ABCDEFGH
1
ตัวชี้วัดเป้าหมาย
ปี2566
ผลการดำเนินงานผู้รับผิดชอบ
2
256425652566
ไตรมาส 1
2566
ไตรมาส 2
3
1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคนไม่เกิน 17 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน40.229.170.70SP.สาขาสูตินรีเวชกรรม
4
2) ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 8673.8186.2186.2891.28SP.สาขากุมารเวชกรรม
เวชกรรมสังคม
5
3) เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 103
ตัวชี้วัด Proxy : ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการ ล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I หรือเครื่องมือ มาตรฐานอื่น จนมีพัฒนาการสมวัย
ร้อยละ 35SP.สาขากุมารเวชกรรม
SP.สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
6
4) อัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิง อายุ 15-19 ปี 1,000 คนไม่เกิน 2322.7319.314.7314.24SP.สาขาสูตินรีเวชกรรม
เวชกรรมสังคม
7
5) ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Planร้อยละ 95100%100%100%100%เวชกรรมสังคม
8
6) ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)ร้อยละ 50100%100%100%100%เวชกรรมสังคม
9
7) ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิก ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัดย่อย :
100%100%100%100%เวชกรรมสังคม
10
7.1) ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่า เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับ การดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ≥ ร้อยละ 30100%100%100%100%
11
7.2) ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่า เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการ ดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ≥ ร้อยละ 30100%100%100%100%
12
8) อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน70 (สำรวจ)เป็นภาพรวมของจังหวัดสุขศึกษา
13
9) ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่มีคุณภาพร้อยละ 85สสจ.นนทบุรี
14
10) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และการจัดการภาวะด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Emergency Care System and Public Health Emergency Management)ร้อยละ 6574.869.6180.3180.31SP.สาขาอุบัติเหตุฉุกเฉิน
15
11) ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย โรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดย่อย :
SP.สาขา NCD
เวชกรรมสังคม
16
11.1) ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัย ป่วยโรคเบาหวาน≥ร้อยละ 70100100
17
11.2) ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัย ป่วยโรคความดันโลหิตสูง≥ร้อยละ 93-67.7182.6996.1
18
12) ร้อยละของจังหวัดต้นแบบการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.ควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562ร้อยละ 60สสจ.นนทบุรี
19
13) ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาตร้อยละ 50
ของจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ที่ได้รับการส่งเสริม และอนุญาต
จากจำนวนผลิตภัณฑ์
ที่ได้รับการส่งเสริม / เขตสุขภาพ
สสจ.นนทบุรี
20
14) ร้อยละสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมาย กำหนดร้อยละ 30100% (15 ร้าน)100% (15 ร้าน)100% (13 ร้าน)รอการตรวจรอบ 2เวชกรรมสังคม
21
15) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge (ระดับมาตรฐานขึ้นไป)ระดับมาตรฐานขึ้นไป ร้อยละ 30บริหารทั่วไป
22
16) จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 25623,500 ทีม (ร้อยละ 52)เวชกรรมสังคม
23
17) จำนวนประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน35ล้านคน
(ครอบคลุมประชากรร้อยละ 57)
เป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเวชกรรมสังคม
24
18. ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนร้อยละ 75เป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเป็นการดำเนินงานในภาพรวมของจังหวัดเวชกรรมสังคม
25
19) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และได้รับการรักษาใน Stroke Unit
ตัวชี้วัดย่อย :
SP.สาขาหลอดเลือดสมอง
26
19.1) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke : I60-I69)น้อยกว่าร้อยละ 727.40%26.76%23.01%18.11%
27
19.2) ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unitมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 75
28
20) อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ตัวชี้วัดย่อย
ห้องส่องกล้องทางเดินหายใจ
29
20.1) อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด รายใหม่ร้อยละ 88
30
20.2) อัตราความครอบคลุมการขึ้นทะเบียนของ ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำร้อยละ 90
31
21) ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านตามเกณฑ์พัฒนาสู่จังหวัดใช้ยา อย่างสมเหตุผล (RDU province) ที่กำหนดอย่างน้อยร้อยละ 30 ของจังหวัด
ทั้งหมด (23 จังหวัด)
4/7
(57.14%)
6/8
(75.00%)
7/8
(87.50%)
6/8
(75.00%)
SP.สาขา RDU
32
22) อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด
ไม่เพิ่มขึ้นจากปีปฏิทิน 64
46.76%40.80%ประมวลผลสิ้นเดือนมิถุนายนและธันวาคม45.84%SP.สาขา RDU
33
23) อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน< 3.60 ต่อ 1,000 ทารกแรกเกิดมีชีพ6.293.90.842.18SP.สาขาทารกแรกเกิด
34
24) ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 5574.6181.2471.8878.03SP.สาขา Pallaitive
Care
35
25) ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาตระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วย
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (community base)
ร้อยละ 3แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
36
26) ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับ การรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร้อยละ 355.54%2.49%2.57%แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
37
27) ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต≥ร้อยละ 8063.36%83.83%92.14%SP.สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
38
28) อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
ตัวชี้วัดย่อย :
SP.สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
39
28.1) อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤ 8.0 ต่อประชากรแสนคน1.181.260.32
40
28.2) ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมา ทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปีร้อยละ 8098.87%98.46%98.78%
41
29) อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquiredน้อยกว่าร้อยละ 2621.70%21.95%18.65%SP.สาขาอายุรกรรม
42
30) Refracture Rateน้อยกว่าร้อยละ 200%0.60%0%1.30%SP.สาขาออร์โธปิดิกส์
43
31) อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัดย่อย :
SP.สาขาหัวใจและหลอดเลือด
44
31.1) อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลันชนิด STEMIน้อยกว่าร้อยละ 96.03(7/116)4.1(8/195)7.24(5/69)7.24(5/69)
45
31.2) ร้อยละของการให้การรักษาผู้ป่วย STEMI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด
46
31.2.1) ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยา ละลายลิ่มเลือดได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด≥6023.8(5/21)50(5/10)66.66(1/1)100(3/3)
47
31.2.2) ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการทำ Primary PCI ได้ตามมาตรฐานเวลา ที่กำหนด≥6058.9(23/39)91(263/289)87.61(121/138)87.61(121/138)
48
32) ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง ตัวชี้วัดย่อย :SP.สาขามะเร็ง
49
32.1) ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก≥ ร้อยละ 60NA8.13%8.27%31.50%
50
32.2) ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก) ได้รับการส่องกล้อง Colposcopy≥ ร้อยละ 70NA50.44%64.10%76.70%
51
32.3) ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง ลำไส้ใหญ่และไส้ตรง≥ ร้อยละ 5012.92%13.33%12.69%36.81%
52
32.4) ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่ และไส้ผิดปกติ) ได้รับการส่องกล้อง Colonoscopy≥ ร้อยละ 506.71%40.60%49.19%50.21%
53
33) ร้อยละผู้ป่วย CKD ที่มี eGFRลดลงน้อยกว่า 5 ml/min/1.73 m 2 /yrมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 6666.0667.6471.2168.71SP. สาขาไต
54
34) ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วันมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 8591.7590.2381.1882.69SP.สาขาจักษุวิทยา
55
35) อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S)อัตราสวนเพิ่มขี้น รอยละ 20
จากอัตราสวนของจำนวนผูบริจาค
อวัยวะสมองตายที่ไดรับการผาตัดนำ
อวัยวะออก ตอจำนวนผูปวยเสียชีวิต
ในโรงพยาบาล ป 2565
ของแตละเขตสุขภาพ
0.57:1000.27:1000.04:1000.21:100SP.สาขาบริจาคอวัยวะ
56
36) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)60 (Retention Rate ระบบสมัครใจ,
ม.113, ม.114)
SP.สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
57
37) ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care * ได้รับการบริบาล ฟื้นสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือนมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 7580.7783.2185.5395.1SP.สาขา Intermediate Care
58
38) ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgeryมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 30 ของ
จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดต่อปีในกลุ่มโรค
ที่ให้บริการ ODS
36.8734.7SP.สาขา One Day Surgery
59
39) ร้อยละของการ Re-admit ภายใน 1 เดือน จากการผ่าตัด โรคต่างๆ ในโครงการ ODS/MIS ผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS)น้อยกว่าร้อยละ 5SP.สาขา One Day
Surgery
60
40) ระดับความสำเร็จของการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์21428691เภสัชกรรม แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
61
ตัวชี้วัดย่อย :
62
