออกนอกบ้าน เมื่อไปทำงานในสวน ในไร่ 2) ใช้ยาทากันยุงกัด ใช้ยาจุดไล่ยุง หรือเครื่องไล่ยุงไฟฟ้า เพื่อไล่ยุงในเวลากลางวัน 3) นอนกางมุ้งแม้ในเวลากลางวัน อาจใช้มุ้งชุบสารเคมีฆ่ายุง หรือชุบสารเคมีในผ้าม่าน 4) ให้ผู้ป่วยทายาป้องกันยุง เพื่อป้องกันไม่ให้ยุงกัดแล้วไปแพร่เชื้อต่อไป 5) เก็บบ้าน เก็บขยะ และเก็บน้ำ กำจัดแหล่งแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย คว่ำหรือทำลายภาชนะที่เก็บขังน้ำได้ที่จะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เช่น แก้ว พลาสติก ขวดน้ำ ยางรถยนต์ กะลามะพร้าว แจกัน เป็นประจำทุกสัปดาห์ |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | โรคพิษสุนัขบ้า | ||||
4 | 1 | โดนสุนัขกัดซ้ำภายใน 1 เดือน จำเป็นต้องไป ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอีกหรือไม่ | หากถูกกัดซ้ำภายใน 3 เดือน หลังได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ไม่ต้องฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น | ||
5 | 2 | หากไม่ได้ไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ตามนัดหมาย ต้องฉีดวัคซีนใหม่หรือไม่ | กรณีผู้สัมผัสโรคไม่มาตามกาหนดวันนัดหมาย เช่น อาจมาคลาดเคลื่อนไปบ้าง 2-3 วัน ให้ฉีดวัคซีนต่อเนื่องต่อเนื่องต่อไปโดยไม่ต้องฉีดวัคซีนใหม่ | ||
6 | 3 | วิธีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามีกี่วิธี | มี 2 วิธี 1.การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular) ,IM) 2. การฉีดเข้าผิวหนัง (Intradermal, ID) ใช้ได้กับวัคซีน PVRV, PCECV หรือ HDCV | ||
7 | โรคฉี่หนู | ||||
8 | 4 | โรคฉี่หนูมีพาหะนำเชื้อมาจากสัตว์ชนิดใด | โรคฉี่หนู ซึ่งเป็นโรคจากสัตว์สู่คน เกิดจากเชื้อกลุ่ม Leptospira มักพบการระบาดในหน้าฝน หรือช่วงที่มีน้ำท่วมขัง สัตว์ที่แพร่เชื้อโรคนี้ ได้แก่ พวกสัตว์ฟันแทะ เช่น หนู โดยที่ตัวมันไม่เป็นโรค สัตว์พวกนี้เก็บเชื้อไว้ที่ไต ดังนั้นเมื่อฉี่ออกมาจะมีเชื้อนี้ปนอยู่ด้วย จึงเป็นที่มาของคำว่า “โรคฉี่หนู” | สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | 1 | โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คืออะไร แล้วมีโรคอะไรบ้าง | รคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คือ กลุ่มโรคที่ติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งบางโรคอาจติดต่อโดยการสัมผัส หรือถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกขณะตั้งครรภ์ แบ่งตามลักษณะอาการ ดังนี้ แผล ได้แก่ ซิฟิลิส แผลริมอ่อน เริมอวัยวะเพศ ฝี ได้แก่ กามโรคของต่อมน้ำเหลือง หรือฝีมะม่วง หนอง ได้แก่ หนองใน หนองในเทียม อื่นๆ ได้แก่ หูดหงอนไก่ หูดข้าวสุก พยาธิช่องคลอด เชื้อราช่องคลอด โลน หิด | โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข | |
4 | 2 | มีวิธีการป้องกันอย่างไรบ้าง เพื่อไม่ให้ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ | สำหรับการป้องกัน คือ ทุกคนควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกันการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมถึงเชื้อเอชไอวี และการท้องไม่พร้อมด้วย | ||
5 | 3 | สามารถรับการตรวจคัดกรองเอชไอวีและซิฟิลิส ได้ที่ไหน | สามารถเข้ารับบริการตรวจได้ที่หน่วยสถานพยาบาล หรือติดต่อเข้ารับบริการที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค และศูนย์สุขภาพชุมชน ใน 46 จังหวัดทั่วประเทศ | ||
6 | โรคเริม | สาขาวิชาโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | https://shorturl-ddc.moph.go.th/8QCWb | ||
7 | 4 | โรคเริ่มเกิดจากอะไร | โรคเริม เกิดจากเชื้อไวรัส ที่มีชื่อว่า Herpe Simplex Virus (HSV) ซึ่งจะมีอยู่ 2ชนิดด้วยกัน คือ HSV type1และ HSV type2 โดยเชื้อ HSV นั้นทำให้เกิดเริมได้ที่บริเวณผิวหนัง และในส่วนชั้นเยื่อเมือกของร่างกาย โดยสามารถเกิดได้กับทุกเพศ ทุกวัย เริม ชนิดใดที่เรียกว่าโรคติดต่อทางเพศสัมพัน | ||
8 | 5 | โรคเริ่มเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หรือไม่ | เกิดขึ้นจากการสัมผัสน้ำเหลืองจากตุ่ม เช่น การดื่มน้ำแก้วเดียวกันกับผู้ป่วย ซึ่งแก้วใบนั้นมีน้ำเหลืองติดอยู่ และสามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์ | ||
9 | 6 | โรคเริมรักษาด้วยสิทธิบัตรทองได้ที่โรงพยาบาลใดบ้าง | - ทุกโรงพยาบาลตามสิทธิบัตรทองของรัฐได้ทุกแห่ง - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โทร 1330 - สิทธิประกันสังคม โทร 1506 |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : ซีเซียม 137 | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งอ้างอิง/สืบค้นข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | 1 | ซีเซียม 137 สูญหายในพื้นที่ใด และเมื่อไร | ในพื้นที่อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2566 ได้รับแจ้งเหตุกรณีวัสดุกัมมันตรังสีสูญหาย จากสถานประกอบการทางรังสีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 304 อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี | สำนักงานปรมนูเพื่อสันติ | https://www.oap.go.th/pr/9129-137 |
4 | 2 | พบผู้สัมผัส หรือได้รับอันตรายจาก ซีเซียม 137 หรือไม่ | ปัจจุบันมีการเฝ้าระวังและตรวจเลือดรอบแรกคนงานโรงถลุงเหล็กที่หลอมซีเซียม-137 จำนวน 70 คน พบค่าเม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด ค่าตับและไตปกติ นัดตรวจซ้ำวันที่ 5 เม.ย. ส่วนการตรวจซีเซียมในปัสสาวะโดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ รอผลอีก 2 สัปดาห์ | สำนักงานสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข | https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/188327/ |
