ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZAAAB
1
หมวดรายละเอียดหมวดและคะแนนเต็มประเด็นย่อยระยะเวลาจัดส่งผลการดำเนินงานสิ่งที่ต้องจัดส่งช่องทางการจัดส่งผู้ประสานงานผู้รับผิดชอบ รพจ.เลยประเด็นการพิจารณา (คะแนนเต็ม)เกณฑ์การให้คะแนน (คะแนนเต็ม)หมายเหตุ
2
ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.
3
OPลักษณะสำคัญของหน่วยงาน (100 คะแนน)การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญของหน่วยงาน (Organization Profile : OP)1รายงานลักษณะสำคัญของ
หน่วยงาน (OP1 - OP5)
opdc41.dmh@gmail.comนายธิเบศ ยิ้มแย้ม (กพร.)
น.ส.อุษณีย์ อินทสะอาด (กพร.)
โทร 025908151
คุณพิชญ์พงศ์ คงนาวัง1. ทิศทางหลักในการดำเนินงาน ผลผลิต/บริการที่สำคัญตามพันธกิจ/ยุทธศาสตร์ และช่องทางการให้บริการ (20 คะแนน)
2. โครงสร้างการบริหารและการกำกับดูแลของหน่วยงาน (10 คะแนน)
3. ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความต้องการ/ความคาดหวัง (30 คะแนน)
4. หน่วยงานทั้งภายในกรมสุขภาพจิตและภายนอกกรมสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกัน (20 คะแนน)
5. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ (20 คะแนน)
4
1การนำองค์การ (50 คะแนน)1.2 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน (ITA)3รายงานผลการดำเนินงาน
ตามตัวชี้วัดที่ 21 (รอบ 5 เดือน)
ethics.dmh@gmail.comน.ส.สุภาวดี พิบูลย์ (กบค.)
โทร 025908074
นางเบ็ญจมาพร วนาภัทรพันธุ์ (กบค.)
โทร 025908064
คุณณัฐชยา มูลเจริญพร1. การวิเคราะห์ผลการสำรวจความคิดเห็นด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อใช้ตอบแบ OIT ข้อ O39 (5 คะแนน)มีการวิเคราะห์ครบองค์ประกอบของข้อมูล (5 คะแนน)1) เอกสาร/แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง สามารถ Download ได้จากเว็บไซต์กองบริหารทรัพยากรบุคคล www.hr.dmh.go.th หัวข้อ “เอกสารดาวน์โหลด : เอกสารตัวชี้วัดที่ 21 ITA”
2) เพื่อให้กระบวนการดําเนินงานส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส เป็นไปอย่างครบขั้นตอน กองบริหารทรัพยากรบุคคลจะดําเนินการติดตามประเมินผลการดําเนินการในช่วง 11 เดือน และ/หรือ 12 เดือน จากหน่วยงานอย่างต่อเนื่องตามแนวทางการประเมินอื่นที่ได้มีการกําหนดไว้ หรือ ติดตามความสําเร็จของการดําเนินงานในปีงบประมาณถัดไป
5
2. ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต (ITA) ผ่านแบบ OIT ที่ให้หน่วยงานตอบ 39 ข้อ ในรอบ 5 เดือน (15 คะแนน)>=85% = 15 คะแนน
80-84.99% = 12 คะแนน
75-79.99% = 9 คะแนน
70-74.99% = 6 คะแนน
65-69.99% = 3 คะแนน
<65% = 0 คะแนน
6
3. การจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมระดับหน่วยงานจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรในหน่วยงาน (10 คะแนน)จัดทำแผนครบถ้วนตามกลยุทธ์ (10 คะแนน)
7
4. การจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน รอบ 5 เดือน ภายในวันที่ 3 มีนาคม 2566 ทาง e-mail : ethics.dmh@gmail.com (5 คะแนน)จัดส่งทันตามกำหนดเวลา (5 คะแนน)
8
5. การเข้าตอบแบบสำรวจความคิดเห็นด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของบุคลากรในหน่วยงานผ่านระบบออนไลน์ (15 คะแนน)>=70% = 15 คะแนน
60-69.99% = 12 คะแนน
50-59.99% = 9 คะแนน
40-49.99% = 6 คะแนน
30-39.99% = 3 คะแนน
<30% = 0 คะแนน
9
1การนำองค์การ (50 คะแนน)1.1 การประเมินการรับรู้ ความรู้ความเข้าใจ ทิศทางการดำเนินงานของกรมสุขภาพจิตและของหน่วยงาน15สรุปผลการประเมินฯpsd.mhs4@gmail.comน.ส.กัญชลี ศิริวิสูตร (กยผ.)
