A | B | C | D | E | F | G | H | I | J | K | L | M | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ประทับเวลา | ขณะนี้ท่านกำลังบันทึกข้อมูลแบบสอบถามการประเมินการอ่านออกเขียนได้ ป.1 | อำเภอ | ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนนำผลการทดสอบไปใช้วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างไร | โรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบ ตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ หรือไม่อย่างไร | จากรูปแบบลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โรงเรียนจะนำไปใช้พัฒนาการสร้างแบบทดสอบอย่างไร | จุดด้อย ข้อบกพร่อง และวิธีการแก้ไข ในการจัดสอบ | ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ | ท่านได้ตรวจสอบการกรอกผลสอบถูกต้องครบถ้วน | ชื่อ-สกุล ผู้กรอกข้อมูล | ตำแหน่ง | เบอร์โทรศัพท์ |
2 | 16/3/2016, 10:29:18 | ใช่ | สารภี | วัดแม่สะลาบ | ได้นำผลการทดสอบไปเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงนักเรียนที่อ่อนในแต่ละด้านเป็นรายบุคคล | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบแต่ไม่ครอบคลุมทุกฉบับ | จะนำไปเป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนต่อไป | - | คำศัพท์บางคำในด้านการเขียนคำค่อนข้างยากสำหรับนักเรียนชั้น ป.1 | ใช่ | นางมุกดา ขอร้อง | ครูชำนาญการพิเศษ | 892630905 |
3 | 16/3/2016, 10:40:26 | ใช่ | แม่วาง | วัดมะกับตองหลวง | นำผลที่ได้เทียบกับแผนการเรียนรู้ แล้วสรุปหาสาเหตุในข้อที่นักเรียนยังอ่อนอยู่ เพื่อไปปรับปรุงแผนในปีต่อไป | ใช้แบบทดสอบ ทั้งก่อนและหลังเรียน | สร้างแบบทดสอบโดยให้เด็กมีความเข้าใจในหลักการอ่านเขียน | จุดด้อย : การที่นักเรียนมีน้อยทำให้การเรียนไม่มีการแข่งขัน(นักเรียนขาดแรงจุงใจในการที่จะเรียนรู้ในสิ่งใหม่) วิธีการแก้ไข : หาทางกระตุ้นให้เด็กมีความอยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ข้อบกพร่อง : รูปแบบการจัดสอบ วิธีการแก้ไข : ต้องให้เป็นทางการมากขึ้น | ปัญหา : ความสนใจที่จะอ่านคำถาม ข้อเสนอแนะ : ให้เด็กหัดทำแบบฝึกหัดบ่อยๆ อุปสรรค : ตัวเด็กนักเรียนยังไม่ค่อยเข้าใจในเนื้อหาที่จะใช้ทดสอบ ข้อเสนอแนะ : ในบทสอบต้องสอดคล้องกับบทเรียน | ใช่ | นางศรัณยา หลุยจำวัน | ครูจำนาญการพิเศษ | 857151578 |
4 | 16/3/2016, 10:44:35 | ใช่ | หางดง | วัดช่างคำ | ทำผลการทดสอบไปวินิจฉัยข้อบกพร่องและวางแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาข้อบกพร่องของนักเรียน | ได้สร้างแบบทดสอบแต่แตกต่างจากสำนักทดสอบทางการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | นำผลการทดสอบไปวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนและสร้างแบบทดสอบให้สอดคล้องมาตรฐานการเรียนรู้ | - | - | ใช่ | นางสาวอัจฉรา ร่มโพธิ์ | ครูอัตราจ้าง | 806763979 |
5 | 16/3/2016, 11:14:11 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดโรงวัว | นำผลการอ่าน การเขียน ของนักเรียนที่มีผลคะแนนต่ำในกลุ่มคำนั้น ๆ มาให้คุณครูดำเนินการใช้ในการเขียนแผนพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน รวมทั้งการใช้สื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสมด้วย | โรงเรียนได้ใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบและแบบฝึกการอ่าน ออก เขียนได้ ตามกลุ่มคำ ประโยคต่าง ๆ | ใช้เป็นแนวทางและตัวอย่างของกลุ่มคำประโยค ในการสร้างแบบทดสอบของโรงเรียนให้ครอบคลุมตามแบบทดสอบกลาง | กรรมการดำเนินการสอบ ควรให้ครูโรงเรียนอื่นมาดำเนินการสอบ | คำอธิบายการกรอกคะแนน และแนวทางการดำเนินการกรอกคะแนนควรอธิบายขั้นตอนให้ชัดเจน | ใช่ | นางนงลักษณ์ ธาตุอินทร์ | ครูชำนาญการพิเศษ | 847414497 |
6 | 16/3/2016, 11:20:34 | ใช่ | หางดง | บ้านหนองตอง | นำผลการทดสอบไปวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนในการอ่านออกเขียนได้และทบทวนวิธีการสอนของครูผู้สอน | ทางโรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบลักษณะที่ใกล้เคียงกับข้อสอบอ่านออกเขียนได้ เน้นให้นักเรียนรู้จักการแจกลูก สะกดคำ การฝึกให้นำพยัญชนะมาประสมสระและมีตัวสะกดตามมาตราตัวสะกดทุกแม่ รวมทั้งการแต่งประโยคโดยใช้คำที่กำหนดให้ และการเขียนเล่าเรื่องจากภาพ | ได้สร้างแบบทดสอบการอ่าน และการเขียน โดยการใช้คำศัพท์พื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และกำหนด เกณฑ์การประเมินให้นักเรียนสามารถอ่านออกและเขียนได้ หากพบว่ามีนักเรียนที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ตามเกณฑ์ จะพัฒนาเพิ่มเติม รายบุคคล | - | แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลากเส้นโยงไปหาคำตอบที่ถูกต้องนั้น ควรแบ่งข้อสอบออกเป็น 2 ตอน เพื่อให้นักเรียนสามารถลากโยงเส้นได้ง่ายขึ้น อีกทั้งภาพเล็กมาก นักเรียนมองไม่ชัดด้วย | ใช่ | นางนงจิตต์ ศรีจันทร์ | ครูวิชาการฯ | 084-985-0625 |
7 | 16/3/2016, 11:43:28 | ใช่ | แม่วาง | บ้านเหล่าป่าฝาง | จะนำไปวางแผนในการพัฒนาการทดสอบ การใช้สือนวัฒกรรมที่เหมาะสมต่อไป | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบการอ่านออกเขียนได้ | สร้างแบบทดสอบให้ตรงตามตัวชี้วัด | - | - | ใช่ | นายจิตร อิวาง | ครู | 810317128 |
8 | 16/3/2016, 11:49:44 | ใช่ | หางดง | บ้านน้ำแพร่ | - จัดทำข้อมูลรายงานบุคคล - จัดทำแผนการเรียนรู้ และจัดหา/จัดทำสื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ ได้แก่ การเขียนตามคำบอก แต่งประโยค การเขียนเรื่องจากภาพ และการอ่านมีการอ่านสะกด อ่านเป็นคำ อ่านเป็นเรื่อง เป็นต้น | สร้างแบบทดสอบที่มีความหลากหลาย โดยครูผู้สอนคิดออกแบบ ครูฝ่ายวิชาการ และครูระดับชั้น ป.1-2 พร้อมกันวิเคราะห์ข้อสอบและปรับปรุงแก้ไข | - | - | ใช่ | นางศิริพร คำปวง | ครูชำนาญการพิเศษ | 084-4849388 |
9 | 16/3/2016, 13:03:31 | ใช่ | สารภี | วัดพระนอนหนองผึ้ง | ใช่ | นางมลิวัลย์ ชัยบุรี | ครูชำนาญการพิเศษ | 093-3210194 | |||||
10 | 16/3/2016, 13:14:12 | สันป่าตอง | บ้านหัวริน | โรงเรียนได้นำผลการทดลองไปวางแผนพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยนำไปวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนในการอ่านเขียนแต่ละคนว่ามีจุดอ่อน ในเรื่องใดต้องปรับปรุงแก้ไขปรับปรุงเรื่องอะไรเพื่อปรับวิธีการสอน พัฒนาสื่อ ให้สอดคล้องกับนักเรียนเป็นรายกลุ่มและรายบุคคลที่มีปัญหาต่อไปและส่งเสริม เด็กที่อ่านและเขียนคล่อง | โรงเรียนได้จัดสร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบนี้ แต่ยังไม่ละเอียดครอบคลุมเท่ากับข้อสอบกลางนี้ เป็นผลดีที่มีแนวข้อสอบให้โรงเรียนได้ยึดเป็นแนวข้อสอบที่จะได้มาตาฐานต่อไป | โรงเรียนจะนำไปพัฒนาแบบทดสอบอ่าน เขียน โดยศึกษาหลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด และการวิเคราะห์ความยากง่ายของข้อสอบ ทดลองใช้และพัฒนาต่อไป | จุดด้อย คือ จำนวนแบบทดสอบมีมากและหลายตอน ทำให้เด็กเหนื่อยล้า เบื่อหน่าย ไม่ตั้งใจสอบ และซ้ำซ้อนกับการสอบของเขตการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 4 ที่เร่งพัฒนาคุณภาพ เรียน ป.1 - ป.6 ในด้านการอ่านออกเขียนได้ | ควรมีการทดสอบประมาณต้นเดือน มีนาคม ของทุกปี จะเหมาะกว่ากลางเดือน เพราะช่วงนี้มีการทดสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ทำให้สับสนหลายอย่าง ครูบางท่านก็ไปเป็นคณะกรรมการคุมสอบนอกสถานที่ ทำให้ขาดครูคุมสอบที่ไม่เพียงพอ | ใช่ | จินตนา มูลทรัพย์ | ครู คศ.3 | 861875089 | |
11 | 16/3/2016, 13:16:19 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดดงป่างิ้ว | - นำจุดที่ควรแก้ไขของเด็กแต่ละคนมาวางแผนเพื่อพัฒนาการสอนของครู และรายงานให้ช่วงชั้นต่อไปได้ซ่อมเสริม | - โรงเรียนได้ใช้แบบทดสอบตามแบบมาตรฐานของทางสำนักงานเขตพื้นที่มาใช้ดำเนินการสอบ | - นำแบบทดสอบมาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการสร้างแบบฝึกหัด เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และแก้ปัญหาจุดบกพร่องของเด็กต่อไป | - | - ควรมีการดำเนินการซักซ้อมทำความเข้าใจกับกรรมการผู้ให้คะแนน เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน | ใช่ | นางอัจฉรา คำภิคำ | ครูชำนาญการ | 899513251 |