5 | 3 | พบการปนเปื้อน สารกัมมันตรังสี ในพื้นที่ใกล้เคียงหรือไม่ | จากการตรวจสอบปริมาณรังสีโดยรอบพื้นที่ ในรัศมีประมาณ 3 กม. ตรวจวัดได้อยู่ในระดับรังสีในธรรมชาติ โดยดำเนินการดังนี้ 1. ตรวจวัดระดับปริมาณรังสีโดยใช้เครื่องมือวัดทางรังสีและติดตั้งในรถยนต์ โดยตรวจวัดระดับปริมาณรังสีในพื้นที่ โรงงานที่เกิดเหตุ ผลการตรวจสอบพบว่า ระดับรังสีที่ตรวจวัดได้อยูในระดับรังสีในธรรมชาติ 2. ตรวจวัดระดับปริมาณรังสีโดยรอบพื้นที่โรงงานที่เกิดเหตุ ผลการตรวจสอบพบว่าระดับรังสีที่ตรวจวัดได้อยู ในระดับรังสีในธรรมชาติ 3. ตรวจวัดปริมาณรังสีในสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รอบบริเวณโรงงาน ในรัศมีระยะทางประมาณ 3 กม. 3.1) พื้นที่บริเวณหมู่บ้านโคกกระท้อน ม.10 ต.ลาดตะเคียน อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 3.2) พื้นที่บริเวณหมู่บ้านซ่ง ม.3 ต.หาดนางแก้ว อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 3.3) พื้นที่บริเวณบ้านหาดสูง ม.2 ต.หาดนางแก้ว อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 3.4) พื้นที่บริเวณ อบต.หาดนางแก้ว ต.หาดนางแก้ว อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุร | รายงานสถานการณ์และการปฏิบัติงานกรณีการปนเปื้อนวัสดุ กัมมันตรังสีซีเซียม-137 ในโรงงานหลอมโลหะ จังหวัดปราจีนบุรี ณ วันที่ 21 มี.ค. 2566 สำนักงานปรมนูเพื่อสันติ | |
6 | 4 | อันตรายที่เกิดจาก ซีเซียม 137 | อันตรายทางรังสีของวัสดุกัมมันตรังสีซีเซียม-137 การได้รับปริมาณรังสีที่แผ่ออกมาจากซีเซียม-137 เป็นป็ ระยะเวลาสั้น ๆ จะไม่ส่ง ผลให้เกิดอันตรายที่เห็นผลชัดเจนในทันทีแต่อย่างใดแต่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยง ที่สูงขึ้นในการเกิดโรคมะเร็งได้ ในกรณีหากได้รับปริมาณรังสีต่อเนื่องเป็นป็ ระยะ เวลานาน ๆ ก็อาจก่อให้เกิดอันตราย เช่น ผิวหนังแสบร้อนและมีผื่นแดงคล้าย น้ำ ร้อนลวกหรือโดนไฟไหม้ หรืออาจมีอาการคลื่นเหียนอาเจียนได้ ถ้าหากได้รับ ปริมาณรังสีที่สูงมากพอ ด้วยซีเซียม-137 มีลักษณะเป็นป็ ของแข็ง สภาพคล้ายผงเกลือ สามารถฟุ้งฟุ้ กระจายและเปื้อปื้ นได้ง่ายหากแตกออกจากแคปซูลที่ห่อหุ้มไว้ ดังนั้น ผู้ที่สัมผัสกับ ผงซีเซียม-137 นั้น อาจได้รับซีเซียม-137 เข้าไปในร่างกายผ่านทางผิวหนังที่มี บาดแผล หรือการหายใจ และรับประทานผงซีเซียม-137 เข้าไป เมื่อซีเซียม-137 เข้าไปในร่างกายจะเข้าไปสะสมอยู่ในเนื้อเยื่ออ่อน (SOFT TISSUE) ของอวัยวะ ต่าง ๆ และแผ่รังสีให้แก่อวัยวะเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง ของอวัยวะที่ซีเซียม-137 นั้นเข้าไปสะสมอย | ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุกัมมันตรังสี และไอโซโทปรังสีซีเซียม-137 (Cs-137) สำนักงานปรมนูเพื่อสันติ | https://www.oap.go.th/images/documents/information/news/2023/03/%E0%B8%8B% E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1-137_ Cs-137_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99% E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5/14-03-66/Cs-137.pdf |
7 | 5 | ซีเซียม 137 คือ อะไร | เป็นสารกัมมันตรังสี ที่มีลักษณะโลหะอ่อนมากสีทองเงิน เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้องแต่มันจะจับตัวกับ คลอไรด์กลายเป็นผงผลึก ปล่อยรังสีเบต้า และแกรมม่า ใช้ในโรงงาน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการแพทย์รักษามะเร็ง | ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง | |
8 | 6 | หากได้รับการสัมผัมผัสจะเป็นอันตรายหรือไม่ | ได้รับอันตรายมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของรังสี ชนิดของรีงสีที่ได้รับ | ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง | |
9 | 7 | อาการที่พบภายหลังการสัมผัสมีอะไรบ้าง | ไข้ คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ถ่ายเหลว ผิวหนังบริเวณที่โดนรังสี จะเกิดแผลไหม้พุพอง ในกรณีสัมผัสปริมาณมาก ส่งผลกระทบต่อระบบเลือด กดไขกระดูก ระบบประสาทชักเกร็ง และอาจเสียได้ | ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง | |
10 | 8 | ข้อปฏิบัติภายหลังการสัมผัส | ลดการปนเปื้อน โดยการล้างตาให้น้ำไหลผ่านจากหัวตาไปทางหางตาด้วยน้ำสะอาด ล้างมือ อาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนเสื้อผ้าทันทีถ้าสามารถทำได้ และควรเก็บเสื้อผ้าใส่ถุงปิดปากให้สนิท เพื่อตรวจสอบว่ามรการปนเปื้อนสารกัมตรังสีหรือไม่ | ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง | |
11 | 9 | สามารถป้องกันอย่างไรได้บ้าง | การป้องกันและปฏิบัติตน 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารกัมมันตรังสีหรือกล่องเหล็กต้องสงสัย 2. ถ้าอยู่ในที่เกิดเหตุให้ไปลงทะเบียนผู้สัมผัสสารกัมมันตรังสียังหน่วยงานที่กำหนด 3. รวบรวมสิ่งของหรือเสื้อผ้าที่คาดว่ามีการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีให้หน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบก่อนนำไปใช้ 4. ควรล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม 5. ติดตามข้อมูลสถานการณ์การเกิดเหตุ และปฏิบัติตามประกาศอย่างเคร่งครัด | ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง | |
12 | 10 | อาการแสดงมากน้อยแค่ไหนจึงต้องไปพบแพทย์ | อาการที่ควรไปพบแพทย์ คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลวมากเกินกว่า 2 ครั้ง มีไข้ หนาวสั่น ชักเกร็ง มีเลือดออกที่ใดที่หนึ่งภายในหนึ่งสัปดาห์หลังโดนรังสี หรือมีการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี | ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคไม่ติดต่อ | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | โรคลมแดด (Heat stroke) | ||||
4 | 1 | โรคลมแดด หรือฮีทสโตรก เกิดจากอะไร | โรคลมร้อน หรือฮีทสโตรก (Heat stroke) ซึ่งเป็นการเจ็บป่วยที่รุนแรงที่สุดที่เกิดจากความร้อน เนื่องจากร่างกายไม่สามารถปรับตัวให้เย็นลงได้ (ภาวะที่อุณหภูมิในร่างกายสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส) ส่งผลให้การทำงานของระบบอวัยวะต่าง ๆ ล้มเหลว และเป็นอันตรายถึงชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที | กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข | |
5 | 2 | กลุ่มเสี่ยงฮีทสโตรก มีใครบ้าง | เด็ก ผู้สูงอายุผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน ผู้ที่พักผ่อนน้อย ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์จัด และผู้ที่เป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ รวมถึงทหารที่เข้ารับการฝึก โดยปราศจากการเตรียมสภาพร่างการให้พร้อมในการเผชิญสภาพอากาศร้อน รวมถึงบรรดานักกีฬาสมัครเล่นและผู้ที่ต้องทำงานหรือกิจกรรมการแจ้ง | ||
6 | 3 | อาการของโรค และอันตรายของโรคเป็นอย่างไร | เมื่อยล้า อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หน้ามืด และต่อมา เมื่ออุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่รูขุมขนปิด ร่างกายหมดทางระบายความร้อน จึงทำให้ไม่มีเหงื่อไหล ซึ่งเป็นอาการสำคัญของฮีทสโตรก บางรายอาจถึงขั้นชักกระตุกและหมดสติ มีไข้สูง ตัวร้อนมาก ซึ่งส่งผลต่อระบบไหลเวียนโลหิตและระบบสมอง ถ้าไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและทันเวลา อาจทำให้เสียชีวิตได้ | ||
7 | 4 | เราจะสังเกตได้อย่างไร ว่าเป็นลมธรรมดา กับ เป็นโรคลมแดด | อาการของโรคลมร้อน มีดังนี้ อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ไม่มีเหงื่อออก หรือเหงื่อออกมากผิดปกติ ผิวหนังแดง ร้อน แห้ง ชีพจรเต้นเร็วและแรง สับสน กระวนกระวาย พูดไม่รู้เรื่อง ชัก ซึมลง หมดสติ | ||
8 | 5 | หากพบคนเป็นโรคลมแดด ต้องทำการช่วยเหลือเบื้องต้นยังไง | 1.นำตัวผู้ป่วยเข้ามาในที่ร่ม 2.ให้ผู้ป่วยนอนราบ ยกเท้าสูงทั้งสองข้าง คลายเสื้อผ้าให้หลวม 3.ลดอุณหภูมิร่างกายของผู้ป่วยให้ลดต่ำลงโดยเร็วที่สุด เช่น ใช้ผ้าชุบน้ำเย็นหรือน้ำแข็งเช็ดตามตัว ซอกคอ รักแร้ และศีรษะ ร่วมกับการใช้พัดลมเป่าระบายความร้อน 4.ไม่ควรใช้ผ้าเปียกคลุมตัวเพราะจะขัดขวางการระเหยของน้ำออกจากร่างกาย 5.หากยังไม่ฟื้น ต้องรีบนำตัวส่งโรงพยาบาล | ||
9 | หลอดเลือดในสมอง | https://shorturl-ddc.moph.go.th/AtXpg | |||
10 | 6 | โรคคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต คืออะไร | ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้เกิดอาการชาที่ใบหน้า ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด แขน ขา ข้างใดข้างหนึ่ง อ่อนแอ เคลื่อนไหวไม่ได้หรือเคลื่อนไหวลำบากอย่างทันทีทันใด เป็นนาทีหรือเป็นชั่วโมง แบ่งเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการเกิดคือโรคหลอดเลือดสมองตีบตันและโรคหลอดเลือดสมองแตก | ||
11 | 7 | วิธีในการสังเกตว่ามีอาการของโรคหลอดเลือดสมองหรือไม่ | ให้สังเกตอาการหรือสัญญาณเตือน ' F.A.S.T ' ดังนี้ F (Face) ใบหน้าอ่อนแรง เวลายิ้มมุมปากข้างหนึ่งจะตก, A (Arm) แขนหรือขาอ่อนแรง ยกไม่ขึ้นหนึ่งข้าง, S (Speech) พูดลำบาก ไม่ชัด มีปัญหาในการพูด และ T (Time) หากมีอาการข้างต้นให้รีบไปโรงพยาบาลทันที ภายใน 4.30 ชั่วโมง (รวมถึงได้รับการรักษา) เพื่อจะได้รับการรักษาและ สามารถฟื้นฟูให้กลับมาได้เป็นปกติมากที่สุด หรือโทรที่ สายด่วน 1669 | ||
12 | โรคตวามดันโลหิตสูง | ||||
13 | 8 | โรคความดันโลหิตสูงมีวิธีการป้องกันอย่างไร | 1.วิธีป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้หลัก 3อ. 2ส. ดังนี้ 1.รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ (ไม่หวานจัด) 2.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอวันละ 30 นาที 3.ทำจิตใจให้สงบเพื่อจัดการความเครียด 4.ไม่สูบบุหรี่ 5.ไม่ดื่มสุรา | ||
14 | 9 | วิธีการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง | 1. ควรมีการเตรียมตัวก่อนการวัด ไม่ดื่มชา-กาแฟ และไม่สูบบุหรี่ก่อนทำการวัด 30 นาที 2.นั่งบนเก้าอี้หลังพิงพนักและหลังตรง 3.งดการพูดคุยระหว่างวัดความดันโลหิต 4.วางแขนไว้บนโต๊ะให้ปลอกแขน (Arm cuff) อยู่ระดับเดียวกับหัวใจ 5.ไม่เกร็งแขนและไม่กำมือขณะวัดความดันโลหิต 6.เท้าทั้งสองวางราบกับพื้นไม่ไขว่ห้าง ที่มา | ||
15 | โรคเบาหวาน | ||||
16 | 10 | วิธีป้องกันโรคบาหวาน ต้องทำอย่างไรบ้าง | เลือกรับประทานอาหารให้หลากหลาย เน้นผัก ผลไม้ และธัญพืชต่างๆ ลดอาหารประเภทหวาน มัน เค็ม 2.ควรออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ อย่างน้อย 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง 3.ทำจิตใจให้แจ่มใส นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ 7-8 ชั่วโมงต่อวัน 4.ไม่สูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 5.ตรวจสุขภาพประจำปี หากอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป ควรตรวจสุขภาพทุกปี |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคและภัยจากอุบัติเหตุ | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | อุบัติเหตุจากการจมน้ำ | ||||