โทร 025908080
คุณบุศรินทร์ เวศมโน1. การจัดทำเครื่องมือ/แบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินสอดคล้องกับทิศทางการดำเนินงาน นโยบายและยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต และของหน่วยงาน โดยใช้รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น Google form (10 คะแนน)1.1 กำหนดข้อคำถามที่แสดงถึงทิศทางการดำเนินงาน นโยบาย หรือยุทธศาสตร์ระดับกรมและระดับหน่วยงาน (4 คะแนน)
10
1.2 กำหนดข้อคำถามที่ใช้ประเมินการรับรู้ ความรู้และความเข้าใจของบุคลากร (6 คะแนน)
11
2. การกำหนดจำนวนบุคลากรกลุ่มเป้าหมายในการตอบแบบประเมินของหน่วยงาน (10 คะแนน)หน่วยงานบุคลากร 51 คนขึ้นไป แสดงการกำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีทางสถิติ (10 คะแนน)
12
3. การสรุปผลการประเมินการรับรู้ ความรู้ และความเข้าใจของบุคลากรในทิศทางการดำเนินงานของกรมและของหน่วยงาน (20 คะแนน)3.1 การแสดงจำนวนประชากร จำนวนกลุ่มตัวอย่าง และวิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (6 คะแนน)
13
3.2 การแสดงแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมิน (2 คะแนน)
14
3.3 การแสดงลผการประเมินการรับรู้ ความรู้ ความเข้าใจ (6 คะแนน)
15
3.4 การแสดงแนวทางสำหรับการพัฒนา/ปรับปรุงงาน (3 คะแนน)
16
3.5 การจัดส่งเอกสารแสดงการสรุปผลการประเมิน การรับรู้ ความรู้ และความเข้าใจของบุคลากรในทิศทางการดำเนินงานของกรมสุขภาพจิตและของหน่วยงาน ในรูปแบบ PDF file ทาง E-mail : psd.mhs4@gmail.com (1 คะแนน)
17
3.6 การจัดส่งเอกสารในรูปแบบ PDF file ทางช่องทางที่กำหนด ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 (2 คะแนน)
18
4. ร้อยละของบุคลากรที่มีความรู้และความเข้าใจในทิศทางการดำเนินงานของกรมสุขภาพจิตและของหน่วยงาน ร้อยละ 80 ของบุคลากรทั้งหมด ที่ทำคะแนนได้ถูกต้องมากกว่า 70% ของแบบประเมิน (10 คะแนน)%บุคลากรตอบถูกมากกว่า 70% ของแบบประเมิน
>=80% = 10 คะแนน
75-79.99% = 8 คะแนน
70-74.99% = 6 คะแนน
65-69.99% = 4 คะแนน
<65% = 2 คะแนน
19
2การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (100 คะแนน)การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์26แผนที่ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานpsd.mhs4@gmail.comน.ส.กัญชลี ศิริวิสูตร (กยผ.)