12 | 16/3/2016, 13:37:19 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านสามหลัง | -นำไปวางแผนจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษาการอ่านและการเขียน | -ได้สร้าง โดย 1.ทำกิจกรรมฝึกอ่านและเขียนคำตามคำบอกทุกวันๆละ 10 คำ และให้แก้ไขคำผิดคำละ 5 ครั้ง 2.ทำแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียน 3.ให้นักเรียนฝึกการอ่านแจกลูกสะกดคำ และก่อนเขียนคำให้สะกดก่อนและเขียนคำที่ให้เกิด ความแม่นยำมากยิ่งขึ้น | - นำไปเป็นแบบอย่างพัฒนาการทำแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ | - ข้อสอบไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน ครูต้องถ่ายเอกสารเพิ่มเติม | -เป็นการประเมินผลที่ดี สามารถประมวลผลการสอนของครูผู้สอนได้ -ทราบพัฒนาการเรียนรู้ ด้านการอ่านและการเขียนของนักเรียน -ควรจัดทำทดสอบก่อนเรียนด้วย เพื่อให้เห็นผลการพัฒนาการเขียนและการอ่านได้อย่างชัดเจน | ใช่ | นางสาวภัชชญา วงศ์เสือ | ครู คศ.1 | 835821983 |
13 | 16/3/2016, 13:53:37 | ใช่ | สารภี | วัดศรีดอนชัย | "โรงเรียนได้นำผลการทดลองไปวางแผนพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยนำไปวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนในการอ่านเขียนแต่ละคนว่ามีจุดอ่อน ในเรื่องใดต้องปรับปรุงแก้ไขปรับปรุงเรื่องอะไรเพื่อปรับวิธีการสอน พัฒนาสื่อ ให้สอดคล้องกับนักเรียนเป็นรายกลุ่มและรายบุคคลที่มีปัญหาต่อไปและส่งเสริม เด็กที่อ่านและเขียนคล่อง" | โรงเรียนได้สร้างแบบทดสอบ ตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ | โรงเรียนจะนำไปใช้พัฒนา การสร้างแบบทดสอบต่อไป | - | - | ใช่ | นางศรีพรรณ์ เกษรศรี | ผู้อำนวยการโรงเรียน | 843608226 |
14 | 16/3/2016, 13:56:16 | ใช่ | สารภี | วัดศรีโพธาราม | โรงเรียนได้นำผลการทดอสอบมาวิเคราะห์/สังเคราะห์แล้วนำไปพัฒนาวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียน โดยวิเคราะห์จากข้อสอบตามตัวชี้วัดที่นักเรียนมีปัญหามาปรับใช้กับบริบทของโรงเรียน และนักเรียนต่อไป | โรงเรียนได้จัดทำแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบการอ่านออก เขียนได้ โดยยึดแนวตามตัวชี้วัดของหลังสูตรและใช้คำพื้นฐานและแนวทางในในการจัดทำแบบทดสอบ | โรงเรียนจะนำลักษณะข้อสอบการอ่านออกเขียนได้ไปวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดกับนักเรียนและประยุกต์ใช้โดยยึดตามตัวชี้วัดของหลักสูตร จัดกิจกรรมที่เน้นทักษะการฝึกทักษะการอ่าน/เขียน ทุกวัน เพื่อพัฒนาการอ่านเขียนจนคล่องแคล่ว | - | - | ใช่ | นางเพลินพิศ กุศลเพิ่มสุข | ครู | 819520230 |
15 | 16/3/2016, 14:12:40 | ใช่ | แม่วาง | บ้านใหม่ปางเติม | หาจุดเด่นจุดด้อยของนักเรียนเตรียมควาพร้อมจดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดเน้นให้นักเรียนใช้กระบวนการคิดที่หลากหลาย | มีการใช้น้อยมากส่วนใหญ่เน้นกาอานออกเขียนได้นปีการศึกษาหน้านี้น่าจะใช้ข้อทดสอบลักษณะนี้มากขึ้น | นำข้อสอบไปศึกษาวิเคราะห์และจัดทำข้อสอบในลักษณะนี้มากขึ้น | ข้อสอบท่ีมีการคิดวิเคจับจควมเรื่องท่อ่านไม่ได้ราะห์นักเรียนบางคนอ่านหนังสือช้าต้องสะกดคำทำให้จับใจความไม่ได้ | ใช่ | นายอุดม แสงจันทร์ | ครูโรงเรียนบ้านใหม่ปางเติม | 875778714 | |
16 | 16/3/2016, 14:49:02 | ใช่ | สันป่าตอง | ชุมชนกิ่วแลหลวงประสิทธิ์วิทยา | นำไปประยุกต์การเรียนการสอนแบบองค์รวม ให้สอดคล้องกัน | จัดทำแบบฝึกหัดแบบคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์ สุขศึกษา คณิตศาสตร์ และภาษาไทย และแบบทดสอบประจำภาคเรียนด้วย | ให้นักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ใช้เหตุผลในการตอบปัญหาที่พบให้ถูกต้อง | ข้อสอบค่อนข้างเป็นการวิเคราะห์มากเกินไป ไม่เหมาะสำหรับเด็กระดับชั้นนี้ | ข้อสอบยากเด็กทำไม่ค่อยได้ | ใช่ | นางจินตนา นัดสาสาร | ครู | 861812667 |
17 | 16/3/2016, 14:54:04 | ใช่ | แม่วาง | วัดห้วยแก้ว | นำแบบทดสอบการอ่านและการเขียนไปเป็นแบบอย่างในการประเมินผลในปีการศึกษาต่อไป | ได้จัดทำ แบบประเมินผลการอ่านและการเขียนทั้งแบบปรนัยและอัตนัย | นำแบบทดสอบไปทดสอบกับนักเรียนและทำแบบทดสอบในรูปแบบนี้เพิ่มเติมอีก | - | - | ใช่ | นางสายสวาท กันทะมัง | ครูชำนาญการพิเศษ | 932932961 |
18 | 16/3/2016, 14:58:02 | ใช่ | หางดง | บ้านไร่ | - ได้เห็นแนวทางในการเลือกคำยาก-ง่าย มาให้นักเรียนในระดับชั้น ป.1 ในการสอบอ่าน-เขียน และใช้คำต่างๆ ในการฝึกคิดวิเคราะห์ เพื่อหาคำตอบและคิดเป็น | - ได้สร้าง โดยการใช้คำพื้นฐานในระดับชั้น ป.1 โดยเลือกคำมาให้นักเรียนอ่าน และฝึกแต่งประโยค หรือเขียนเป็นเรื่องราวสั้นๆ พอให้อ่านเข้าใจ | - นำไปพัฒนาการสร้างแบบทดสอบ โยการให้เติมคำในช่องว่าง เขียนเป็นเรื่องราวง่ายๆ | - บางคำยากไป ไม่เหมาะกับเด็ก ป.1 | - | ใช่ | นางชนิตา รินทะกะ | ครู | 819983727 |
19 | 16/3/2016, 15:40:29 | ใช่ | หางดง | บ้านแสนตอ | นำผลการทดสอบไปวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนให้ตรงประเด็นเพื่อที่จะแก้ปัญหาการอ่านการเขียนให้ดียิ่งขึ้น | สร้างและได้ใช้แบบทดสอบที่สร้างไว้ ตลอดภาคเรียนสร้างทุกหน่วยการเรียนรู้ ทุกภาคส่วนและทุกปีการศึกษา | นำเอาข้อดีไปใช้เพราะแบบทดสอบที่ให้มามีเกณฑ์กำหนดให้ไม่ถูกต้องหลายข้อ หลายจุด | - | - | ใช่ | นางนิดา สุภัคธนะ | ครูคศ.3 | 084-4888351 |
20 | 16/3/2016, 16:41:21 | ใช่ | สารภี | ชุมชนวัดปากกอง | โรงเรียนนำผลที่ได้ไปปรับปรุงการจัดการเรีนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ทุกคนจัดการเรียนการสอนหรือออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน และติดต่อกับโรงเรียนเดิมที่ส่งต่อ เกี่ยวกับปัญหาของผู้เรียน เพื่อนำผลที่ได้มาแก้ไขปรับปรุงนักเรียนอย่างเร่งด่วน | โรงเรียนได้สร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยเฉพาะวิชาภาษาไทย ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการเรีนรู้ระดับชั้นสูงต่อไป จะเป็นแบบดสอบเริ่มจากง่ายไปหายาก | จะนำรูปแบบไปสร้างแบบทดสอบที่ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้มากขึ้น | ไม่มี | ไม่มี | นางสุภาพร กาวิละ | ครู คศ.3 | 916981358 | |
21 | 16/3/2016, 18:31:58 | ใช่ | หางดง | วัดศรีสว่าง | - นำผลการสอบที่ได้ไปวิเคราะห์ หาจุดเด่น จุดด้อยของนักเรียน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนและการเรียนการสอนต่อไป | - นำมาใช้ในการออกแบบทดสอบวัดผลเพื่อฝึกทักษะนักเรียน และให้นักเรียนคุ้นเคยกับข้อสอบหลาย ๆ แบบ | - นำไปใช้พัฒนาการสร้างแบบทดสอบในระดับชั้น ป.1 และชั้นอื่น ๆ เพื่อฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้ และให้นักเรียนคุ้นเคยกับลักษณะของข้อสอบ | - ควรมีการอบรม ชี้แจง เกี่ยวกับการจัดสอบ การตรวจคะแนน และการรายงานผล ให้ชัดเจน | ปัญหาการควบคุมชั้นเรียน เวลาสอบอ่านนักเรียนเป็นรายบุคคล ควรมีการกำหนดบทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบให้ชัดเจน | ใช่ | นางอัญชณา สืบสกุล | ครูชำนาญการ | 817641813 |
22 | 16/3/2016, 20:38:39 | ใช่ | หางดง | บ้านท้าวบุญเรือง | นำผลการทดสอบไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ โดยทำการวิเคราะห์ผู้เรียนว่า นักเรียนมีระดับความสามารถในระดับใด มีคนใดบ้างที่ควรพัฒนา และควรปรับปรุง ซ่อมเสริม แล้วนำข้อมูลมาจัดทำแผนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กให้อ่านออกเขียนได้ต่อไป | มีการสร้างและใช้แบบทดสอบ ตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ คือมีการสร้างแบบทดสอบทั้งแบบปรนัยและอัตนัย และมีการทดสอบการปฏิบัติการอ่าน การเขียน | จากรูปแบบลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โรงเรียนจะนำไปใช้พัฒนาการสร้างแบบทดสอบให้ครอบคลุมทั้งด้านการอ่าน และการเขียน โดยมีการทดสอบที่ภาคทฤษฏีและปฏิบัติ | ไม่มี | ไม่มี | ใช่ | นางทิวา วีระ | ครูชำนาญพิเศษ | 987499049 |
23 | 16/3/2016, 22:00:28 | ใช่ | ดอยหล่อ | กรป.กลางอุปถัมภ์ | ใช้เป็นข้อมูลนักเรียนเพื่อส่งต่อในชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 | ใช่ | พัชรทัย ชัยวรรณ์ | ครูชำนาญการพิเศษ | 869209960 | ||||