4 | 1 | มีแนวทาง เพื่อให้สถานศึกษา หรือ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ช่วยกันเฝ้าระวังบุตรหลาน อย่างไรบ้าง | สถานศึกษา •ควรมีการจัดการแหล่งน้ำภายในโรงเรียนเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น มีรั้วล้อมรอบ หรือมีอุปกรณ์ ช่วยคนตกน้ำไว้บริเวณแหลง่น้ำ •ควรจัดอบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (ความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ) และ CPR ให้แก่เด็ก หรือกล่าวได้ว่า เด็กอายุ 6 ปีขึ้นไปต้องมีทักษะการว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด และเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไปสามารถทำ CPR ได้ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง •ควรสอนให้เด็กรู้ถึงอันตรายจากการจมน้ำ •ไม่อนุญาตให้เด็กไปเล่นน้ำกันเองตามลำพัง •ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่กันเองตามลำพังกับพี่ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ สำหรับชุมชน ควรมีการประกาศเสียตามสายเพื่อเตือนภัย และย้ำเตือนให้คนในชุมชนร่วมกันเฝ้าระวัง หากเห็นเด็กเล่นน้ำให้ตักเตือน ให้ขึ้นจากน้ำ และแจ้งผู้ปกครอง | กองป้องกันการบาดเจ็บ | |
5 | 2 | คำแนะนำเพื่อความปลอดภัยจากการจมน้ำ หรือแหล่งน้ำต่างๆ | ช่วงนี้เป็นช่วงปิดเทอม ผู้ปกครองมักจะพาเด็กไปท่องเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวทางน้ำต่างๆ ดังนั้นเพื่อความปลอดภัย 1) ผู้ปกครองต้องดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ปล่อยให้เด็กคลาดสายตา 2) สวมเสื้อชูชีพทุกครั้งที่ต้องเดินทาง หรือทำกิจกรรมทางน้ำ 3) เล่นน้ำในบริเวณที่จัดไว้ให้ หรือมีเจ้าหน้าที่ดูแล 4) ไม่เล่นน้ำในบริเวณที่มีธงแดง หรือช่วงที่มีคลื่นลมแรง หรือบริเวณที่มีคลื่นทะเลดูด (rip current) หากจำเป็นต้องพาเด็กไปแหล่งน้ำเพื่อประกอบอาชีพ (เช่น หาปลา เก็บผัก) จะต้องให้เด็กสวมเสื้อชูชีพตลอดเวลา หรือใช้อุปกรณ์ช่วยลอยน้ำได้อย่างง่าย เช่น ถังแกลลอนพลาสติกผูกเชือก และสะพานแล่งไว้กับตัวตลอดเวลา | ||
6 | 3 | หากพบเห็นคนกำลังจมน้ำ ควรทำอย่างไร | ไม่ควรกระโดดลงน้ำไปช่วย แต่ให้ช่วยด้วยวิธี “ตะโกน โยน ยื่น” ตะโกน เรียกให้คนรอบข้าง เข้ามาช่วยเหลือ และโทร 1669 โยน อุปกรณ์ที่ลอยน้ำได้ เพื่อช่วยเหลือคนตกน้ำ เช่น ถังแกลลอนพลาสติก ขวดน้ำพลาสติก ห่วงชูชีพ อุปกรณ์ที่ ผูกเชือก ยื่น ไม้ เสื้อ กางเกง เข็มขัด เพื่อช่วยเหลือคนตกน้ำ แต่หากจำเป็นต้องลงน้ำไปช่วยเหลือ อย่าลงไปตัวเปล่า แต่ให้ลงไปพร้อมกับอุปกรณ์ที่ลอยน้ำได้เสมอ เพื่อใช้ในการยื่นให้กับคนที่เราเข้าไปช่วยได้เกาะ แล้วจึงลากเข้าฝั่ง หรือหากเราหมดแรงขณะที่เข้าไปช่วย ก็สามารถใช้ช่วยพยุงตัวเองกลับเข้าฝั่งได้ | ||
7 | อุบเหตุทางถนนช่วงสงกรานต์ | ||||
8 | 4 | สถิติการเกิดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ จะเป็นช่วง 7 วัน อันตรายของการเดินทาง ที่ผ่านมามีข้อมูลอย่างไรบ้าง | สถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี2565 เกิดอุบัติเหตุรวม 1,917 ครั้ง ผู้บาดเจ็บ 1,869 คน ผู้เสียชีวิต 278 ราย จังหวัดที่เกิดอุบัติเหตุสะสมสูงสุด ได้แก่ เชียงราย (66 ครั้ง) จังหวัดที่มีผู้บาดเจ็บสะสมสูงสุด ได้แก่ เชียงใหม่ (63 คน) จังหวัดที่มีผู้เสียชีวิตสะสมสูงสุด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (13 ราย) จากข้อมูลสถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2565 พบว่า จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนและจำนวน ผู้บาดเจ็บลดลงจากปีที่ผ่านมา แต่มีจำนวนผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น โดยสถิติผู้เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุมีอัตราที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการขับรถด้วยความเร็วสูง ทำให้เกิดการบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิต ซึ่งในช่วงสงกรานต์ปีนี้จำนวนครั้ง การเกิดอุบัติเหตุ ผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลค่าเฉลี่ยสถิติอุบัติเหตุทางถนนย้อนหลัง 3 ปี สำหรับสาเหตุหลักของอุบัติเหตุทางถนนยังคงเกิดจากการขับรถเร็วและดื่มแล้วขับ รวมถึงจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะ ที่มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนสูงสุด | ||
9 | 5 | แนวทางการดำเนินงานของกรมควบคุมโรคในการลดอุบัติเหตุ ป้องกันการบาดเจ็บทางท้องถนน และมีการบูรณาการร่วม กับหน่วยงานใดบ้าง | แนวทางการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนของกระทรวงสาธารณสุข มีการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปภาพรวม ของสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในส่วนภูมิภาค โดยมีการบูรณาการร่วมกับ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์อำนวยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน และภาคเครือข่าย | ||