โทร 025908080
คุณฉัตรชัย มูลเจริญพร1. การจัดส่งแผนที่ยุทธศาสตร์ (10 คะแนน)1.1 ความครบถ้วนในการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด ในเล่มแนวทางการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์สำหรับหน่วยงานฯ ประจำปี 2566 จำนวน 5 แบบฟอร์ม (แบบฟอร์ม 1-1 / 1-2 / 2-1 / 2-2 / 2-3)
- ส่งครบถ้วนทั้ง 5 แบบฟอร์ม (5 คะแนน)
20
1.2 ความถูกต้องของแบบฟอร์มการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ที่ตรงตามที่กำหนดในเล่มแนวทางการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์สำหรับหน่วยงานฯ ประจำปี 2566 จำนวน 5 แบบฟอร์ม (แบบฟอร์ม 1-1 / 1-2 / 2-1 / 2-2 / 2-3)
- ทำในแบบฟอร์มที่ถูกต้องครบทั้ง 5 แบบฟอร์ม (5 คะแนน)
21
2. การวิเคราะห์องค์กร (SWOT) (10 คะแนน)2.1 ความถูกต้องของการวิเคราะห์องค์กร ตามประเด็น SWOT ทั้ง 4 ด้าน
- ไม่พบประเด็นผิดพลาด (10 คะแนน)
22
3. การกำหนดเป้าประสงค์ที่ตอบสนองประเด็น SWOT ตามกลยุทธ์ 4 ด้าน (10 คะแนน)3.1 การกำหนดเป้าประสงค์ที่ตอบสนองประเด็น SWOT ตามกลยุทธ์ 4 ด้าน เป็นไปตามหลักการเขียนเป้าประสงค์
- ไม่พบประเด็นผิดพลาด (6 คะแนน)
23
3.2 การระบุประเด็น SWOT ที่จับคู่ความสอดคล้อง (SO / ST / WO / WT) ไว้ท้ายเป้าประสงค์
- มีการระบุ (4 คะแนน)
24
4. การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และประเด็นยุทธศาสตร์ (10 คะแนน)4.1 ความครบถ้วนในการระบุข้อมูลในแบบฟอร์ม 2-1 ทั้ง 4 ประเด็น
- ครบถ้วนทั้ง 4 ประเด็น (4 คะแนน)
25
4.2 เนื้อความของประเด็นยุทธศาสตร์เป็นไปตามหลักการเขียนประเด็นยุทธศาสตร์
- ไม่พบประเด็นผิดพลาด (6 คะแนน)
26
5. ความสอดคล้องและความเป็นเหตุเป็นผลของเป้าประสงค์ในแต่ละมิติ (4 มิติ) (20 คะแนน)5.1 ความสอดคล้อง/ความเหมือนของเนื้อความของเป้าประสงค์ที่ปรากฏในแบบฟอร์ม 2-2 กับเนื้อความที่ปรากฏในแบบฟอร์มที่ 1-2 และ 2-3
- เนื้อความสอดคล้อง/เหมือนกันทั้ง 3 แบบฟอร์ม (4 คะแนน)
27
5.2 ความเชื่อมโยงและความเป็นเหตุเป็นผลของเป้าประสงค์ในแต่ละมิติ และในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์
- มีความเชื่อมโยงและเป็นเหตุเป็นผล (16 คะแนน)
28
6. การกำหนดตัวชี้วัด (40 คะแนน)6.1 การระบุตัวชี้วัดคำรับรองฯ ของหน่วยงานปี 2566 ที่สอดรับกับเป้าประสงค์ของหน่วยงาน และทำเครื่องหมาย ** ไว้ท้ายชื่อตัวชี้วัดนั้น ๆ ลงในแบบฟอร์ม 2-3
- มีการระบุตัวชี้วัดคำรับรองและทำเครื่องหมาย ** (4 คะแนน)
29
6.2 การระบุผลงานของตัวชี้วัดในปีที่ผ่านมา
- มีการระบุ (4 คะแนน)
ปี 66 เป็นปีตั้งต้นแผนที่ยุทธศาสตร์ แบบฟอร์มไม่ได้ระบุตัวชี้วัดปี 65 ดังนั้นจึงยกประโยชน์ให้ได้เต็ม 4 คะแนน
30
6.3 กำหนดให้ 1 เป้าประสงค์ ต้องมีตัวชี้วัดรองรับการดำเนินงานในปี 2566 อย่างน้อย 1 ตัวชี้วัด
- มีตัวชี้วัดรองรับ (8 คะแนน)
31
6.4 ตัวชี้วัด 1 ตัว ต้องตอบเพียง 1 เป้าประสงค์เท่านั้น
- เป็นไปตามกำหนด (12 คะแนน)
32
6.5 ตัวชี้วัดที่กำหนดมีความสอดคล้อง/ตอบสนองต่อเป้าประสงค์ และส่งผลให้บรรลุเป้าประสงค์
- มีความสอดคล้อง/ตอบสนองต่อเป้าประสงค์ (12 คะแนน)
33
3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (40 คะแนน)การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และความไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย555555รายงานข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ/ความไม่พึงพอใจ คำชมเชย
ที่หน่วยงานรับและดำเนินการเอง
pr.sec@dmh.mail.go.thน.ส.ฐิกรณ์รัชน์ รอดคุ้ม (สกล.)