24 | 17/3/2016, 9:51:04 | ใช่ | สันป่าตอง | สันป่าตอง(สุวรรณราษฎร์วิทยาคาร) | นำผลการทดสอบรายบุคคลมาวิเคราะห์และสรุปตามข้อบกพร่องของการสอนหรือการเรียนรู้ เช่น ถ้าการอ่านคำผิดซ้ำๆ ที่คำเดียวก็จะเป็นคำยาก ครูจะต้องปรับกระบวนการจัดการเรียน และฝึกให้มากขึ้น เน้นการแก้ปัญหาที่ตรงจุด จะช่วยให้ครูค้นหาเทคนิค วิธีสอนที่เหมาะสมกับนักเรียน จะได้แก้ปัญหาการอ่านเขียนของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และเป็นการเสริมสร้างพื้นฐานการอ่านของนักเรียน | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจน | 1. วางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย 2. ออกแบบข้อสอบให้สามารถวัดผลและประเมินผลให้ครอบคลุม | - | ควรดำเนินการจัดการสอบอ่านออกเขียนได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ เนื่องจากการสอบในวันที่ 15 มีนาคม โรงเรียนได้ดำเนินการสอนปลายภาคแล้ว ควรจัดสอบก่อนจะสอบปลายภาค เพื่อจะได้ใช้แบบทดสอบเป็นแนวทางในการสอนปลายภาค | ใช่ | นางนิตยา ประสาธน์สุวรรณ์ | ครู ชำนาญการพิเศษ | 835684224 |
25 | 17/3/2016, 10:35:48 | ใช่ | สันป่าตอง | กิ่วแลน้อยประสิทธิ์วิทยา | จากการทดสอบการอ่าน พบว่านักเรียนบางคนอ่านคำว่า ฉุนเฉียว เซ็งแซ่ ไม่ถูก ออกเสียงไม่ชัดเจน ในปีการศึกษาต่อไปต้องวางแผนพัฒนาการอ่านคำที่มีตัง ฉ และ ซ ให้มากขึน ในด้านการเขียนต้องวางแผนพัฒนาในเรืองการเขียนคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ | โรงเรียนได้สร้างแบบทดสอบการอ่านออกเขียนได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยจะมีการทดสอบการอ่านคำพื้นฐานวันละ 20 คำ และทดสอบอ่านคำพื้นฐาน 20 คำทุกวัน นอกจากนี้ยังมีการทดสอบการเขียนเรื่องจากภาพ การแต่งประโยคจากคำพื้นฐานและทดสอบจากการอ่านหนังสือนิทานที่นักเรียนชอบ | จากรูปแบบลักษระข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โรงเรียนจะนำไปใช้ไปพัฒนาการสร้างแบบทดสอบการอ่านโดยสร้างแบบทดสอบการอ่านประโยคเพิ่มขึ้น และแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องให้มากขึ้น | การเขียนเรื่องจากภาพ ช่องว่างที่ให้เด็กเขียนน้อยเกินไป เด็กบางคนเขียนเล่าเป็นเรื่องราวทำให้เนื้อที่ในการเขียนไม่พอ วิธีแก้ไขให้นกเรียนเขียนในกระดาษที่ครูจัดหาให้ | ใช่ | นางเสาวณี ปันเขียว | ครู | 53836343 | |
26 | 17/3/2016, 11:18:39 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดสามหลัง | วางแผนในการจัดการเรียนการสอน ป.1 – ป.3 เรื่อง การอ่านคิดวิเคราะห์ และฝึกฝนการอ่านของนักเรียน อย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง | ได้สร้างข้อสอบตามตัวชี้วัด และการนำเอาคำจากบัญชีพื้นฐานมาสร้างข้อสอบ และสอนซ้ำ ๆ | ในการทำข้อสอบจำนำเอาตัวอย่างไปพัฒนาปรับปรุงให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด และมาตรฐานของหลักสูตร | กรณีที่มีนักเรียนเยอะ ต้องใช้บุคลากรเพิ่ม | ควรมีการจัดสอบอย่างต่อเนื่อง ผลจะเกิดกับนักเรียน และในการจัดชั้นเรียน ป.1 ควรจะให้ความสำคัญสูงสุด | ใช่ | นางแสงจันทร์ คำมาสาร | ครูชำนาญการพิเศษ | 841513388 |
27 | 17/3/2016, 12:11:42 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดท่าโป่ง | นำผลที่ได้ไปวางแผนพัฒนาเด็กที่ยังอ่อนในแต่ละด้าน ด้วยวิธีที่หลากหลาย และวางแผนส่งเสริมเด็กที่ได้ในแต่ละด้านให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบ ทั้งแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แต่อาจจะไม่ครอบคลุมเท่าของสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จะนำไปเป็นแนวทางสร้างแบบทดสอบการอ่านการเขียนเพื่อพัฒนาและส่งเสริมนักเรียนต่อไป | แนวทางการดำเนินการสอบในเรื่องของเวลา ควรใช้เวลาในการสอบให้เหมาะสมตามความสามารถในแต่ละบุคคล | คำศัพท์บางคำ ทั้งการอ่านการเขียน ไม่ตรงกับคำพื้นฐานภาษาไทย ควรเป็นคำศัพท์ที่ตรงกับคำพื้นฐาน | ใช่ | นางสุภาพร ละอูม | ครู | 828988536 |
28 | 17/3/2016, 13:42:30 | ใช่ | สารภี | วัดเทพาราม | ผลการทดสอบจากการสอบนักเรียนนำไปวางแผนการจัดการเรียนรู้ การเรียนการสอน แก้ปัญหาจากการเรียนรู้ การเรียนการสอนในชั้นเรียนต่อไป | ได้ใช้แบบทดสอบในการอ่านเขียนได้ | โรงเรียนนำไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุง และนำไปใช้ในปีต่อไป | - | - | ใช่ | นางธนธรณ์ ชงโคสันติสุข | ครูชำนาญการพิเศษ | 819602022 |
29 | 17/3/2016, 14:16:00 | ใช่ | หางดง | บ้านตองกาย | - นำไปใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนในการอ่านออกเขียนได้ทันที - เป็นการทบทวนวิธีการสอนของครู เพื่อจะได้ปรับวิธีการสอนใหม่ให้เหมาะสมกับผู้เรียนที่มีปัญหานั้น ๆ และสามารถแก้ไขให้ตรงประเด็น | ทางโรงเรียนได้ใช้เป็นแนวทางในการสร้างและใช้แบบทดสอบ การอ่านออกเขียนได้ในการประเมินผู้เรียน และครูผู้สอน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป | 1. มีการสร้างแบบทดสอบโดยมีการวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. มีการวิเคราะห์ระดับพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. มีกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทยที่ถูกต้องตามหลักภาษา และใช้วงคำในบัญชีพื้นฐาน มีการวัดสมรรถนะผู้เรียนทั้ง 3 ด้านคือ การอ่านออก อ่านรู้เรื่อง และเขียนได้ | แบบทดสอบสำหรับการอ่านออกเสียง ประโยค และข้อความ ขนาดของตัวหนังสือเล็กเกินไป ไม่เหมาะสมกับเด็กกลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน ควรแก้ไขโดยวิธีเพิ่มขนาดของตัวหนังสือให้ใหญ่ขึ้น | - ควรปรับเพิ่มเวลาที่ใช้ในการทดสอบการอ่านออกเสียงให้มากขึ้น - ควรปรับเพิ่มขนาดของตัวหนังสือแบทดสอบการอ่านออกเสียงประโยคและข้อความให้ใหญ่ขึ้น ในแบบทดสอบสำหรับนักเรียน | ใช่ | นางวันเพ็ญ กิติยา | ครูโรงเรียนบ้านตองกาย | 817065148 |
30 | 17/3/2016, 14:41:15 | ใช่ | แม่วาง | สโมสรไลออนส์รัตนโกสินทร์ | 1. ทำการคัดกรองนักเรียนที่อ่านและเขียนอยู่ในระดับปรับปรุงเพื่อจะได้วางแผนการแก้ปัญหาและพัฒนาต่อไป 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนแยกตามความสามารถและสอนซ่อมเสริมแก่นักเรียนที่เรียนอ่อน 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเขียนที่หลากหลาย 4. ผู้บริหารนิเทศ กำกับติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง | - ครูผู้สอนใช้แบบทดสอบการประเมินอ่านออกเขียนได้ทำการอย่างต่อเนื่อง | - ใช้เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือการอ่านออกเขียนได้เพื่อทำการพัฒนานักเรียนต่อไป | - | - | ใช่ | นางสาววนิดา โมตาลี | ครูผู้ช่วย | 093-2471150 |
31 | 17/3/2016, 14:41:17 | ใช่ | แม่วาง | สโมสรไลออนส์รัตนโกสินทร์ | 1. ทำการคัดกรองนักเรียนที่อ่านและเขียนอยู่ในระดับปรับปรุงเพื่อจะได้วางแผนการแก้ปัญหาและพัฒนาต่อไป 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนแยกตามความสามารถและสอนซ่อมเสริมแก่นักเรียนที่เรียนอ่อน 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเขียนที่หลากหลาย 4. ผู้บริหารนิเทศ กำกับติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง | - ครูผู้สอนใช้แบบทดสอบการประเมินอ่านออกเขียนได้ทำการอย่างต่อเนื่อง | - ใช้เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือการอ่านออกเขียนได้เพื่อทำการพัฒนานักเรียนต่อไป | - | - | ใช่ | นางสาววนิดา โมตาลี | ครูผู้ช่วย | 093-2471150 |
32 | 17/3/2016, 14:53:28 | ใช่ | ดอยหล่อ | กรป.กลางอุปถัมภ์ | การสอบหรือการเรียนการสอนครั้งต่อไปต้องวิเคราะห์ข้อสอบ ใช้แบบทดสอบที่นักเรียนได้อ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนให้มากกว่าเดิม | ใช้ข้อสอบที่อ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน และหาเหตุผล | ข้อสอบคครั้งต่อไปเน้นอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน | ใช่ | พัชรทัย ชัยวรรณ์ | ครูชำนาญการพิเศษ | 869209960 | ||