10 | 6 | คำแนะนำเพื่อให้การขับขี่ เดินทางปลอดภัย ควรเตรียมตัว เตรียมยานพาหนะอย่างไร | การเตรียมคนขับ ซึ่งเป็นคนที่ต้องดูแลชีวิตของคนบนรถ นอกจากตัวเองและผู้โดยสารบนรถ อาจส่งผลไปยังผู้ร่วมทางด้วย โดยผู้ขับควรวางแผนการเดินทาง และศึกษาเส้นทางเพื่อให้ง่ายและรวดเร็วขึ้น เตรียมความพร้อมสภาพร่างกาย พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดหรือทานยาที่ทำให้ง่วง เช่น ยาลดน้ำมูก ยาภูมิแพ้ ยาแก้ไอ เป็นต้น และหาข้อมูลจุดบริการของหน่วยงานที่อำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในระหว่างเส้นทางของแต่ละจังหวัดที่เดินทาง การเตรียมรถ ขอให้ประชาชนตรวจสอบสภาพรถ ตรวจเช็คลมยาง ไฟส่องสว่างและไฟเลี้ยว ตรวจระบบเบรก ให้มีความสมบูรณ์และใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ ตรวจสอบน้ำกลั่นในหม้อแบตเตอรี่ เติมน้ำมันเครื่องให้พร้อม และควรมีเครื่องมือประจำรถและอะไหล่ต่างๆ สำรองติดรถไว้ หากเป็นรถเช่าควรเลือกรถที่จดทะเบียนถูกต้อง มีการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เลือกรถให้เหมาะสมกับการเดินทาง ขับรถด้วยความระมัดระวัง ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรและกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเคร่งครัด | ||
11 | 7 | ระหว่างขับขี่ควรปฏิบัติตัวอย่างไร | วิธีปฏิบัติขับขี่ให้ปลอดภัย ดังนี้ 1.งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดขณะขับรถ เพื่อความปลอดภัยของตนเองและเพื่อนร่วมทาง 2.ไม่ขับรถเร็วเกินกว่ากฏหมายกำหนด 3.ก่อนขับรถทางไกล ควรพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง และง่วงไม่ขับ 4.คาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถและสวมหมวกกันน็อคเมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ เพื่อความปลอดภัยตลอดการเดินทาง 5.งดการใช้โทรศัพท์มือถือขณะขับขี่ 6.ขับขี่ยานพาหนะด้วยความระมัดระวัง ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด 7.ตรวจสอบสภาพรถก่อนออกเดินทาง |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคติดต่อทั่วไป | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | โรคอุจจาระร่วง | ||||
4 | 1 | ในช่วงหน้าร้อนแบบนี้ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษคือโรคอะไร | โรคอาหารเป็นพิษและโรคอุจจาระร่วง | กองโรคติดต่อทั่วไป | |
5 | 2 | ด้อย่างไรว่าตนเองป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจาก อาหารและน้ำ | 1. ถ่ายเหลวมากกว่า 3 ครั้งต่อวัน หรือถ่ายเป็นน้ำจำนวนมาก 2. ถ่ายเป็นมูกเลือด 3. อาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผู้ป่วยแต่ละรายอาการจะแตกต่างกันไป บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เป็นอาการเด่น หรือบางรายอาจมีอาการถ่ายอุจจาระผิดปกติเป็นอาการเด่น | ||
6 | 3 | หากมีอาการป่วยจากโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ต้องทำอย่างไร | องกันการเกิดภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ โดยดื่มสารละลายเกลือแร่ หรือที่เรารู้จักทั่วไป คือ ORS โดยจิบที่ละน้อยๆ แต่บ่อย ครั้ง เพื่อชดเชยน้ำและเกลือแร่ที่สูญเสียไปจากอาการ อาเจียนและท้องเสีย ระหว่างนี้ควรรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม | ||
7 | 4 | มีข้อควรระวัง ในการดื่มเกลือแร่และการใช้ยา อย่างไรบ้าง | ห้ามใช้เกลือแร่สำหรับออกกำลังกาย (ORT) เพราะมีปริมาณน้ำตาลและเกลือแร่ 1. บางชนิดที่สูง ทำให้ร่างกายดึงน้ำเข้ามาในทางเดินอาหารส่งผลให้ลำไส้บีบตัวมากขึ้น กระตุ้นการถ่ายเหลวมากขึ้น 2. ไม่ควรกินยาหยุดถ่าย เพราะจะทำให้ของเสียหรือเชื้อโรคจะยังคงสะสมอยู่ในลำไส้ และไม่ควรซื้อยาฆ่าเชื้อมากินเองเพราะจะทำให้เชื่อดื้อยาได้ | ||
8 | 5 | ข้ออันตรายของโรคติดต่อที่เกิดจากอาหารและน้ำ | การเกิดภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ จากการอาเจียนและถ่ายอุจจาระผิดปกติเป็นจำนวนมาก โดยสังเกตได้จาก อาการปากแห้ง ผิวหนังเหี่ยว ไม่ยืดหยุ่น กระหายน้ำ ปัสสาวะมีสีเข้ม ปัสสาวะลดลง หรือปัสสาวะไม่ออก ในเด็กเล็กอาจมีกระหม่อมบุ๋ม ตาลึกโหล หายใจถี่หอบ หากมีอาการเหล่านี้ควรรีบไปพบแพทย์ทันที โดยเฉพาะในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้มีโรคประจำตัว เพื่อไม่ให้เกิดภาวะช็อกจนนำไปสู่การเสียชีวิตได้ | ||
9 | 6 | คำแนะนำเพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรค | ควรป้องกันตนเองอย่างไรให้ห่างไกลจากโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ แนะยึดหลัก “สุก ร้อน สะอาด” ป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ สุก : ควรกินอาหารที่ปรุงสุกใหม่ ไม่กินอาหารดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ โดยเฉพาะในฤดูร้อนแบบนี้ อาหารบูดเสียได้ง่ายควรเก็บอาหารปรุงสุกไว้ในอุณหภูมิที่เหมาะสม มีภาชนะปกปิด เพื่อป้องกันแมลง สัตว์นำโรค ร้อน : อาหารปรุงสุกที่เก็บไว้นานเกิน 2 ชั่วโมง ต้องนำมาอุ่นร้อนให้ทั่วถึงก่อนรับประทานทุกครั้ง สะอาด : - เลือกซื้อวัตถุดิบที่สด สะอาด มีคุณภาพ และล้างให้สะอาดก่อนนำมาปรุงประกอบอาหาร - ดื่มน้ำต้มสุก หรือน้ำดื่มบรรจุขวด น้ำแข็งที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ที่เรารู้จักกันโดยทั่วไป คือ เครื่องหมาย อย. ที่สำคัญคือต้องไม่แช่สิ่งของอื่นปนกับน้ำแข็งบริโภค ที่เรามักเห็นกันบ่อยๆ คือการแช่ขวดน้ำหรืออาหารในน้ำแข็งบริโภคซึ่งไม่ปลอดภัย เพราะเกิดการปนเปื้อนเชื้อก่อโรคได้ - ล้างมือด้วยสบู่และน้ำให้สะอาดทุกครั้ง ก่อนปรุงประกอบอาหาร ก่อนชงนมหรือกินอาหาร หลังเข้าห้องน้ำ หลังสัมผัสสิ่งสกปรกหรือสัตว์เลี้ยง | ||
10 | โรคไวรัสตับอักเสบบี | ||||