40.1) ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชา ทางการแพทย์ร้อยละ 545 ราย5 ราย
63
40.2) ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วย ยากัญชาทางการแพทย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
64
40.3) จำนวนงานวิจัยและการจัดการความรู้ด้านกัญชา ทางการแพทย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข
65
40.3.1) หน่วยงานตามกลุ่มภารกิจด้านพัฒนา การแพทย์งานวิจัยอย่างน้อยกรมฯละ2 เรื่องและเขตสุขภาพละ2 เรื่อง
66
40.3.2) หน่วยบริการในสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข แยกตาม เขตสุขภาพ (12 เขต)มีกิจกรรมการจัดการความรู้อย่างน้อย
กรมละ 2 เรื่องและเขตสุขภาพละ 2 ครั้ง
67
41) อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit)นอยกวารอยละ 122.318.66SP.สาขาอุบัติเหตุฉุกเฉิน
68
42) ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินรอยละ 26.57.129.83SP.สาขาอุบัติเหตุฉุกเฉิน
69
43) อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง (traumatic brain injury mortality)นอยกวารอยละ 2515.6321.25SP.สาขาอุบัติเหตุฉุกเฉิน
70
44) ร้อยละผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์ ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ≥รอยละ 60สสจ.นนทบุรี
71
45) อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนดร้อยละ 10สสจ.นนทบุรี
72
46) ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) / แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย
การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรให้มีคุณค่าและ มูลค่าสูงเพิ่มขึ้น
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20จากปีที่ผ่านมา
(36 แห่ง)
อาชีวเวชกรรม
73
47) ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มี ประสิทธิภาพตำแหน่งว่างเป้าหมายคงเหลือ
ไม่เกินร้อยละ 4
(≥ 10 เขตสุขภาพผ่านเกณฑ์)
1.71เขตสุขภาพที่ 4
คกก.HRD
74
48) หน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ (ระดับจังหวัด/ เขตสุขภาพ/กรม)คกก.HRD
75
ตัวชี้วัดย่อย :องค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ
76
48.1) หน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ ระดับจังหวัด- ระดับจังหวัด (2 แห่ง)
77
48.2) หน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ ระดับเขตสุขภาพ- ระดับเขตสุขภาพ (2 แห่ง)
78
48.3) หน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ ระดับกรม- ระดับกรม/เทียบเท่ากรม (2 แห่ง)
79
49) ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITAร้อยละ 92100100100บัญชี นิติกร
80
50) ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลระบบการควบคุมภายในร้อยละ 82บัญชี
81
51) ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนดบริหารทั่วไป
82
ตัวชี้วัดย่อย :
83
51.1)ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด (กองส่วนกลาง)
ร้อยละ 70
84
51.2)ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
ร้อยละ 70
85
52) ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพ มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3ก.พัฒนาคุณภาพบริการ
และมาตรฐาน
86
ตัวชี้วัดย่อย :
87
52.1) ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3100
88
52.2) ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค และ กรมสุขภาพจิตมีคุณภาพ มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3100
89
52.3) ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนมีคุณภาพ มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 390
90
53) สถานบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินตามนโยบาย EMS (Environment, Modernization and Smart Service)บริหารทั่วไป
91
ตัวชี้วัดย่อย :
92
53.1) ร้อยละของสถานบริการสังกัดสำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ขั้นพื้นฐาน (The must)
93
53.1.1) ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพศ./รพท. ที่ผ่าน เกณฑ์การประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must)60
94
53.1.2) ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพช. ที่ผ่าน เกณฑ์การประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must)60
95
53.2) จำนวนสถานบริการต้นแบบของเขตสุขภาพ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินขั้นสูง (The best)≥ เขตสุขภาพละ 2 แห่ง
96
54) ร้อยละของจังหวัดที่ประชาชนไทยมีดิจิทัลไอดีเพื่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อสำนักงานเทคโนโลยี
สารสนเทศ (IT)
97
ตัวชี้วัดย่อย :
98
54.1) ร้อยของบุคลากรสาธารณสุข มีดิจิทัลไอดี เพื่อยืนยันการเป็นผู้ให้บริการ≥ร้อยละ 80
99
54.2) ร้อยละของประชาชน มีดิจิทัลไอดีเพื่อเข้าถึง ข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลและเข้าถึงระบบบริการ สุขภาพแบบไร้รอยต่อ≥ร้อยละ 25
100
55) จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนดเขตสุขภาพละอย่างน้อย 3 จังหวัด
จังหวัดละอย่างน้อย 3 รพ.มีการให้บริการการแพทย์ทางไกลในกลุ่มเป้าหมายจังหวัดละไม่น้อยกว่า3,500 ครั้ง
สสจ.นนทบุรี