33 | 17/3/2016, 15:11:14 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านห้วยน้ำขาว | ได้วิเคราะห์ผลการประเมินเป็นรายบุคคล และได้ทราบว่านักเรียนคนไหนมีจุดอ่อนเรื่องใดไม่เข้าใจเนื้อหาใดก็จะสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ตรงประเด็นเพื่อพัฒนาการอ่านการเขียน ของนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น | โรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบกลางเป็นบางส่วนเนื่องจากทางโรงเรียนมีบุคลากรจำนวนน้อยและไม่ชำนาญในการแต่งข้อสอบตามลักษณะตามข้อสอบกลาง ข้อสอบบางวิชาอาจไม่ได้มาตรฐานและมีองค์ประกอบไม่ครบถ้วน | ทางโรเรียยนจะนำไปใช้พัฒนาการส้างแบบทดสอบโดยจะสร้างให้สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหละกสูตรแกนกลางพศ. 2551 โดยมีสมรรถนะองค์ประกอบตัวชี้วัดและขอบข่ายสาระอย่างครบถ้วนเพื่อให้ได้ข้อสอบที่ดีมีคุณภาพ | ทางโรงเรียนมีบุคลากรน้อยและไม่ชำนาญในการแต่งข้อสอบลักษณะข้อสอบกลางแต่คณะครูจะพยามยามช่วยกันทำหรืออาจจะทำเป็นกลุ่มโรงเรียนเพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ | ควรเพิ่มจำนวนข้อของแบบทดสอบเพื่อจะได้ครอบคลุมเนื้อหามามกขึ้น | ใช่ | นางมณีรัตน์ ยะจา | ครู คศ.3 | 894322579 |
34 | 17/3/2016, 15:31:29 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านดงป่าหวาย | นำผลทดสอบที่ได้มาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีข้อบกพร่องทางด้านใดบ้าง เพื่อใช้วางแผนการจัดการเรียนรู้ และได้ปรับปรุงวิธีการสอนใหม่ให้เหมาะสมกับผู้เรียนที่มีปัญหา วิเคราะห์ผลการประเมินเป็นรายคน ว่าผู้เรียนไม่เข้าใจเรื่องใดจะได้แก้ไขและพัฒนาได้ตรงประเด็น | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบสอดคล้องกับข้อสอบอานออกเขียนได้ โดยประเมินวัดสมรรถนะนักเรียนทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านอ่านออก อ่านรู้เรื่อง และเขียนได้ | จะนำรูปแบบลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการสร้างแบบทดสอบของโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกด้านต่อไป ให้สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 | ใช่ | น.ส.เอื้องเวียงพิงค์ คำมูล | ธุรการ | 894322719 | ||
35 | 17/3/2016, 15:32:07 | ใช่ | สารภี | วัดพญาชมภู | โรงเรียนได้นำผลการทดสอบโดยนำไปวินิจฉัยข้อบกพร่องในเรื่องใดต้องแก้ไข | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบไปเป็นแนวทาง | สร้างแบบทดสอบนำไปเป็นตัวอย่าง | - | - | ใช่ | นายเกรียงไกร สมการณ์ | ครู คศ.3 | 892657249 |
36 | 17/3/2016, 15:39:33 | ใช่ | แม่วาง | บ้านห้วยข้าวลีบ | จัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ โดยใช้สื่อและนวัตกรรมเพื่อฝึกทักษะการอ่านเขียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย | โรงเรียนได้สร้างและได้ใช้ฝึกทักษะนักเรียนที่มาเรียนเป็นประจำ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการอ่านและการเขียน | ใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียน และนักเรียนจะได้คุ้นเคยรูปแบบของแบบทดสอบ | ในการจัดสอบครูเพิ่มเวลาในการสอบ | ควรให้เวลาในการสอบมากกว่านี้ เพราะบางครั้งนักเรียนขาดสอบ เนื่องจากไม่สบาย | ใช่ | นางบัวผิน ไชยโสภา | ครู | 871852770 |
37 | 17/3/2016, 16:16:29 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดกู่คำ (เมธาวิสัยคณาทร) | นักเรียนที่มีผลการทดสอบการอ่านและเขียนในระดับพอใช้ 3 คน ได้ส่งต่อข้อมูลให้ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เพื่อนำไปวางแผนการจัดการเรียนรู้ในปีการศึกษา 2559 ต่อไป | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ของสำนักทดสอบทางการศึกษา | ในปีการศึกษา 2559 จะพัฒนาการสร้างแบบทดสอบการอ่านรู้เรื่อง ตั้งแต่ปลายภาคเรียนที่ 1 โดยใช้คำง่าย ๆ และข้อความสั้น ๆ ก่อน และปรับให้ยากขึ้นในปลายภาคเรียนที่ 2 | นักเรียนที่อ่านช้า คุณครูได้เพิ่มเวลาในการให้มากขึ้น | 1. นักเรียนบางคนอ่านช้า จึงต้องใช้เวลาในการอ่านมากขึ้น 2. ควรเพิ่มเวลาในการอ่านสำหรับนักเรียนที่อ่านช้า | ใช่ | นางทองพูน มณีวรรณ์ | ครู | 896366799 |
38 | 17/3/2016, 18:26:24 | ใช่ | สันป่าตอง | สันป่าตอง | นำไปเป็นแนวทางในการทำแบบฝึก เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการเรียนรู้ด้านการอ่านและเขียนที่มีคุณภาพ | ทางโรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามตัวชี้วัด โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ | โรงเรียนจะนำไปเป็นตัวอย่างในการพัฒนาจัดทำข้อสอบในครั้งต่อไป | ข้อสอบ (คำศัพท์) ยากไป ไม่เหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นนักเรียนชนเผ่า | - | ใช่ | นางธัญพร เตชะรัง | ครู คศ.3 | 869112646 |
39 | 17/3/2016, 18:27:06 | ใช่ | ดอยหล่อ | วัดศรีดอนชัย | 1. รายงานผู้บริหาร 2. นำผลการทดสอบไปปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนของนักเรียน 3. นำแนวทางจากแบบทดสอบไปพัฒนานักเรียนและส่งผลการประเมินให้กับชั้นป.2 | โรงเรียนได้สร้างแบบทดสอบคล้าย ๆ ใกล้เคียงกับข้อสอบ แต่แบบทดสอบการเขียนตามคำบอกเป็นคำที่นักเรียนไม่คุ้นเคยและส่วนใหญ่ไม่มีในคำพื้นฐาน จึงทำให้ร้อยละของการเขียนน้อยมาก | นำแบบทดสอบไปเป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนในปีการศึกษาต่อไป | การกำหนดคณะกรรมการการสอบต้องระบุจำนวนกรรมการต่อนักเรียนให้เหมาะสม เช่น นักเรียน 10 คน ต่อครู 1 คน | ไม่มี | ใช่ | นางนงลักษณ์ แก้ววงศ์ดี | ครูชำนาญการพิเศษ | 843782741 |
40 | 17/3/2016, 18:59:31 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดท้องฝาย | วางแผนปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป | ทางโรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามตัวชี้วัด | ทางโรงเรียนจะใช้เป็นตัวอย่างในการพัฒนาจัดทำข้อสอบในครั้งต่อไป | เป็นการทดสอบที่ดี สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนได้ตรงตามคุณภาพ แต่ค่อนข้างยากสำหรับนักเรียน | - | ใช่ | นางธันยพร สิทธิมูล | ครู คศ.3 | 931355368 |
41 | 17/3/2016, 20:03:04 | ใช่ | แม่วาง | วัดทุ่งศาลา | นำไปวางแผนจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษาการอ่านและการเขียน | โรงเรียนได้จัดทำแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบการอ่านออก เขียนได้ โดยยึดแนวตามตัวชี้วัดของหลังสูตรและใช้คำพื้นฐานและแนวทางในในการจัดทำแบบทดสอบ | นำลักษณะข้อสอบการอ่านออกเขียนได้ไปวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดกับนักเรียนและประยุกต์ใช้โดยยึดตามตัวชี้วัดของหลักสูตร จัดกิจกรรมที่เน้นทักษะการฝึกทักษะการอ่าน/เขียน ทุกวัน เพื่อพัฒนาการอ่านเขียนจนคล่องแคล่ว | จำนวนข้อสอบมีค่อนข้างมาก และมีความหลากหลายมากเกินไป นักเรียนเกิดความรู้สึกอ่อนล้า | ควรจัดให้มีการทดสอบลักษณะนี้บ่อยๆ อาจเป็นเดือนละครั้ง เหมือนกับการทดสอบความสามารถด้านการอ่านเขียนไทย | ใช่ | นางคนึงนิตย์ คำจินะ | ครู | 844832159 |
42 | 17/3/2016, 21:10:41 | ใช่ | ดอยหล่อ | วัดวังขามป้อม | ได้นำผลการประเมินอ่านออกเขียนได้ในครั้งที่ 1 มาปรับใช้ และแก้ไขนักเรียนที่มีความบกพร่องการอ่าน การเขียน ทำให้นักเรียนมีพัฒนาการดีขึ้น และจะใช้ผลการประเมินครั้งที่ 2 เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนต่อไป | จัดทำข้อสอบอิงมาตรฐานและตัวชี้วัด และฝึกให้นักเรียนทำแบบทดสอบที่มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน | จัดแบบทดสอบที่เน้นการพัฒนาความรู้ของนักเรียน ตามระดับความยากง่าย เช่นในภาคเรียนที่ 1 ะเน้นการอ่านประสมสระเดี่ยว คำที่ไม่มีตัวสะกด แต่มีการผันวรรณยุกต์ ภาคเรียนที่ 2 เน้นเรื่องประโยค คำที่ประสมสระ มีตัวสะกด เป็นต้น | - | เด็กระดับ ป.1 มีการประเมินการสอบบ่อยมาก ทำให้เด็กเบื่อ และไม่เห็นความสำคัญของการประเมินเท่าที่ควร | ใช่ | นางณัทธิยา พงศ์ตุ้ย | ครู | 861958841 |
43 | 18/3/2016, 0:46:16 | ใช่ | แม่วาง | บ้านหนองเต่า | นำไปพัฒนาและวางแผนการสอนซ่อมเสริมในเด็กอ่อน | ทดสอบจากแบบฝึกอ่าน หนังสือเรียนภาษาไทยชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 | ข้อสอบด้านการปฏิบัติ ( การอ่าน ) และแบบทดสอบ การเขียนตามคำบอล | สอบเวลาใกล้จะปิดเทอม เนื่องจาก มีงานหลายอย่างชนกัน ทำให้ไม่สะดวกที่สอบเด็กนักเรียน | ใช่ | นางสาวรัชนู สุขอ้าย | ครูผู้ช่วย | 856183536 | |