11 | 7 | โรคไวรัสตับอักเสบบี สามารถติดต่อทางไหนได้บ้าง | ช่่องทางการติดเชื้อ คือ ทางเลือด เพศสัมพันธ์ และการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่อันตรายหากได้รับเชื้อแล้วไม่เข้าสู่กระบวนการรักษา มีโอกาสเป็นตับอักเสบเรื้อรัง ตับวาย ตับแข็ง และมะเร็งตับได้ | https://shorturl-ddc. moph.go.th/aRAnv | |
12 | 8 | โรคไวรัสตับอักเสบบีเป็นแล้วหายหรือไม่ | สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี และรักษาได้ด้วยการรับประทานยา ต้านไวรัส เพื่อควบคุมปริมาณไวรัสในร่างกาย ลดภาวะการเกิดพังผืดของตับ ชะลอการเกิดตับแข็ง และลดการเกิดมะเร็งตับ แต่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคทางพันธุกรรม | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | ดาวน์ซินโดรม (down syndrome) | ||||
4 | 1 | อยากทราบลักษณะทางร่างกาย ของเด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง | มีโครงสร้างทางใบหน้าที่โดดเด่นชัดเจน เช่น หน้าแบน หัวเล็ก หูเล็ก หูบิดผิดรูปร่าง ปากเล็ก ตาเรียว หางตาเฉียงขึ้น มีจุดสีขาวอยู่ที่ตาดำ คอสั้น แขนขาสั้น ตัวเตี้ยกว่า คนในวัยเดียวกันเมื่อโตขึ้น -นิ้วสั้น มือสั้น เท้าสั้น เส้นลายมือตัดเป็นเส้นเดียว -ลิ้นจุกอยู่ที่ปาก -ตัวอ่อนปวกเปียก กล้ามเนื้อหย่อน ข้อต่อหลวม -เชาวน์ปัญญาต่ำ ทำให้มีปัญหาด้านพัฒนาการ | https://shorturl-ddc. moph.go.th/sBPyu |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคติดต่อระหว่างประเทศ | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | โรคไข้เหลือง | ||||
4 | 1 | หากต้องการฉีดวัคซีนไข้เหลืองควรฉีดวัคซีนก่อนออกเดินทางกี่วัน | กฎอนามัยระหว่างประเทศ (WHO IHR) แนะนำให้ผู้จะเดินทางไปประเทศในแถบแอฟริกากลาง และอเมริกาใต้ต้องรับวัคซีนไข้เหลืองก่อนเดินทางอย่างน้อย 10 วัน เนื่องจากประเทศดังกล่าว เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดสูง สำหรับการรับเข็มกระตุ้นนั้นจะทำได้ทุก 10 ปี | ||
5 | 2 | การป้องกันและการรักษาอย่างไร | การฉีดวัคซีนเป็นมาตรการเดียวที่สำคัญที่สุดในการป้องกันไข้เหลือง ในพื้นที่ที่มีความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ จะต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดและมีการควบคุมโรคที่รวดเร็ว มาตรการกำจัดยุงยังจำเป็นเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ ไวรัสจนกว่าจะมีการฉีด วัคซีนได้ครอบคลุม -การรักษา ไม่มีการรักษาที่จำเพาะสำหรับโรคไข้เหลือง เน้นการรักษาตามอาการด้วยการให้ยาลดไข้ และสารน้ำทางปาก เพื่อลดไข้และทดแทนภาวะขาดน้ำ | ||
6 | 3 | โรคไข้เหลืองเกิดจากเชื้อไวรัสอะไร | ไข้เหลือง (Yellow Fever) คือโรคติดต่อรุนแรงที่เกิดจากโรคไวรัสไข้เหลือง ซึ่งพบได้ในบริเวณของทวีปแอฟริกา และอเมริกาใต้โดยแพร่กระจายได้จากยุงที่เป็นพาหะนำเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสไข้เหลืองนี้ไม่สามารถแพร่จากคนสู่คนได้ ผู้ป่วยโรคไข้เหลืองมักจะมีอาการดังต่อไปนี้ คือ ไข้, ปวดเมื่อยตัว, ตัวตาเหลือง, ภาวะเลือดออกง่าย, และอาจจะมีภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งไตวาย หรือตับวาย ในรายที่เป็นรุนแรงมีโอกาสเสียชีวิตได้ถึง 20-50% | ||
7 | 4 | หากมีชาวต่างชาติที่เดินทางมาจากประเทศที่มี การระบาดของโรคไข้เหลือง จำเป็นต้องมีการฉีดวัคซีนก่อนเดินทางออกจาก ประเทศไทยหรือก่อนเข้าประเทศไทยหรือไม่ | ได้รับวัคซีนก่อนเข้าประเทศไทย | ||
8 | 5 | สามารถฉีดวัคซีนไข้เหลือง ในผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปได้หรือไม่ | โรคหรือภาวะบางอย่างต่อไปนี้เป็นข้อห้าม/ข้อควรระวังในการฉีดวัคซีน - เป็นเด็กที่อายุน้อยกว่า 9 เดือน - เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปี - กำลังตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร - แพ้วัคซีนหรือส่วนประกอบของวัคซีน - เป็นโรคที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน เช่น การติดเชื้อ HIV หรือ AIDS - เป็นโรคมะเร็ง - กินยาที่กดภูมิคุ้มกัน หรือการได้รับยาเคมีบำบัด/ฉายแสง - เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับต่อมไทมัส (Thymus) หรือโรค MG (Myasthenia Gravia) หรือ Thymoma | ||
9 | 6 | กรณีต้องการทราบรายชื่อหน่วยงานที่ให้บริการ ฉีดวัคซีนไข้เหลืองในประเทศไทย มีที่ใดบ้าง | สามารถเข้าดูหน่วยบริการฉีดวัคซีนไข้เหลืองในประเทศไทยได้ทาง เว็ปไขต์ | ||
10 | 7 | ข้อกำหนดของผู้ที่ผู้ที่เดินทางมาจากประเทศ เขตติดโรคไข้เหลือง | กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ให้ผู้เดินทางที่มาจากประเทศที่เป็นเขต ติดโรคไข้เหลือง ต้องปฏิบัติดังนี้ผู้ที่เดินทางมาจากประเทศเขตติดโรคไข้เหลือง จะต้องมีใบสำคัญรับรองการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคไข้เหลือง ใบสำคัญรับรองนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้ได้ภายหลังการฉีดวัคซีนแล้ว 10 วัน และจะต้องมีอายุไม่เกิน 10 ปี ในรายที่มีการฉีดวัคซีนซ้ำภายในเวลา 10 ปี นับจากการฉีดวัคซีนครั้งแรกจะเริ่มมีผลใช้ได้ นับตั้งแต่วันที่ฉีดวัคซีน ถ้าผู้เดินทางผู้ใดไม่มีใบสำคัญรับรองการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลืองดังกล่าว ผู้นั้นอาจต้องได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลือง และให้อยู่ในระหว่างกักกันตัว(Quarantine) มีกำหนด 6 วัน | ||
