ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
1
รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพจังหวัดอ่างทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2
3
เป้าประสงค์กลยุทธ์ตัวชี้วัดค่าเป้าหมายผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
อภิปรายผลการดำเนินงาน
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ
4
2567
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3ไตรมาส 4
5
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 1จัดการสุขภาวะประชาชนทุกกลุ่มวัยที่มีคุณภาพ การป้องกันควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพที่ดี ของประชาชน
6
G1.ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดี การเจ็บป่วย และป่วยตายที่สำคัญลดลงกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
7
1. อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนราย 170ก.ส่งเสริมสุขภาพ
8
2. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดก่อนกำหนด9(39/578)x100=6.74%ก.ส่งเสริมสุขภาพ
9
3.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย87(1154/1241)X100= 92.99%ก.ส่งเสริมสุขภาพ
10
4. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน66(3799/6420)x100=59.17%ก.ส่งเสริมสุขภาพ
11
กลุ่มวัยเรียน
12

5.ร้อยละของเด็กวัยเรียน(6-14 ปี)สูงดีสมส่วน
5954.69ก.ส่งเสริมสุขภาพ
13
6.เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยผ่านเกณฑ์ ช=149ซม.ญ=150ซม.)
150.74/151.40
ก.ส่งเสริมสุขภาพ
14
กลุ่มวัยรุ่น
15
7. อัตราการคลอดมีชีพ ในหญิง อายุ 15-19 ปี ต่อประชากร 1,000 คน 2315.22ก.ส่งเสริมสุขภาพ
16
8. ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 13(4/36)x100=11.11ก.ส่งเสริมสุขภาพ
17
กลุ่มวัยทำงาน
18
9. ร้อยละของประชากรวัยทำงาน อายุ 19 -59 ปี มีเส้นรอบเอวปกติ5753.09ก.ส่งเสริมสุขภาพ
19
10. ร้อยละของประชากรวัยทำงานอายุ 19-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ5348.47ก.ส่งเสริมสุขภาพ
20
11.ร้อยละของประชากรวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์50702ก.ส่งเสริมสุขภาพ
21
อัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
22
12. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง540457ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
23
13 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง876421ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
24
14.. อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 605.63ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
26
15. อัตราของ Healthy Aging เพิ่มขึ้นหรือคงที่9696.43ก.ส่งเสริมสุขภาพ
27
16.ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองความถดถอย 9 ด้าน8086.87ก.ส่งเสริมสุขภาพ
28
17.ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี5049.93ก.ส่งเสริมสุขภาพ
29
18.ร้อยละของประชากรวัยสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์5063.2ก.ส่งเสริมสุขภาพ
30
19. ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care plan9597.81ก.ส่งเสริมสุขภาพ
31
20 จำนวนของโรงพยาบาลที่มีคลินิกผู้สูงอายุ7 แห่ง100
ก.พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
32
21.ร้อยละของผูสูงอายุที่ผานการคัดกรอง พบวาเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกลมและไดรับการดูแลรักษาในคลินิกผูสูงอายุ60100
ก.พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
33
G2.ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย22. ร้อยละประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ประชาชน(ประชาชนอายุ 15ปี ขึ้นไป)713837
ก.พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
34
G3.พัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข23.จังหวัดอ่างทองมีระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพระดับ 5
ระหว่างดำเนินงาน
ก.ควบคุมโรคติดต่อ
35
24. ร้อยละการคัดกรองวัณโรค 7 กลุ่มเสี่ยง90
ระหว่างดำเนินงาน
ก.ควบคุมโรคติดต่อ
36
25. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่90
ระหว่างดำเนินงาน
ก.ควบคุมโรคติดต่อ
37
26.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังลดลง ร้อยละ 22
เพิ่มขึ้น 466.54 %
เพิ่มขึ้น 422.10 %
ก.ควบคุมโรคติดต่อ
38
G4.ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน27.ร้อยละของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด98ก.คุ้มครองผู้บริโภคฯ
39
28. สถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste) CFGT169ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
40
29. สถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste Plus) CFGT+11ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
41
30 ตลาดประเภทที่ 1 ตลาดสดน่าซื้อ วิถีใหม่ (Heathy Market)10ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
42
31. ตลาดประเภทที่ 2 ตลาดนัด น่าซื้อ (Temporary Market)18ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
43
32. มาตรฐานอาหารริมบาทวิถี(Street Food Good Health)2ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
44
33. โรงพยาบาลอาหารปลอดภัย(รพศ. รพท. รพช.)7ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
45
G5 ประชาชนได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี34.จำนวนชุมชนที่มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้การยกระดับหน่วยบริการ G&C Sub-distric Health Promoting Hospital ที่มีผลต่อสุขภาพ(GREEN&CLEAN Community)76ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
46
การดำเนินงานตามนโยบาย GREEN & CLEAN
47
35 จำนวนโรงพยาบาลมีการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge (GCHC) ร้อยละ 307ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
48
36. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Sub-district Health Promoting Hospital (GCSh) ระดับมาตรฐานขึ้นไปร้อยละ 1015/76 ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