โทร 025908223
คุณเบ็ญจา นิ่มนวล
คุณประภาศรี ภักดีมี
2. การรายงานข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ/ความไม่พึงพอใจ คำชมเชย ที่หน่วยงานรับและดำเนินการเอง ประจำปีงบประมาณ 2566 (35 คะแนน)2.1 ความครบถ้วน/ความถูกต้องของการลงข้อมูลในแบบบันทึกข้อร้องเรียน (รายเดือน)
- มีความถูกต้อง/ครบถ้วนทุกหัวข้อ (10 คะแนน)
34
2.2 ความครบถ้วน/ความถูกต้องของการลงข้อมูลในแบบบันทึกข้อเสนอแนะ/ความไม่พึงพอใจ (รายเดือน)
- มีความถูกต้อง/ครบถ้วนทกหัวข้อ (10 คะแนน)
35
2.3 ความครบถ้วน/ความถูกต้องของการลงข้อมูลในแบบบันทึกคำชมเชย (รายเดือน)
- มีความถูกต้อง/ครบถ้วนทุกหัวข้อ (10 คะแนน)
36
2.4 การส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กำหนด (ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ทาง E-mail : pr.sec@dmh.mail.go.th)
- ส่งภายในระยะเวลาที่กำหนด (5 คะแนน)
37
3. การรายงานผลการจัดการข้อร้องเรียนที่กรมฯ รับเรื่องและส่งให้หน่วยงานไปพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ภายในระยะเวลาที่กำหนดตามระดับความรุนแรงของเรื่อง (5 คะแนน)- มีข้อมูลครบถ้วนตรงตามประเด็นที่กรมส่งให้หน่วยงานตรวจสอบข้อเท็จจริง/ให้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไข (กรณีไม่มีเรื่องร้องเรียนที่กรมส่งให้ดำเนินการ ได้คะแนนฟรี) (5 คะแนน)
38
3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (25 คะแนน)การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และความไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย28แผนพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการpr.sec@dmh.mail.go.thน.ส.อภิญญา สัตยากุล (กพร.)
โทร 025908192
คุณประภัสสร เพชรสวัสดิ์1. การจัดทำแผนพัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการประจำปีงบประมาณ 2566 โดยนำข้อมูลจากข้อเสนอแนะ/ความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (อย่างน้อย 5 เรื่อง) ที่ได้รับผ่านช่องทางต่าง ๆ ในปีงบประมาณ 2565 เช่น ระบบ SatSurvey Google Form การประชุม โทรศัพท์ E-mail เป็นต้น1.1 คุณภาพของการจัดทำแผนฯ ในแต่ละเรื่องจะต้องมีคุณลักษณะครบถ้วนทั้ง 3 ด้านดังนี้
1.1.1 ความครบถ้วนของการลงข้อมูลในแบบฟอร์ม
1.1.2 ความสอดคล้องของแผนปรับปรุงกับเรื่องที่ไม่พอใจ/ข้อเสนอแนะ
1.1.3 ความสอดคล้องของตัวชี้วัดความสำเร็จกับแผนปรับปรุง
- ร้อยละ 100 ของแผนฯ = 20 คะแนน
- ร้อยละ 80 ของแผนฯ = 16 คะแนน
- ร้อยละ 60 ของแผนฯ = 12 คะแนน
- ร้อยละ 40 ของแผนฯ = 8 คะแนน
- ร้อยละ 20 ของแผนฯ = 4 คะแนน
- < ร้อยละ 20 ของแผนฯ = 0 คะแนน
39
1.2 การจัดส่งแผนพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการตามกำหนดระยะเวลา (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 ทาง E-mail : pr.sec@dmh.mail.go.th)
- ส่งทันตามกำหนดเวลา (5 คะแนน)
40
3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (5 คะแนน)การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และความไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย30รายงานการแก้ไขกรณีมีข้อร้องเรียน/ความไม่พึงพอใจที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ อย่างน้อย 1 เรื่องpr.sec@dmh.mail.go.thน.ส.ฐิกรณ์รัชน์ รอดคุ้ม (สกล.)