44 | 18/3/2016, 0:48:05 | ใช่ | แม่วาง | พัฒนาต้นน้ำที่ 5 ขุนวาง | สอนซ่อมเสริมสำหรับเด็กนักเรียนที่อ่อน และเสริมทักษะนักเรียนที่อ่านได้อยู่แล้ว | ใช้ในการเขียนตามคำบอก และการอ่านคำพื้นฐานหน้าชั้นเรียน | นำมาใช้สอบเก็บคะแนน ในการสอบเขียนตามคำบอก | ใช่ | นางสาวสัชญา คำไชยเทพ | ครูอัตราจ้าง | 881567990 | ||
45 | 18/3/2016, 0:49:19 | ใช่ | แม่วาง | หลวงพัฒนาบ้านขุนวาง | นำมาสอนซ่อมเสริม ในนักเรียนที่อ่านได้ค่อยได้ในตอนเย็นหลังเลิกเรียน | นำมาทดสอบการอ่าน และ การเขียนตามคำบอก | แบบทดสอบการเขียนตามคำบอก | ใช่ | นายภูวดล ประเสริฐยา | ครูผุู้ช่วย | 881567990 | ||
46 | 18/3/2016, 8:53:21 | ใช่ | หางดง | บ้านสันผักหวาน | โดยการทำโครงการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ-ส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้จัดทำวิจัยในชั้นเรียน การแบ่งกลุ่ม ผู้เรียนตามความสามารถ ซ่อมเสริมนักเรียนกลุ่มอ่อน | ได้ใช้ โดยการออกแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ เพราะสามารถวัดทักษะได้ทุกด้านและแบบทดสอบมีความยาก-ง่ายที่เหมาะสมกับ ชั้น ป.1 | โรงเรียนจะส่งเสริมให้ครูผู้สอนสร้างแบบทดสอบที่จัดทักษะได้ทุกด้านและสอดคล้องกับตัวชี้วัด ทั้งเก็บข้อสอบหรือแบบทดสอบให้เป็นระบบมากขึ้น | การอ่านออกเสียง ควรเพิ่มเวลาในการอ่าน เนื่องจากนักเรียนชั้น ป.1 ยังอ่านไม่คล่อง | - | ใช่ | นางวิไลศักดิ์ กาพย์ไชย | ครู คศ.3 | 087-1745357 |
47 | 18/3/2016, 10:45:19 | ใช่ | หางดง | บ้านวังศรี | โรงเรียนได้นำผลการทดสอบไปใช้ในการจัดการบวนการเรียนรู้ โดยคัดกรองนักเรียนต่อไป | ได้จัดทำ แบบประเมินผลการอ่านและการเขียน โดยใช้คำพื้นฐานในการแต่งประโยค เขียนตามคำบอก | โรงเรียนจะนำข้อสอบมาวิเคราะห์ และ ใช้ในการพัฒนาสร้างแบบทดสอบให้ตรงกับพื้นฐานในการเรียนต่อไป | ไม่มี | ไม่มี | ใช่ | นางสมเพชร พงษ์ปวน | ครูชำนาญการพิเศษ | 894344353 |
48 | 18/3/2016, 10:52:01 | ใช่ | สารภี | วัดกองทราย | ใช่ | นางพิกุล ประสิทธิพันธ์ | ครูชำนาญการพิเศษ | 815948277 | |||||
49 | 18/3/2016, 12:50:42 | ใช่ | สารภี | วัดเวฬัุวัน | นำผลการทดสอบไปใช้ในการพัฒนานักเรียนในระดับชั้นป.2 ปีการศึกษา 2559 ต่อไป โดยมีการแจ้งให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนานักเรียน คือ ครูผู้สอน ผู้ปกครอง ได้รับทราบข้อมูลผลการทดสอบของนักเรียนรายบุคคล | มีการสร้างและใช้แบบทดสอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยสร้งเป็นแบบฝึก,ใบงาน ตามตัวชี้วัดเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักทักษะด้านการอ่านออกเขียนได้และคิดวิเคราะหฺ์ | โรงเรียนจะนำรูปแบบลักษณะของข้อสอบอ่านออกเขียนได้ไปปรับใช้กับนักเรียนชั้นป.ปีการศึกษา 2559 และ ใช้พัฒนานักเรียนในระดับชั้นป.2 ปีการศึกษา 2559 ต่อไป | ไม่มี | ควรมีการประเมินการอ่านออกเขียนได้ทุกระดับชั้นและควรมีการสร้างแบบทดสอบแบบฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์ให้นักเรียนได้ประเมิน | ใช่ | นางธนพร อนุสรพรพงศ์ | ครู | 091-0670851 |
50 | 18/3/2016, 13:34:11 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านดอยหล่อ | นำไปพัฒนานวัตกรรม การจัดทำแผนและสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละบุคคล | มีการสร้างและใช้แบบทดสอบก่อนที่จะมีการสอบ และพัฒนาตามความสามารถ | ศึกษาสำรวจความสามารถของนักเรียน และตัวบ่งชี้ในหลักสูตรสร้างแบบทดสอบ นำแบบทดสอบไปทดลองใช้ และพัฒนาแบบทดสอบให้ดีขึ้น | ควรมีการทดสอบต่อเนื่องทุกภาคเรียน และเพิ่มจำนวนข้อสอบให้มากขึ้น | ใช่ | น.ส.เอื้องเวียงพิงค์ คำมูล | ธุรการ | 089-4322719 | |
51 | 18/3/2016, 13:50:54 | ใช่ | สารภี | วัดสันดอนมูล | วางแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัด กิจกรรม สื่อ การวัดผล ประเมินผล ตามเนื้อหา | ใช้ | พัฒนาแบบทดสอบให้ครอบคลุม สอดคล้อง กับมาตรฐานตัวชี้วัดตามหลักสูตร | - | ข้อเสนอแนะ ควรจะมีการประเมินผลการอ่านออกเขียนได้ ในทุกระดับชั้น | ใช่ | นางบานเย็น พงศธรพิพัฒน์ | ครูโรงเรียนวัดสันดอนมูล | 981027299 |
52 | 18/3/2016, 14:19:24 | ใช่ | สารภี | บ้านปากเหมือง | นำไปปรับปรุงข้อบกพร่องของนักเรียนในเรื่องด้านการอ่าน เขียนสะกดคำ การวิเคราะห์ ซึ่งยังมีผลสัมฤทธิ์ที่ต่ำกว่าเกญฑ์ | มีการสร้างแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ แต่ยังมีจำนวนน้อยอยู่ | จะนำไปใช้ในการพัฒนาการสร้างแบบทดสอบให้มากขึ้น โดยดูแบบอย่างจากแบบทดสอบที่นำมาใช้ | ข้อแก้ไข ภาพประกอบยังไม่ชัดเจน บางภาพมีขนาดเล็กเกินไป | ข้อแก้ไข ภาพประกอบยังไม่ชัดเจน บางภาพมีขนาดเล็กเกินไป | ใช่ | นายสามารถ จันทร์แจ่ม | ครูชำนาญการพิเศษ | 828919916 |
53 | 18/3/2016, 14:45:16 | ใช่ | สารภี | วัดท่าต้นกวาว | มีการวางแผนให้เด็กที่เริ่มเรียนชั้นป.1 ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ความแม่นยำ เรื่องของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ซึ่งภาคเรียนที่ 2 ต้องเพิ่มตัวสะกดอีก ครูต้องสอนเด็กแบบย้ำอ่าน ย้ำเขียน บ่อย ๆ | ได้สร้างเพื่อนำไปใช้ในการฝึกทักษาเด็กนอกดหนือจากในแบบเรียน | เพิ่มเติมแบบทดสอบโดยใช้คำพื้นฐานของชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ต่อยอดเรื่องของคำตรงข้าม คำคล้องจอง | รูปภาพประกอบควรชัดเจน | - | ใช่ | นางสาวแสงจันทร์ ใจแก้ว | ครูชำนาญการ | 817160580 |
54 | 18/3/2016, 14:49:55 | ใช่ | ดอยหล่อ | วัดหนองหลั้ว | จากผลการทดสอบ จะเห็นความสามารถและความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้นั้น ต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยการจัดเตรียมแผนการเรียนรู้ สื่อ ให้เหมาะสมกับนักเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามศักยภาพของนักเรียน | ไม่ได้จัดทำแบบนี้ แต่จะใช้แบบทดสอบตามความสามารถของนักเรียน | โรงเรียนจะนำไปใช้พัฒนาการสร้างแบบทดสอบ โดยนำมาวิเคราะห์ให้เหมาะสมกับความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยแยกเด็กเก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน เด็กพิเศษ | ใช่ | นางสลักจิตร์ โลกคำลือ | ครูชำนาญการพิเศษ | 819801367 | ||
55 | 18/3/2016, 15:27:51 | ใช่ | ดอยหล่อ | วัดดอนชื่น | นำมาวางแผนในการซ่อมเสริมเด็กที่เรียนอ่อน | ใช้แบบทดสอบการอ่านการเขียนของเขตพื้นที่ (ข้อสอบกลาง) | สร้างแบบฝึกอ่านและทำเป็นรูปแบบในการผลิตสื่อการเรียนการสอน | ข้อสอบบางส่วนไม่ชัดเจน เช่น ข้อสอบโยงภาพแยกจากกันไม่ชัดเจน | ควรจัดข้อสอบให้ชัดเจน ข้อสอบควรมีตัวอักษรขนาดเหมาะสมกับวัยของเด็ก การวางภาพติดกันเกินไป จำนวนข้อมากไป | ใช่ | นางรัชนีลาวัลย์ ศิริตันติวัฒน์ | ครูชำนาญการพิเศษ | 625687143 |
56 | 18/3/2016, 15:46:18 | ใช่ | สันป่าตอง | บ้านห้วยส้ม | - นำไปใช้พัฒนานักเรียนในรุ่นใหม่ต่อๆ ไป - นำส่วนที่อาจมีข้อผิดพลาด ปรับปรุง และพัฒนาให้ดี และเหมาะสมต่อไป | ได้สร้างแบบทดสอบ โดยยึดเอามาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตร เพื่อให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมายของชั้นเรียน | ใช้พัฒนาผู้เรียน และจัดหาสื่อ เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตามมาตรฐาน | - | - | ใช่ | นางจันทรา แปงบุญเลิศ | ครู คศ.3 | 899507626 |
57 | 18/3/2016, 15:50:26 | ใช่ | สารภี | ชุมชนวัดศรีคำชมภู | ปรับวิธีการสอนให้เหมาะสมกับกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหานั้นๆ ถ้านักเรียนไม่เข้าใจเรื่องใดก็จะมามารถแก้ไขและพัฒนาให้ตรงประเด็น | ได้สร้างและใช้บ้าง ในการจัดทำแบบฝึกหัดภาษาไทยในชั้นเรียน | การเริ่มทำแบบทดสอบจากระดับการรู้เรื่องคำ ประโยค และกลุ่มคำหรือข้อความสั้นๆ ตามลำดับ นั่นคือการสร้างแบบทดสอบจากเรื่องง่ายไปหาเรื่องยาก | - | - | ใช่ | นางนงค์นุช วงค์เยาว์ | ครู | 089-8356577 |
58 | 18/3/2016, 16:53:07 | ใช่ | หางดง | บ้านทรายมูล | ศึกษาจากหลักสูตรโครงสร้างสาระภาษาไทยชั้นป1 ของโรงเรียน กรอบโครงสร้างแบบทดสอบจากสพฐ. ข้อมูลสภาพที่แท้จริงของนักเรียนสู่แผนการจัดการเรียนรู้ ใบงาน ชิ้นงาน และการซ่อมเสริม | ใช้แนวเดียวกัน และจากแบบทดสอบออนไลน์เวปไซด์การศึกษาต่างๆที่นำมาเผยแพร่ | การพัฒนาแบบทดสอบครั้งต่อไปจะศึกษาจากกรอบโครงสร้างแบบทดสอบของสพฐ.เป็นแนวในการแต่งแบบทดสอบเพื่อพัฒนาการอ่านการเขียนให้ตรงเป้าหมายที่ตั้งไว้ | _ | _ | ใช่ | นางสมหมาย ไชยวันดี | ครู | 998180870 |