11 | 8 | คนต่างด้าวที่เดินทางมาจากประเทศเขตติดโรคไข้เหลืองจะต้องแสดงเอกสาร อะไรบ้าง | “เอกสารระหว่างประเทศรับรองการฉีดวัคซีนป้องกันไข้เหลือง” (International Health Certificate on Yellow Fever Vaccination) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง เมื่อเดินทางถึงประเทศไทยจึงจะได้รับอนุญาตให้เข้าประเทศได้ (ระเบียบปฏิบัตินี้ใช้บังคับกับผู้ถือหนังสือเดิน ทางทุกประเภทรวมทั้งผู้ถือหนังสือเดินทางทูตและราชการด้วย) | ||
12 | โรคกาฬหลังแอ่น | ||||
13 | 9 | โรคไข้กาฬหลังแอ่นเกิดจากอะไร | โรคไข้กาฬหลังแอ่น เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง โรคไข้กาฬหลังแอ่นเกิดในบุคคลทุกวัย พบมากทั้งในช่วงอายุ 1 เดือน- 15 ปี(25-40%) และมากกว่า 15 ปี (10-35%) โรคนี้เกิดทั่วโลกมีสาเหตุจากเชื้อ Neisseria meningitidis เชื้อนี้พบในลำคอของคนปกติ ประมาณร้อยละ 5 โดยไม่ทำให้เกิดโรค ผู้ติดเชื้อส่วนน้อยเท่านั้นที่จะเกิดอาการโรค พบได้ประปรายตลอดทั้งปี และมีการระบาด ในบางพื้นที่เป็นครั้งคราว ระยะฟักตัวประมาณ 2-10 วัน โดยเฉลี่ย 3-4 วัน | ||
14 | 10 | สามารถติดต่ออย่างไรบ้าง | เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง ผ่านระบบทางเดินหายใจ เชื้อนี้ทำให้เกิดโรคได้ 3 แบบ แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์ ทำให้เกิดการอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย มักไม่มีอาการ ส่วนใหญ่พบกลุ่มนี้มาก และมักเป็นต้นตอของการแพร่เชื้อต่อไปได้อีก แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้าในกระแสเลือด โดยเลือดจะมาหล่อเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจำนวนมาก ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่รุนแรงจะมีเลือดออกในลำไส้และต่อมหมวกไต แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทำให้เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ | ||
15 | 11 | อาการและอาการแสดง | ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด(pink macules)ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อก อย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญ 2 อย่าง คือ 1.Meningococcemia -Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็นอาการนำมาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง นอกจากนี้ อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้ำขึ้นตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำจนเป็นสะเก็ดสีดำ บางทีเป็นตุ่มน้ำมีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลัง ไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง -Chronic Meningococcemia พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง อาจเป็น ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ -Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน อาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้ ในเวลาไม่นาน หลังจากเริ่มมีอาการ ส่วนมากเริ่มมีอาการไข้สูงทันทีอ่อนเพลียมาก แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย มักจะไม่มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เพราะเป็นระยะสั้นๆ แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว 2.Meningitis มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด อาจพบอาการที่แสดงถึง การระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้ำเลือดออกตามผิวหนัง | ||
16 | 12 | หากเดินทางไปประกอบพิธีฮัจน์จะสามารถ ฉีดวัคซีนไข้กาฬหลังแอ่นได้ที่ใด | สถานบริการของหน่วยงานรัฐ ดังนี้ 1.สถาบันบำราศนราดูร 2.สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 3.รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล 4.รพ.ศิริราช 5.สถานเสาวภา สภากาชาดไทย 6.คลินิกเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ 7.ศูนย์พัทยารักษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ชลบุรี 8.ศูนย์หาดใหญ่นวรัตน์ จ.สงขลา 9.ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ท่าเรือกรุงเทพ 10.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าเรือแหลมฉบัง จ.ชลบุรี 11.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าเรือมาบตาพุด จ.ระยอง 12.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 13.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าอากาศยานดอนเมือง 14.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ 15.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 16.ด่านควบคุมโรคฯ ท่าอากาศยานภูเก็ต 17.ด่านควบคุมโรคฯ พรมแดนสะเดา จ.สงขลา และ 18.ด่านควบคุมโรคฯ พรมแดนสุไหงโกลก จ.นราธิวาส ซึ่งขณะนี้ได้มีการจัดเตรียมวัคซีนไว้ให้บริการอย่างเพียงพอแก่ผู้เดินทางไปแสวงบุญที่ได้ขึ้นทะเบียนกับกรมการศาสนาไว้แล้ว สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร. 1422 | ||
17 | 13 | สามารป้องกันได้อย่างไร | หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากปากหรือจมูกของผู้ป่วยหรือพาหะนำโรค หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด เช่น โรงภาพยนต์ สถานบันเทิง เป็นต้น การฉีดวัคซีนป้องกัน ไม่จำเป็น แต่ควรฉีดในภาวะต่อไปนี้ - มีการระบาดจาก serogroup ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(serogroupA,C,Y และW 135) - ผู้ที่จะเดินทางไปประเทศที่มีโรคนี้เป็นโรคประจำถิ่น เช่น ประเทศในทวีปแอฟริกา หรือประเทศในตะวันออกกลาง เป็นต้น - บุคคลที่ปฏิบัติงานประจำในห้องปฏิบัติการที่อาจมีการฟุ้งกระจายของเชื้อ Neisseria meningitidis ที่อยู่ในรูปของสารละลาย | ||