โทร 025908223
คุณเบ็ญจา นิ่มนวล
คุณประภาศรี ภักดีมี
4. การรายงานการแก้ไขปัญหา กรณีมีข้อร้องเรียน/ความไม่พึงพอใจที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง (ภายในวันที่ 30 มีนาคม 2566 ทาง E-mail : pr.sec@dmh.mail.go.th)รายงานมีความครบถ้วน/ถูกต้องทุกหัวข้อ (กรณีที่หน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนให้ได้รับคะแนนฟรี) (5 คะแนน)
41
3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (5 คะแนน)การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และความไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย30รายงานผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการข้อร้องเรียนในภาพรวมของหน่วยงานpr.sec@dmh.mail.go.thน.ส.ฐิกรณ์รัชน์ รอดคุ้ม (สกล.)
โทร 025908223
คุณเบ็ญจา นิ่มนวล
คุณประภาศรี ภักดีมี
5. การรายงานผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการข้อร้องเรียนในภาพรวมของหน่วยงาน (ภายในวันที่ 30 พฤษภาคม 2566 ทาง E-mail : pr.sec@dmh.mail.go.th)ร้อยละ 80-100 = 5 คะแนน
ร้อยละ 70-79.99 = 4 คะแนน
ร้อยละ 60-69.99 = 3 คะแนน
ร้อยละ 50-59.99 = 2 คะแนน
< ร้อยละ 50 = 1 คะแนน
(กรณีที่หน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานรับและดำเนินการเอง ให้ได้รับคะแนนฟรี 5 คะแนน
42
3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (25 คะแนน)การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และความไม่พึงพอใจต่อการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย30รายงานผลตามแผนพัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการpr.sec@dmh.mail.go.thน.ส.อภิญญา สัตยากุล (กพร.)
โทร 025908192
คุณประภัสสร เพชรสวัสดิ์6. การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ประจำปีงบประมาณ 2566 (ตามแผนปรับปรุงฯ อย่างน้อย 5 เรื่อง) (25 คะแนน)6.1 การประเมินคุณภาพของการจัดทำรายงานผลตามแผนฯ ในแต่ละเรื่องจะต้องมีคุณลักษณะครบถ้วนทั้ง 3 ด้าน ดังนี้
6.1.1 ความครบถ้วนของการลงข้อมูลในแบบฟอร์ม
6.1.2 ความสอดคล้องของผลการดำเนินงานกับแผนปรับปรุงที่กำหนด
6.1.3 ความสอดคล้องของผลการดำเนินงานกับเป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จที่กำหนด
- ร้อยละ 100 ของรายงาน ฯ ได้ 20 คะแนน
43
6.2 จัดส่งรายงานผลตามแผนพัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ตามกำหนดระยะเวลา (ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2566 ทาง E-mail : pr.sec@dmh.mail.go.th)
- ส่งทันตามกำหนดเวลา (5 คะแนน)
44
4การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (100 คะแนน)การสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม ระบบการทำงานแบบดิจิทัล เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงาน30รายงานการสร้างองค์ความรู้นวัตกรรมระบบการทำงาน
แบบดิจิทัลฯ
pmqa.bmha.dmh@gmail.comพญ.กุสุมาวดี คำเกลี้ยง (ส.วิชาการ)
โทร 025905102
น.ส.พาสนา คุณาธิวัฒน์ (ส.วิชาการ)
โทร 025908567
นายมณฑล บัวแก้ว (ส.เทคฯ)
โทร 025908085
นายอลฮัม มุสะอะรง (ส.เทคฯ)
โทร 025908085
คุณณัฏฐพัชร สุนทโรวิทย์1. การระบุและบ่งชี้ความรู้ที่สำคัญที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา/ผลการดำเนินงาน (10 คะแนน)1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา/ผลการดำเนินงานที่เป็นปัญหาในปีงบประมาณ 2565 (5 คะแนน)
45
1.2 การระบุและบ่งชี้องค์ความรู้ที่สำคัญ ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา/ผลการดำเนินงานที่เป็นปัญหาของหน่วยงานในปีงบประมาณ 2565 ตามข้อ 1.1
- สอดคล้องและครบถ้วน (5 คะแนน)
46
2. การจัดทำแผนในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับองค์ความรู้ที่สำคัญ ในข้อ 1 รวมถึงแสดงระบบ/รูปแบบการทำงานที่นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการดำเนินงาน (20 คะแนน)2.1 เลือกองค์ความรู้ที่สำคัญ (ในข้อ 1) มา 1 เรื่อง เพื่อจัดทำแผนการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียดดังนี้ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ในการสร้าง/พัฒนา ตัวชี้วัดในแต่ละกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย และเครื่องมือในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้
- มีแผนการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ประจำปีงบประมาณ 2566 ระบุรายละเอียดครบถ้วนและสอดคล้องกับองค์ความรู้ที่สำคัญ (ในข้อ 1) (10 คะแนน)
47
2.2 การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการดำเนินงานต้องสอดคล้องและครบถ้วนตามแผนการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ ในข้อ 2.1 และหรือแผนพัฒนาดิจิทัลกรมสุขภาพจิตฉบับที่ 2 (ปีงบประมาณ 2566-2570)
- แสดการทำงานที่นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการดำเนินงาน (10 คะแนน)
ความสอดคล้อง/ครบถ้วน ดูจากข้อมูลที่ระบุไว้ตามแผนการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในประเด็นที่ 2 และหรือแผนพัฒนาดิจิทัลกรมสุขภาพจิตฉบับที่ 2 (ปีงบประมาณ 2566-2570)
48
3. ผลลัพธ์การดำเนินงานที่ได้จากการพัฒนาองค์ความรู้ เช่น แนวปฏิบัติ รายงาน คู่มือ Application ฯลฯ (30 คะแนน)3.1 การแสดงผลลัพธ์การดำเนินงานที่ได้จากการพัฒนาองค์ความรู้ตามแผน รวมถึงพิจารณาจากความสอดคล้องและครบถ้วนตามแผนที่ระบุไว้ในข้อ 2
- แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการพัฒนาองค์ความรู้ตามแผนที่ระบุไว้ในข้อ 2 (10 คะแนน)
49
3.2 การแสดงการนำองค์ความรู้ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นตามแผนในข้อ 2 ไปใช้เพื่อพัฒนางานที่วิเคราะห์ว่าเป็นปัญหาในข้อ 1 รวมถึงพิจารณาจากความสอดคล้องและความครบถ้วนตามแผนที่ระบุไว้ในข้อ 2
- แสดงการนำองค์ความรู้ไปใช้เพื่อพัฒนางาน (10 คะแนน)
50
3.3 การแสดงผลลัพธ์จากการนำองค์ความรู้ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงพิจารณาจากความสอดคล้องและความครบถ้วนตามแผนที่ระบุไว้ในข้อ 2
- แสดงผลลัพธ์จากการนำองค์ความรู้ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายตามแผนที่ระบุไว้ในข้อ 2 (10 คะแนน)
51
4. การจัดเก็บและเผยแพร่องค์ความรู้เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ (15 คะแนน)4.1 องค์ความรู้ที่จัดเก็บและเผยแพร่สอดคล้องกับแผนในข้อ 2
- สอดคล้องกับแผนในข้อ 2 (5 คะแนน)
52
4.2 แสดงช่องทางการจัดเก็บองค์ความรู้เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ เช่น คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต (DMH-elibrary) เว็บไซต์หน่วยงาน หรือช่องทางอื่น ๆ
- แสดงช่องทางจัดเก็บองค์ความรู้ (5 คะแนน)
53
4.3 แสดงช่องทางการเผยแพร่องค์ความรู้เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ เช่น คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต (DMH-elibrary) เว็บไซต์หน่วยงาน หรือช่องทางอื่น ๆ ที่กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงและนำไปใช้ประโยชน์ได้
- แสดงช่องทางการเผยแพร่องค์ความรู้ มากกว่า 1 ช่องทาง (5 คะแนน)
54
4.4 แสดงกลุ่มเป้าหมายที่สามารถเข้าถึงและนำไปใช้ประโยชน์ได้ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล
- ไม่ครบถ้วน หักประเด็นละ 0.5 คะแนน
55
5. การพัฒนา/ขยายผล/ต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อนำองค์ความรู้ที่สร้างหรือพัฒนาสู่การปฏิบัติ โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการดำเนินงาน (20 คะแนน)5.1 การพัฒนา ขยายผล ต่อยอดการดำเนินงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงพิจารณาจากความสอดคล้องและความครบถ้วนตามแผนข้อ 2
- แสดงแนวทางการพัฒนา ขยายผลต่อยอดการดำเนินงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (10 คะแนน)
56
5.2 สิ่งที่ได้เรียนรู้ ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข (เขียนให้ครบถ้วนทั้ง 4 ประเด็น) พิจารณาจากความสอดคล้องตามแผนข้อ 2
- แสดงสิ่งที่ได้เรียนรู้ ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข ครบถ้วน (10 คะแนน)
57
6. จัดส่งการรายงานในรูปแบบ PDF File ทาง E-mail : pmqa.bmha.dmh@gmail.com ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2566 (5 คะแนน)จัดส่งทันตามกำหนดเวลา (5 คะแนน)
58
5การมุ่งเน้นบุคลากร (100 คะแนน)การส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และความรู้ทักษะของบุคลากร3รายงานผลการดำเนินงาน
ตามตัวชี้วัดที่ 19 (รอบ 5 เดือน)
ethics.dmh@gmail.comน.ส.รมิดา จันทร์ศร (กบค.)