59 | 18/3/2016, 17:12:07 | ใช่ | แม่วาง | บ้านทุ่งหลวง | จากผลการทดสอบ การอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งหลวง ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ นี้ ทางโรงเรียนได้เห็นผลของการทดสอบของนักเรียนแล้ว และจะนำผลการทดสอบมาวางแผนการจัดการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ ๑, การอ่านออกเสียง นักเรียนสามารถ อ่านคำ ประโยค และข้อความได้ แต่สิ่งที่ต้องเพิ่มเติมคือ การผันอักษรสามหมู่ การอ่านคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ และคำที่มีอักษรนำ ให้มากกว่าเดิม ๒.การอ่านรู้เรื่อง นักเรียน สามารถอ่าน คำ ประโยค และข้อความได้ แต่นักเรียนยังต้องฝึก การบอกความหมายของคำที่อ่าน การจับใจความสำคัญ การบอกข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านเพิ่มเติม ๓. การเขียนคำตามคำบอก เขียนประโยค เขียนอิสระ นักเรียนสามารถเขียนได้ แต่ควรพัฒนาการเขียนคำตามคำบอก เพราะนักเรียนเป็นชาวเขามักเขียนตามคำพูดของนักเรียน เพิ่มการฝึกทักษะการเขียนคำตามคำบอก พร้อมให้นักเรียนเห็นรูปภาพของสิ่งที่นักเรียนได้เขียน | ทางโรงเรียนได้สร้าง และใช้แบบทดสอบการอ่านออกเขียนได้ ตามลักษณะของข้อสอบ เพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียนมาโดยตลอด | ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน การสร้างแบบฝึก การสร้างสื่อ การสร้างแบบทดสอบ ให้หลากหลายรูปแบบ เพื่อฝึกให้นักเรียนสามารถ อ่านออก อ่านรู้เรื่อง และการเขียนได้ | การจัดการสอบนับเป็นสิ่งที่ดี เพื่อให้ครูสามารถใช้ข้อมูลที่ได้ในการพัฒนาและหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนในภาคเรียนต่อไปได้ จุดด้อย ข้อบกพร่อง เกิดจากนักเรียนของเราเป็นชาวเขา ทำให้นักเรียนอ่านได้ แต่ไม่ค่อยเข้าใจความหมายของคำในบางคำ | จากการจัดการสอบในครั้งนี้ พบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งหลวง ทุกคนสามารถอ่านหนังสือได้ แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์สรุปใจความสำคัญ เนื่องมาจากกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูยังต้องเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์และสรุปความ พร้อมทั้งการฝึกตอบคำถามให้กับเด็ก และปัญหาการเขียนเกิดจากนักเรียนใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่สองทำให้นักเรียนเขียนคำไม่ถูกต้อง และครูยังขาดสื่อการเรียนที่เสริมให้นักเรียนรู้จักความหมายของคำ | ใช่ | นางส | ||
60 | 18/3/2016, 17:15:39 | ใช่ | แม่วาง | บ้านทุ่งหลวง | จากผลการทดสอบ การอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งหลวง ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ นี้ ทางโรงเรียนได้เห็นผลของการทดสอบของนักเรียนแล้ว และจะนำผลการทดสอบมาวางแผนการจัดการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ ๑, การอ่านออกเสียง นักเรียนสามารถ อ่านคำ ประโยค และข้อความได้ แต่สิ่งที่ต้องเพิ่มเติมคือ การผันอักษรสามหมู่ การอ่านคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ และคำที่มีอักษรนำ ให้มากกว่าเดิม ๒.การอ่านรู้เรื่อง นักเรียน สามารถอ่าน คำ ประโยค และข้อความได้ แต่นักเรียนยังต้องฝึก การบอกความหมายของคำที่อ่าน การจับใจความสำคัญ การบอกข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านเพิ่มเติม ๓. การเขียนคำตามคำบอก เขียนประโยค เขียนอิสระ นักเรียนสามารถเขียนได้ แต่ควรพัฒนาการเขียนคำตามคำบอก เพราะนักเรียนเป็นชาวเขามักเขียนตามคำพูดของนักเรียน เพิ่มการฝึกทักษะการเขียนคำตามคำบอก พร้อมให้นักเรียนเห็นรูปภาพของสิ่งที่นักเรียนได้เขียน | ทางโรงเรียนได้สร้าง และใช้แบบทดสอบการอ่านออกเขียนได้ ตามลักษณะของข้อสอบ เพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียนมาโดยตลอด | ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน การสร้างแบบฝึก การสร้างสื่อ การสร้างแบบทดสอบ ให้หลากหลายรูปแบบ เพื่อฝึกให้นักเรียนสามารถ อ่านออก อ่านรู้เรื่อง และการเขียนได้ | การจัดการสอบนับเป็นสิ่งที่ดี เพื่อให้ครูสามารถใช้ข้อมูลที่ได้ในการพัฒนาและหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนในภาคเรียนต่อไปได้ จุดด้อย ข้อบกพร่อง เกิดจากนักเรียนของเราเป็นชาวเขา ทำให้นักเรียนอ่านได้ แต่ไม่ค่อยเข้าใจความหมายของคำในบางคำ | จากการจัดการสอบในครั้งนี้ พบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งหลวง ทุกคนสามารถอ่านหนังสือได้ แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์สรุปใจความสำคัญ เนื่องมาจากกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูยังต้องเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์และสรุปความ พร้อมทั้งการฝึกตอบคำถามให้กับเด็ก และปัญหาการเขียนเกิดจากนักเรียนใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่สองทำให้นักเรียนเขียนคำไม่ถูกต้อง และครูยังขาดสื่อการเรียนที่เสริมให้นักเรียนรู้จักความหมายของคำ | ใช่ | นางสงกรานต์ พิพัฒน์หฤทัยกุล | ครู | 931390464 |
61 | 18/3/2016, 20:31:54 | ใช่ | หางดง | วัดจอมทอง | โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบวินิจฉัยการเรียนจะทำให้ทราบว่านักเรียนมีจุดบกพร่องทางใด มากน้อยแค่ไหน ซึ่งจะสามารถแก้ไขปรับปรุงโดยการสอนซ่อมเสริมได้ตรงจุด เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ | โรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบ ตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยนำมาปรับปรุงให้สอดคล้องกับบทเรียน | โรงเรียนจะนำไปใช้พัฒนาการสร้างแบบทดสอบโดยให้ครอบคลุมในเนื้อหาที่เรียน นำคำศัพท์พื้นฐานมาใช้ในการอ่าน แต่งประโยค เขียนตามคำบอก และฝึกวิเคราะห์ | ไม่มี | ไม่มี | ใช่ | นางวีณา อินต๊ะจันทร์ | ครูชำนาญการพิเศษ | 861872811 |
62 | 18/3/2016, 22:47:25 | ใช่ | แม่วาง | บ้านห้วยตอง | จากผลการทดสอบ ทางโรงเรียนจะวางแผนการจัดการเรียนรู้ นอกจากฝึกสะกดคำ เขียนตามคำบอก แต่งประโยคทั้งจากภาพและคำศัพท์ ยังต้องทำแบบฝึกเกี่ยวกับการรวมคำของกลุ่มคำ โดยปกติจะสอนเป็นคำ เช่น เที่ยว เพื่อน แต่แบบทดสอบ จะเป็น ท่องเที่ยว เพื่อนเกลอ ซึ่งทางโรงเรียนจะเพิ่มเติมแบบฝึกหัดแนวนี้ เพื่อให้เด็กคุ้นชินและรู้สึกว่าไม่ยาก | ไม่ได้สร้างเป็นแบบทดสอบ แต่สร้างเป็นแบบฝึกหัด โดยเฉพาะแบบฝึกหัดเกี่ยวกับการฝึกแต่งประโยค ทั้งจากรูปภาพและคำศัพท์จากบัญชีคำพื้นฐาน และคำนำเรื่องแต่ละบทในภาษาพาที ส่วนเขียนตามคำบอก มีการเขียนทุกเช้าก่อนเรียนวิชาภาษาไทย | สร้างแบบทดสอบทั้งการอ่านและการเขียน | ไม่มี | ไม่มี | ใช่ | นางชญานี นาตัน | ครู | 932707466 |
63 | 19/3/2016, 20:44:03 | ใช่ | แม่วาง | วัดศิริชัยนิมิตร | พิจารณาจากผลการทดสอบว่าเรื่องใดที่ยังมีปัญหา ต้องปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนาให้มีคุณภาพตามความคาดหวังที่ตั้งไว้ โดยการวิเคราะห์ปัญหาที่พบว่าเกิดจากสาเหตุใด เพื่อกำหนดแนวทางการแก้ปัญหา/พัฒนา ตามสาเหตุและจัดลำดับความสำคัญหรือความต้องการจำเป็นในการพัฒนา คิดค้น แสวงหาและจัดทำนวัตกรรม เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ | โรงเรียนสร้างแบบทดสอบยังมีขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบไม่ครบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยโรงเรียนสร้างแบบทดสอบมีขั้นตอน ดังนี้ 1.การกำหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบทดสอบ 2.กำหนดเนื้อหาที่จะสร้างแบบทดสอบ 3.กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในแต่ละเนื้อหา แต่ยังขาดตารางกำหนดลักษณะของแบบทดสอบ | โรงเรียนสร้างแบบทดสอบโดย เพิ่มเติมขั้นตอนที่ 4 ในการสร้างแบบทดสอบ ดังนี้ 1.การกำหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบทดสอบ 2.กำหนดเนื้อหาที่จะสร้างแบบทดสอบ 3.กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในแต่ละเนื้อหา 4.ตารางกำหนดลักษณะของแบบทดสอบ | ไม่มี | ใช่ | นางจิลดา สุธรรมทาน | ครูชำนาญการพิเศษ | 810308275 | |