49
37. จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ(Environmental Health Accreditation:EHA)เพิ่มขึ้น 6/7 ก.อนามัยสิ่งแวดล้อมฯ
50
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพและเพิ่มศักยภาพระบบบริการสุขภาพวิถีใหม่ทุกระดับ
51
G6.ประชาชนเข้าถึงบริการ ได้รับการรักษาที่มีคุณภาพ เสมอภาคและเป็นธรรม1.จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 25 แห่ง
18 เเห่ง
19 แห่งก.สาธารณสุขมูลฐานฯ
52
2.ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน80
ร้อยละ 20
ก.สาธารณสุขมูลฐานฯ
53
3.ร้อยละอสม.มีศักยภาพในการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิขั้นพิ้นฐานโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล65
ร้อยละ 65.51
ก.สาธารณสุขมูลฐานฯ
54
4. ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care ในจังหวัดที่ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือน8095
ก.พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
55
5. ร้อยละของประชาชนที่เข้าถึงบริการแพทย์ฉุกเฉิน22ร้อยละ 13.16ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
56
6. ร้อยละของผู้ป่วยโรคมะเร็ง ได้รับการรักษาผ่าตัด / รังสีรักษา / เคมีบำบัดตามเกณฑ์ที่กำหนด
57
6.๑ ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ร้อยละ ๘๕71.13ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
58
6.๒ ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ร้อยละ ๘๕89.29ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
59
6.๓ ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ร้อยละ ๗๐100ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
60
7. ร้อยละของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองได้รับการรักษาตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด (แตก/ตีบ)
61
7.1 ร้อยละของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตันระยะเฉียบพลัน(I63)ที่มีอาการ ไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 60 นาที 9515.98ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
62
7.2 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง(I60-I69)ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit5029.73ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
63
8. ร้อยละของการให้การรักษาผู้ป่วยหลอดเลือดหัวใจได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด (ยาละลายลิ่มเลือด / PCI)81.25
64
8.1 ร้อยละของการให้ยาละลายลิ่มเลือดภายใน 30 นาที นับจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยSTEMI เมื่อมาถึง โรงพยาบาล(EKG Diagnosis)1000ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
65
8.2 ร้อยละการส่งต่อไปที่โรงพยาบาลที่ทำPCIได้ ให้ได้รับการทำ Primary PCI ภายใน 120 นาที นับจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัย STEMI (EKG Diagnosis)9081.25ก.ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
66
G7.หน่วยงานสาธารณสุขได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน9.จำนวน หน่วยบริหารที่ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ PMQA87
การประเมินตนเองและแผนพัฒนาองค์กร สสอ.ป่าโมกยังไม่ได้รายงานในระบบ
ก.พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
67
10. จำนวนของโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) ขั้น 3754
รพ.โพธิ์ทองและรพ.สามโก้ยังไม่ต่ออายุ ไตรมาศที่ 2 รพ.ไชโย หมดอายุการรับรองเพิ่มเติม
ก.พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
68
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3. ส่งเสริมภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนอย่างเข้มแข็ง
69
G8 มีภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนทุกระดับ1.ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ 100100100
70
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีสมรรถนะที่เหมาะสมและมีความสุขในการทำงาน
71
G9.บุคลากรด้านสาธารณสุข มีสมรรถนะและมีความสุขในการทำงาน1.ร้อยละของบุคลากรในหน่วยงานมีการประเมินดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer)70ก.บริหารทรัพยากรบุคคล
72
2. ร้อยละของหน่วยงานการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน(Happinometer) ไปใช้ทำแผนพัฒนาความสุขของคนทำงานและมีการนำแผนไปใช้80ก.บริหารทรัพยากรบุคคล
73
3.ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะที่จำเป็น (ตามยุทธศาตร์ และ Service Plan)100ก.บริหารทรัพยากรบุคคล
74
G10. หน่วยงานมีนวัตกรรม /R2R เพื่อใช้แก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุข4. ร้อยละของหน่วยงานที่นำนวัตกรรม /R2R มาใช้ในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข45ก.บริหารทรัพยากรบุคคล
75
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการด้วยธรรมาภิบาล
76
G11. หน่วยงานมีการจัดการด้านการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ1. หน่วยบริการทุกแห่งมีการจัดทำแผนทางการเงิน7 แห่งงานการเงินและบัญชี
77
2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ+/- 5 (ด้านรายได้, ด้านค่าใช้จ่าย)6 แห่งงานการเงินและบัญชี
78
3.จำนวนหน่วยบริการมีศูนย์จัดเก็บรายได้คุณภาพ ระดับดีและดีมาก 7 แห่ง7777ก.ประกันสุขภาพ
79
G12.หน่วยงานมีคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน4. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) 93ก.บริหารทั่วไป
80
5. จำนวนของหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ประเมินผลระบบควบคุมภายใน7ก.บริหารทั่วไป
81
G13 มีระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศที่มีคุณภาพ 6. จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนดมีบริการการแพทย์ทางไกลจำนวน5,500 ครั้งก.พัฒนายุทธศาสตร์
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100