โทร 025908053
น.ส.สิทธิกานต์ โฉมทรัพย์ (กบค.)
โทร 025908402
คุณณัฐชยา มูลเจริญพร1. การพัฒนาสมรรถนะหรือทักษะของบุคลากรในหน่วยงานในหลักสูตรที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (รอบ 5 เดือน) (40 คะแนน)>= 50% = 40 คะแนน
59
2. การพัฒนาสมรรถนะหรือทักษะใหม่ ให้กับบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการกรมฯ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) (รอบ 5 เดือน) ด้านใดด้านหนึ่ง ดังนี้ เทคโนโลยีดิจิทัล ระบาดวิทยาสุขภาพจิต การสื่อสารการตลาด เศรษฐศาสตร์สุขภาพจิต การสร้างนวัตกรรมสุขภาพจิต (25 คะแนน)>= 60% = 25 คะแนน
60
3. การรายงานผลการพัฒนาตนเองในระยะ 1 เดือนให้ผู้บังคับบัญชาทราบและ/หรือติดตามประเมินผลโดยผู้บังคับบัญชาในระยะ 3 เดือน (รอบ 5 เดือน) (15 คะแนน)>= 60% = 15 คะแนน
61
4. ความสมบูรณ์ของการจัดทำข้อมูลตามแบบฟอร์มรายงานผลการประเมินสมรรถนะและทักษะข้าราชการ และผลการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในหลักสูตรที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (รอบ 5 เดือน) (15 คะแนน)ข้อมูลมีความครบถ้วนสมบูรณ์ และเป็นไปตามแบบฟอร์มที่กำหนด (15 คะแนน)
62
5. การจัดส่งรายงานผลการประเมินสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของบุคลากร และแบบสรุปการพัฒนาฯ ในรอบ 5 เดือน (ตามแบบฟอร์มที่กำหนดในตัวชี้วัดคำรับรองฯ หน่วยงาน ที่ 19) ภายในวันที่ 3 มีนาคม 2566 ทาง E-mail : hr04@dmh.mail.go.th (5 คะแนน)ส่งตามกำหนดเวลา (5 คะแนน)
63
6การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ (100 คะแนน)การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทำงานภายใต้ภารกิจหลักของหน่วยงาน30- รายงานการพัฒนาระบบ smart service ทาง google form
- รายงานการเพิ่มระยะเวลาสร้างคุณค่า
google form
http://psywait.dmh.go.th
น.ส.ชลลดา จารุศิริชัยกุล (กบบส.)
โทร 025908145
น.ส.ภูษณิศา ชัยวิรัตน์นุกูล (กบบส.)