64 | 20/3/2016, 10:27:56 | ใช่ | แม่วาง | แม่วินสามัคคี | วางแผนการจัดการเรียนรู้ นอกจากการฝึกสะกดคำ เขียนตามคำบอก แต่งประโยคทั้งจากภาพและคำศัพท์ ทั้งนี้ยังต้องทำแบบฝึกทักษะการสะกดคำ ข้อความ กลุ่มคำ เพื่อให้เด็กคุ้นชิน | ไม่ได้สร้างแบบทดสอบ แต่ได้สร้างเป็นแบบฝึกทักษะ โดยเฉพาะการฝึกแต่งประโยคและเขียนเรื่องจากภาพ และมีการเขียนไทยจากบัญชีคำพื้นฐาน | สร้างแบบทดสอการอ่านและการเขียน | ไม่มี | ไม่มี | ใช่ | นางสุกัญญา จันทิมา | ครู คศ.1 | 939255722 |
65 | 20/3/2016, 14:01:17 | ใช่ | หางดง | วัดคีรีเขต | วางแผนสอนเสริมการอ่านและการเขียนสำหรับนักเรียนที่ได้คะแนนต่ำ | ได้สร้าง | นำสร้างแบบทดสอบกับหน่วยจัดการเรียนรู้ให้มากขึ้นหรือทุกหน่วยการเรียนรู้ | การให้น้ำหนักของคะแนนความให้เป็น 1 คะแนน หรือ 0.5 คะแนน | ไม่มี | ใช่ | นางสาวกรรณิการ์ วาณิชประดิษฐ์ | ครูธุรการ | 931316080 |
66 | 20/3/2016, 14:08:22 | ใช่ | หางดง | วัดประชาเกษม | จากผลสอบ จะได้นำผลการสอบไปวางแผนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ให้เพิ่มการอ่านมากขึ้น | ไม่ได้ใช้ตามลักษณะของข้อสอบ แต่ทำข้อสอบมาเอง โดยใช้บัตรภาพให้นักเรียนอ่านเขียนตามบัตรภาพ บัตรคำพื้นฐาน แล้วทำการประเมิน | จะนำไปพัฒนาด้านการอ่าน เขียน โดยสร้างข้อสอบ แล้วนำมาทดสอบนักเรียน | ไม่มี | ไม่มี | ใช่ | นางสาวกรรณิการ์ วาณิชประดิษฐ์ | ครูธุรการ | 931316080 |
67 | 20/3/2016, 21:30:19 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านหัวข่วง | นำไปใช้ | โรงเรียนได้ฝึกให้นักเรียนปฏิบัติตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ แบบฝึกย้ำซ้ำทวน อย่างหลากหลายแบบ ในการทดสอบระหว่างเรียน จากแบบฝึกทักษะและจากการอ่าน การเขียน แล้วบันทึกความก้าวหน้าทุกครั้ง | ทำเป็นรูปแบบฝึกทักษะ และทำเป็นรูปเล่ม และฝึกปฏิบัติ บันทึกความก้าวหน้า การอ่าน การเขียน และทดสอบระหว่างเรียนให้การชี้แนะแก้ไข และฝึกย้ำซ้ำทวนด้วย | ข้อสอบการอ่านรู้เรื่อง รูปภาพ เล็ก และควรเว้นระยะรูปภาพ เด็กที่อ่านจะสับสน เพราะภาพติดกัน | - | ใช่ | น.ส.พรวลัย แก้วใจชื่น | จนท.ธุรการ | 08 1992 6935 |
68 | 21/3/2016, 10:05:05 | ใช่ | แม่วาง | บ้านพันตน | ทางโรงเรียนได้จัดทำโครงการพัฒนาการสอนอ่านออกเขียนได้ น.ร. ป.1 ซึ่งเป็นการยกระดับผลสำฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ป.1 โดยมีกิจกรรมได้แก่ การสร้างเครื่องมือสำหรับตรวจสอบการอ่านการเขียน การสร้างแบบฝึกการอ่าน เขียน และการส่งครูผู้สอนภาษาไทย เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถด้านองค์ความรู้ และด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน | โรงเรียนได้สร้างเครื่องมือสำหรับตรวจสอบการอ่านเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้น ป.1 สร้างแบบฝึกการอ่านการเขียนภาษาไทยและนำไปฝึกนักเรียนรายบุคคล | โรงเรียนจะพัฒนาเครื่องมือสำหรับตรวจสอบการอ่านการเขียนภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ป.1 โดยการนำข้อมูลการอ่านการเขียนของ นักเรียน เป็นรายบุคคล ในปีปัจจุบันไปปรับปรุงตามข้อบกพร่องและพัฒนาแบบฝึกการอ่านและการเขียนให้ครอบคลุมตามตัวชี้วัดและให้มีแบบฝึกที่หลากหลายมากขึ้น | - | - | ใช่ | นางมนัญญา อมาตยกุล | ครู คศ.3 | 946092687 |
69 | 21/3/2016, 11:56:51 | ใช่ | หางดง | บ้านสันทราย | โรงเรียนได้นำผลการทดสอบในการวางแผนหาแนวทางในการพัฒนานักเรียนที่มีผลคะแนนไม่ถึงเกณฑ์ นักเรียนที่มีผลการอ่านพอใช้ เพื่อพัฒนาให้มีการอ่านที่ดีขึ้น โดยวิเคราะห์หาคำที่นร.ส่วนใหญ่อ่านไม่คล่อง เพื่อนำคำนั้นมาเสริมให้กับนักเรียนในภาคเรียนต่อไป | โรงเรียนได้สรา้งและใช้แบบทดสอบตามลักษณะการวัดและประเมินผลการอ่าน โดยใช้คำพื้นฐานในบัญชีคำ มีการทดสอบที่ครอบคลุมทั้งการอ่านและการเขียน | โรงเรียนจะได้พัฒนาการสรา้งและใช้แบบทดสอบตามลักษณะการวัดและประเมินผลการอ่าน โดยใช้คำพื้นฐานในบัญชีคำ มีการทดสอบที่ครอบคลุมทั้งการอ่านและการเขียน และมีการประเมินครบทั้ง 3 ด้านตามมาตรฐาน | นักเรียนในโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กต่างด้าว ทำให้การอ่านออกเสียงไม่ชัดเจนตามหลักการอ่าออกเสียง | นักเรียนในโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กต่างด้าว ทำให้การอ่านออกเสียงไม่ชัดเจนมาก | ใช่ | นางชุติมา กันทวีชัย | ครูชำนาญการพิเศษ | 894348066 |
70 | 21/3/2016, 14:11:38 | ใช่ | สารภี | โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ | ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนในปีต่อไป | ได้ดำเนินการโดยใช้แนวทางของแบบทดสอบดังกล่าว | ให้นักเรียนในปีการศึกษาต่อไปได้ฝึกตามแนวลักษณะข้อสอบดังกล่าว | - | - | ใช่ | นางสมจิตร เดชปัญญา | คศ.3 | 871774033 |
71 | 21/3/2016, 14:12:08 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านเจริญสามัคคี | นำไปใช้ในการพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ในปีต่อ ๆ ไป | โรงเรียนได้ดำเนินการสร้างแบบทดสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 | ทำเป็นรูปแบบฝึกทักษะ และทำเป็นรูปเล่ม และฝึกปฏิบัติ บันทึกความก้าวหน้า การอ่าน การเขียน และทดสอบระหว่างเรียนให้การชี้แนะแก้ไข | ข้อสอบการอ่านรู้เรื่อง รูปภาพ เล็ก ควรเว้นระยะรูปภาพให้เหมาะสม | ใช่ | น.ส.พรวลัย แก้วใจชื่น | เจ้าหน้าที่ธุรการ | 08 1992 6935 | |
72 | 21/3/2016, 14:21:33 | ใช่ | หางดง | บ้านฟ่อน | จะนำไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปรับปรุงให้การสอนของครูและนักเรียนในปีการศึกษาต่อไป | ทางโรงเรียนจะได้สร้างและใช้เป็นแนวทางในการออกข้อสอบอ่านออก เขียนได้ของครู | จะได้ใช้รูปแบบลักษณะข้อสอบอ่านออก เขียนได้ ทุกระดับชั้นในปีการศึกษาต่อไป | ใช้เวลาในการดำเนินการสอบมาก วิธีการแก้ไขคือต้องเพิ่มเวลาในการสอบ | ไม่มี | ใช่ | นางสุทธิวรรณ มาศขาว | ครู คศ. 3 | 08-06720920 |
73 | 21/3/2016, 14:26:56 | ใช่ | สารภี | เวียงเศรษฐีวิทยา | ในการจัดหาสื่อการเรียนการสอน และเนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาผลการประเมินของนักเรียนต่อไป | โรงเรียนได้สร้างและใช้แบบทดสอบ โดยเน้นการวัดผลและประเมินผลด้านการออกเขียนได้ ตามลักษณะโครงสร้างการใช้คำในระดับชั้นป.1 และจัดหาข้อสอบเพิ่มเติมในอินเตอร์เน็ตเพื่อนำมาให้นักเรียนได้ทดสอบ | นำไปเป็นแนวทางการวัดผลและประเมินที่ตรงจุดในด้านการออกเขียนได้ เพื่อสามารถวิเคราะห์ด้านการออกเขียนได้ที่ถูกต้อง ตลอดจนหาแนวทางในการพัฒนาด้านการเรียนการสอนในด้านที่เรียนอ่อน หรือต้องปรับปรุง | - | นักเรียนที่ย้ายมาปลายภาคเรียนจากสถานศึกษาอื่น ไม่สามารถออกเขียนได้ในระดับที่น่าพอใจและไม่เคยผ่านการทดสอบหรือทำข้อสอบมาเลย วิธีการแก้ไขปัญหาครูได้สอนเสริมและเน้นนักเรียนที่มีปัญหาเป็นพิเศษ | ใช่ | นายจักรพันธ์ ชะนันป่า | ครูอัตราจ้าง | 979258459 |
74 | 21/3/2016, 14:45:52 | ใช่ | ดอยหล่อ | วัดสองแคว | นำไปใช้ในการพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ในปีต่อ ๆ ไป | โรงเรียนได้ดำเนินการสร้างแบบทดสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 | ทำเป็นรูปแบบฝึกทักษะ และทำเป็นรูปเล่ม และฝึกปฏิบัติ บันทึกความก้าวหน้า การอ่าน การเขียน และทดสอบระหว่างเรียนให้การชี้แนะแก้ไข | ข้อสอบการอ่านรู้เรื่อง รูปภาพ เล็ก ควรเว้นระยะรูปภาพให้เหมาะสม | ใช่ | น.ส.พรวลัย แก้วใจชื่น | เจ้าหน้าที่ธุรการ | 08 1992 6935 | |
75 | 21/3/2016, 15:27:28 | ใช่ | หางดง | บ้านดง | ได้นำผลการทดสอบไปพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับจุดบกพร่องของนักเรียน และจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคที่หลากหลาย | ทางโรงเรียนได้สร้างแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบเพื่อสอดคล้องกับมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ | นำข้อมูลไปวางแผนแก้ปัญหาและสร้างแบบทดสอบการประเมินที่เป็นรูปธรรมและหลากหลาย ครอบคลุม | - | - | ใช่ | นางเตือนใจ ทาคำส่าง | ครูชำนาญการพิเศษ | 846174459 |