18 | 14 | ไข้กาฬหลังเเอ่นฉีดได้ตั้งแต่อายุเท่าใด | บุคคลที่แนะนำให้ฉีดวัคซีน ได้แก่ ผู้ที่ถูกตัดม้าม หรือ ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคบกพร่องชนิดที่เรียกว่า Complement component deficiency เพราะคนเหล่านี้เมื่อติดเชื้อไข้กาฬหลังแอ่นจะมีโอกาสเป็นแบบติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด ชนิดที่รุนแรงได้มากกว่าคนปกติทั่ว ไป สำหรับกรณีอื่นๆได้แก่ ผู้ที่ทำงานในห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น ผู้ที่จะเดินทางไปยังประเทศในทวีปแอฟริกา บริเวณที่มีการระบาดของเชื้อไข้กาฬหลังแอ่นเป็นประจำ ซึ่งคือประเทศในแถบที่เรียกว่า Sub-Saharan Africa ดังได้กล่าวแล้ว หรือเมื่อจะต้องเดิน ทางไปทำพิธีฮัจจ์ ที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบียน สำหรับในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา แนะนำให้ฉีดในวัยรุ่นอายุตั้งแต่ 11-18 ปี และในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 19-21 ปีที่จะต้องเข้าเรียนในวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย โดยการฉีดวัคซีนกระตุ้นจะทำทุกๆ 5 ปี ส่วนบุคคลในวัยอื่นๆ ตั้งแต่อายุ 2 ปี ถึง 55 ปี สามารถที่จะฉีดวัค ซีนได้ถ้าต้องการ ส่วนการฉีดในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคจะเกิดขึ้นเป็นระยะสั้นๆเท่านั้น จึงไม่แนะนำให้ฉีดถ้าไม่มีการระบาดของโรค สำหรับในประเทศไทยไม่ได้แนะนำให้บุคคลทั่วไปฉีดวัคซีน เนื่องจากพบผู้ป่วยเพียงประปราย และไม่ได้มีการระบาดเกิดขึ้น เป็นช่วงๆเหมือนในประเทศอื่นๆ ควรพบแพทย์เมื่อไหร่? เมื่อมีอาการเหล่านี้ควรรีบพบแพทย์เสมอ คือ เมื่อมีไข้ และมีผื่นที่เป็นจุดเลือดออกที่ผิวหนัง เมื่อมีคนในบ้าน ป่วยเป็นโรคไข้กาฬหลังแอ่น หรือมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในสถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน มหาวิทยาลัย หอพัก ค่ายต่างๆ ชุมชนแออัด เป็นต้น |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 ข้อมูลวัคซีน | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | วัคซีนโรต้า | ||||
4 | 1 | วัคซีนโรต้าคือวัคซีนชนิดใด และฉีดในกลุ่มเป้าหมายใด | วัคซีนโรต้าคือ วัคซีนป้องกันโรต้าไวรัสซึ่งก่อให้เกิดโรคท้องร่วงอย่างรุนแรงในทารกและเด็กเล็ก ช่วยลดความรุนแรงของโรคได้กลุ่มเป้าหมายในการให้บริการวัคซีนโรต้า ได้แก ่ เด็กอายุ 2 และ 4 เดือน สำหรับ วัคซีนชนิดหยอด 2 ครั้ง และเด็กอายุ 2,4 และ 6 เดือนสำหรับวัคซีนชนิดหยอด 3 ครั้ง ในแต่ละรอบ ของการให้บริการ | ||
5 | 2 | ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง มีอะไรบ้าง | ข้อห้ามใช้: 1. ห้ามให้วัคซีนโรต้าในเด็กที่มีอายุเกินกว่าที่กำหนด (โด๊สแรกห้ามอายุเกิน 15 สัปดาห์ โด๊สสุดท้ายห้ามอายุเกิน 32 สัปดาห์) 2. ห้ามให้ในเด็กที่แสดงอาการแพ้ยาหลังได้รับวัคซีนโรต้าในครั้งก่อน หรือแพ้ส่วนประกอบ ตัวใดตัวหนึ่งของ วัคซีน 3. ห้ามให้ในเด็กที่มีประวัติเคยเป็นโรคลำไส้กลืนกัน (Intussusception) 4. ห้ามให้ในเด็กที่เป็นโรคระบบทางเดินอาหารผิดปกติตั้งแต่กำเนิดที่ยังไม่ได้รับการรักษา เช่น Meckel’s diverticulum ซึ่งมีแนวโน้มที่อาจก่อให้เกิดโรคลำไส้กลืนกัน 5. ห้ามให้ในเด็กที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิด severe combined immunodeficiency (SCID) syndrome | ||
6 | 3 | ถ้าเด็กทารกบ้วนวัคซีนโรต้าออกมา ต้องหยอดวัคซีนโรต้าซ้ าในวันนั้นหรือไม่ | การให้วัคซีนโรต้า พบการบ้วนวัคซีนน้อยมาก และเนื่องจากยังไม่มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของการให้วัคซีนในขนาดที่มากกว่าปกติดังนั้น หากทารกอาเจียนหรือบ้วนวัคซีน โรต้าออกมา จึงไม่แนะน าให้หยอดวัคซีนโรต้าเพิ่มอีกในวันนั้น และให้นับการให้วัคซีนครั้งนี้แล้วติดตาม หยอดวัคซีนโรต้าครั้งถัดไปตามปกติ | กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค แนวทางการให้วัคซีนโรต้าในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อมูลสำหรับตอบคำถามประชาชน ผ่านสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 โรค : โรคติดเชื้อไวรัส | ||||
2 | ลำดับ | คำถาม | คำตอบ | แหล่งสืบค้น/แหล่งอ้างอิงข้อมูล | หมายเหตุ |
3 | มะเร็งปากมดลูก | ||||
4 | 1 | ผู้หญิงควรได้รับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกเมื่อใด | 1. ผู้หญิงที่ได้รับวัคซีนเข็มแรกเมื่ออายุระหว่าง 9-14 ปี (ก่อนอายุ 15 ปีบริบูรณ์) ฉีด 1 โด๊ส (0.5 มล.) เข้ากล้าม จํานวน 2 ครั้ง โดยเข็มที่สองห่างจากเข็มแรก 6 เดือน 2. หญิงที่ได้รับวัคซีนเข็มแรกเมื่อมีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ฉีด 1 โด๊ส (0.5 มล.) เข้ากล้าม จํานวน 3 ครั้ง โดยเข็มที่สองห่างจากเข็มแรก 1-2.5 เดือน และเข็มที่สามห่างจากเข็มแรก 6 เดือน | ||
5 | 2 | เด็กใช้สิทธิบัตรทองในการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกฟรีหรือไม่ | เด็กใช้สิทธิการรักษาบัตรทองสามารถเข้ารับการฉีดได้โดยไม่เสียค่าบริการ - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โทร 1330 | ||
6 | 3 | หากไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกตามกำหนดที่รัฐจัดสรรให้ ต้องทำอย่างไร และจะได้ฉีดอีกครั้งเมื่อใด | แนะนำให้แจ้งที่สาธารณสุขเพื่อที่สาธารณสุขจะทำการสำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้ที่ตกค้างอีกครั้ง หรือติดต่อสอบถามได้ที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โทร 1330 ที่มา สำนักงานกองโรคติดต่อทั่วไป |