โทร 025908179
คุณสมิง ศรีบุตรตา1. การพัฒนาระบบบริการ Smart Service ที่ช่วยลดระยะเวลาและขั้นตอนในการรับบริการ (50 คะแนน)1.1 มีระบบ Smart Service ที่ช่วยลดระยะเวลาและขั้นตอนในการลงทะเบียนและระบบคิว 5 ข้อ
- มีการดำเนินงาน 3 ใน 5 ข้อ (10 คะแนน)
รายงานผ่าน Google form
64
1.2 มีระบบ Smart Service ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการและลดการใช้ทรัพยากร (30 คะแนน)
1.2.1 การใช้ระบบ Tele-psychiatry (15 คะแนน) (แพทย์ตรวจผ่าน DMS 5 คะแนน, สั่งการรักษาผ่านอิเล็กทรอนิกส์ 2 คะแนน, ระบบสหวิชาชีพปรึกษาผ่านระบบ Tele 3 คะแนน, มีระบบ Tele เครือข่าย เช่น เรือนจำ รพ.ในเขตฯ 5 คะแนน)
1.2.2 ระบบยา (10 คะแนน) (มีใบสั่งยา Electronics 5 คะแนน, รูปแบบการจ่ายยาหลากหลาย ปณ. ตู้จ่ายยาอัตโนมัติ ร้านยา Drive thru 5 คะแนน)
1.2.3 ระบบ Refer แบบ Online เชื่อมโยงเขตสุขภาพ (มีการดำเนินการได้ 5 คะแนน)
65
1.3 มีระบบอำนวยความสะดวกในการให้บริการ (10 คะแนน) (คิวอัตโนมัติ, KIOSK, จ่ายเงินออนไลน์, ประชาสัมพันธ์รูปแบบดิจิทัล เช่น MHCI SatSurvey)
- มีการดำเนินงาน 3 ใน 4 ข้อ (10 คะแนน)
66
2. การเพิ่มระยะเวลาสร้างคุณค่า (45 คะแนน)2.1 กำหนดระยะเวลารอยคอยและระยะเวลาการให้บริการ
- มีการกำหนด (5 คะแนน)
รายงานผ่านโปรแกรมระบบรายงานข้อมูลระยะเวลาการให้บริการผู้ป่วยจิตเวช https://psywai.dmh.go.th และการรายงานตัวชี้วัดคำรับรองที่ 17 ค่าคะแนนความสำเร็จของการพัฒนาไปสู่การเป็นองค์การดิจิทัล
67
2.2 การบันทึกข้อมูลรายเดือนในโปรแกรมระบบรายงานข้อมูลระยะเวลาการให้บริการผู้ป่วยจิตเวช
- มีการบันทึกข้อมูลครบทุกเดือน (15 คะแนน)
68
2.3 การจัดบริการ/กิจกรรมระหว่างรอรับการบริการตามขั้นตอนการให้บริการในแผนกผู้ป่วยนอก
- มีการจัดบริการ/กิจกรรม (10 คะแนน)
69
2.4 ร้อยละของระยะเวลาสร้างคุณค่าการให้บริการ
- ร้อยละ 20 ขึ้นไป (15 คะแนน)
70
3. การส่งรายงานภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2566 (5 คะแนน)จัดส่งทันตามกำหนดเวลา (5 คะแนน)
71
BPการประเมินคุณภาพของผลงานการพัฒนานวัตกรรมการดำเนินงานที่โดดเด่น (Best Practice) (100 คะแนน)การพัฒนานวัตกรรมการดำเนินงานที่โดดเด่น
(Best Practice)
30รายงานการพัฒนานวัตกรรมการดำเนินงานที่โดดเด่น (Best Practice)opdc41.dmh@gmail.comนายธิเบศ ยิ้มแย้ม (กพร.)
น.ส.อุษณีย์ อินทสะอาด (กพร.)
โทร 025908151
คุณพิชญ์พงศ์ คงนาวัง1. ตอบครบถ้วนทุกหัวข้อคำถามย่อย (45 คะแนน)
2. ความเชื่อมโยง/ความสอดคล้อง/ความเป็นเหตุเป็นผลของเนื้อหาในแต่ละประเด็น (25 คะแนน)
3. ความสอดคล้องของผลการดำเนินงานพัฒนานวัตกรรม กับแนวทางการพัฒนาระบบราชการ 4.0 (ด้านการสร้างนวัตกรรม / ด้านการสานพลังความร่วมมือ / ด้านการปรับเข้าสู่การเป็นดิจิทัล) (30 คะแนน)
4. ส่งรายงานให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกรมสุขภาพจิต ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2566 ทาง opdc41.dmh@gmail.com (ส่งช้าหักวันทำการละ 1 คะแนน)
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100