76 | 21/3/2016, 15:32:05 | ใช่ | สารภี | วัดตำหนัก | จากผลการทดสอบโรงเรียนได้เตรียมการวางแผนให้ครูผู้สอนได้จัดการสอนไว้ในแผนการสอนของครู | โรงเรียนได้สร้างแบบทอสอบแต่ไม่ครอบคุม เหมือนข้อสอบกลาง | ใช้เป็นแบบอย่างในการสร้างแบบทดสอบของโรงเรียน | ใช่ | นางพัชรินทร์ ตุ่นคำ | ครู | 849496207 | ||
77 | 21/3/2016, 15:44:19 | ใช่ | แม่วาง | บ้านกาด(เขมวังส์ฯ) | ได้นำผลการสอบไปใช้วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยค้นหาเทคนิควิธีการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านการเขียนของนักเรียน | ยังไม่ได้จัดทำแบบทดสอบตามแนวที่สำนักทดสอบการศึกษา (สทศ.)ที่นำมาใช้ทดสอบนักเรียน แต่ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามตัวชี้วัดของหลักสูตร | จัดสร้างแบบทดสอบ ตามแนวทางสำนักทดสอบการศึกษา (สทศ.) ตรงตามตัวชี้วัดของหลักสูตรเพื่อครอบคลุมเนื้อหาสาระการอ่านออกเขียนได้ | ใช่ | นางพรทวี เต๋จา | ครูคศ.2 | - | ||
78 | 21/3/2016, 17:47:18 | ใช่ | แม่วาง | แม่วินสามัคคี(สาขาขุนป๋วย) | นำจุดที่ควรแก้ไขของเด็กแต่ละคนมาวางแผนเพื่อพัฒนาการสอนของครู และรายงานให้ช่วงชั้นต่อไปได้ซ่อมเสริมต่อไป | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ ได้แก่ การเขียนตามคำบอก แต่งประโยค การเขียนเรื่องจากภาพ และการอ่านมีการอ่านสะกด อ่านเป็นคำ อ่านเป็นเรื่อง เป็นต้น | สร้างแบบทดสอบโดยให้เด็กมีความเข้าใจในหลักการอ่านเขียน | วิธีการแก้ไข : หาทางกระตุ้นให้เด็กมีความอยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ข้อบกพร่อง : รูปแบบการจัดสอบ วิธีการแก้ไข : ต้องให้เป็นทางการมากขึ้น หากต้องการเปิดการสนับสนุนโปรแกรมอ่านหน้าจอ ให้กด ทางลัด Ctrl+Alt+Z. หากต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับแป้นพิมพ์ลัด ให้กด ทางลัด Ctrl+เครื่องหมายทับ (/). | ปัญหา : ความสนใจที่จะอ่านคำถาม ข้อเสนอแนะ : ให้เด็กหัดทำแบบฝึกหัดบ่อยๆ อุปสรรค : ตัวเด็กนักเรียนยังไม่ค่อยเข้าใจในเนื้อหาที่จะใช้ทดสอบ ข้อเสนอแนะ : ในบทสอบต้องสอดคล้องกับบทเรียน หากต้องการเปิดการสนับสนุนโปรแกรมอ่านหน้าจอ ให้กด ทางลัด Ctrl+Alt+Z. หากต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับแป้นพิมพ์ลัด ให้กด ทางลัด Ctrl+เครื่องหมายทับ (/). | ใช่ | นายอุทัย จิตไพรมั่น | พนักงานราชการ | - |
79 | 21/3/2016, 20:56:13 | ใช่ | สันป่าตอง | บ้านทุ่งเสี้ยว(นวรัฐ) | ได้นำนโยบายและแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นที่สูงขึ้นให้มีความแข็มแข็ง และยั่งยืน ทั้งนี้ยังได้ใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจน | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจนและครอบคุมทุกตัวชี้วัด | 1. วางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย 2. ออกแบบข้อสอบให้สามารถวัดผลและประเมินผลให้ครอบคลุมในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย | - | - | ใช่ | นางอุษา มูลใจ | วิชาการ | 096-80553575 |
80 | 21/3/2016, 21:05:14 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดทุ่งหลุก | ได้นำนโยบายและแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นที่สูงขึ้นให้มีความแข็มแข็ง และยั่งยืน ทั้งนี้ยังได้ใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจน | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจนและครอบคุมทุกตัวชี้วัด | 1. วางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย 2. ออกแบบข้อสอบให้สามารถวัดผลและประเมินผลให้ครอบคลุมในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย | - | - | ใช่ | นางอุษา มูลใจ | วิชาการ | 096-80553575 |
81 | 21/3/2016, 21:23:23 | ใช่ | ดอยหล่อ | บ้านแม่ขาน | ได้นำนโยบายและแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นที่สูงขึ้นให้มีความแข็มแข็ง และยั่งยืน ทั้งนี้ยังได้ใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจน | ได้สร้างและใช้แบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ โดยการวางแผนการจัดทำข้อสอบโดยวางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการวัดผลและประเมินผลให้ชัดเจนและครอบคุมทุกตัวชี้วัด | 1. วางโครงสร้างการจัดทำข้อสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย 2. ออกแบบข้อสอบให้สามารถวัดผลและประเมินผลให้ครอบคลุมในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย | - | - | ใช่ | นางลัดดา มิตกิตติ | วิชาการ | 871770998 |
82 | 22/3/2016, 11:25:01 | ใช่ | สารภี | วัดนันทาราม | นำผลการทดสอบมาวางแผนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบการอ่านการเขียนในทุกๆสาระการเรียนรู้ | สร้างแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบกลางเป็นบางส่วน | นำไปใช้เป็นแบบอย่างในการสร้างแบบทดสอบในด้านการอ่านการเขียน | - | - | ใช่ | นางสาวขวัญฤทัย ชัยพฤกษ์ | เจ้าหน้าที่ธุรการ | 085-6165240 |
83 | 22/3/2016, 13:33:24 | ใช่ | หางดง | บ้านป่าตาล | ใช่ | นางสาวมณีวรรณ แสงทอง | ครู | 871899344 | |||||
84 | 22/3/2016, 14:37:20 | ใช่ | สันป่าตอง | บ้านม่วงพี่น้อง | พัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยให้ทำเป็นแบบฝึกหัด หัดเขียนคำ และเป็นระโยค/อ่านแผนภูมิ พยัญชนะ สระ ฝึกประสมคำ ทำบ่อย ๆ ซ้ำ ๆ นำกลับไปทำฝึกที่บ้าน ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วย | ได้สร้างเป็นแบบฝึกหัดทั้งการอ่าน ฝึกอ่าน ฝึกอ่านซ้ำ ๆ บ่อย ๆ การเขียนคำโดยเขียนเป็นหนังสือเล่มเล็กตามความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ในรูปนิทานพร้อมวาดภาพประกอบ | ใช้สร้างแบบฝึกหัดให้ทำบ่อย ๆ ในแนวทางเดียวกันกับแบบทดสอบ ฝึกเขียนและอ่านคำเป็นประโยค ฝึกเขียนเรื่องให้ได้ประโยคยาวๆ เป็นหนังสือเล่มเล็กระบายสี | แก้ไขโดยการให้เพื่อนช่วยดูแลเพื่อนและพี่สอนน้อง/จะใช้สอนเป็นรายบุคคล เพื่อจะได้ทราบข้อบกพร่องของแต่ละบุคคล | ผู้ปกครองส่วนใหญ่จะเป็นตายาย ไม่ค่อยรู้หนังสือ (พ่อแม่ไปทำงานที่อื่นและหย่าร้าง) เมื่อให้งานทำที่บ้าน มักจะไม่ได้คำอธิบายที่ถูกต้อง | ใช่ | นางงามนิตย์ พรหมวรรณ | ครูประจำชั้น | 819927024 |
85 | 22/3/2016, 23:08:05 | ใช่ | สันป่าตอง | วัดบุบผาราม | นำผลการทดสอบไปใช้แบ่งกลุ่มนักเรียน ตามผลการทดสอบ | ใช้แบบทดสอบการอ่านเขียนของทางเขตฯเป็นการวัดตามความสามารถของนักเรียน | นำไปใช้เป็นตัวอย่างในการสร้างแบบทดสอบเพิ่มเติมตามเนื้อหา การอ่านเขียนของนักเรียนชั้น ป.1 ต่อไป | ใช่ | นางพิมพ์พิชชาพร สุนทรพรประภา | ครู | 088-2511798 | ||
86 | 22/3/2016, 23:45:53 | ใช่ | หางดง | วัดศรีล้อม | ทางโรงเรียนจะนำผลการทดสอบไปวินิจฉัย คัดกรองนักเรียนเพื่อสอนซ่อมเสริมการอ่านออกเขียนได้ต่อไป | ทางโรงเรียนได้สร้างแบบทดสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และใช้แบบทดสอบการอ่านเขียนเป็นแนวทางในการวัดตามความสามารถของนักเรียน | ทางโรงเรียนจะนำลักษณะข้อสอบอ่านออกเขียนได้ ไปเป็นแนวทางในการสอนซ่อมเสริมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน | ใช่ | นางสาวพิมพร ตาดี | ธุรการ | 832001021 | ||
87 | 23/3/2016, 9:53:58 | ใช่ | หางดง | วัดศรีสุพรรณ์ | - จัดการสอนซ่อมเสริม - จัดชุมนุมรักการอ่าน | โรงเรียนไม่ได้สร้างแบบทดสอบตามลักษณะข้อสอบอ่านออก เขียนได้เพราะใช้แบบทดสอบตามแนวไกลกังวลที่โรงเรียนได้สอนทางไกลผ่านดาวเทียมแต่ข้อสอบก็มีส่วนคล้ายคลึงกัน | โรงเรียนจำนำแนวข้อสอบการอ่านออก เขียนได้ไปใช้พัฒนาโดยจะสร้างแบบทดสอบที่ยึดคำพื้นฐาน ชั้น ป.1 เป็นหลัก | เวลาที่ใช้ในการทำแบบทดสอบบางฉบับสั้นเกินไป นักเรียนทำไม่ทัน | - | ใช่ | นางสาวดารุณี แก่นการ | ครูอัตราจ้าง | 817841604 |
88 | 23/3/2016, 12:08:35 | ใช่ | แม่วาง | บ้านใหม่สวรรค์ | โรงเรียนได้ใช้ผลการทดสอบของภาคเรียนที่ 1 มาวางแผนพัฒนาโดยใช้บัตรคำบัตรภาพมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน | ทางโรงเรียนไม่ได้สร้างแบบทดสอบใหม่แต่ใช้แบบทดสอบเดิมของสทศ.มาวิเคราะห์และปรับใช้ | นำแบบทดสอบมาวิเคราะห์และปรับใช้ | จุดด้อยคือ 1. ข้อสอบมากเกินขีดความสนใจของเด็กนักเรียน ป.1 2. มีความซับซ้อนเชิงวิเคราะห์มากไป | 1. ลดจำนวนลง | ใช่ | นางหอมหวล ปันต๊ะทา | ครู คศ.3 | 861161642 |