1 of 19

นวัตกรรมด้านเทคนิค วิธีการสอน

นางสาวปรีดีญากร ประดิษฐนุช

รหัสนักศึกษา 651120430

2 of 19

Cooperative Learning

วิธีสอนแบบการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน

การเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน เป็นวิธีการเรียนรู้ร่วมกันสองคนหรือเป็นกลุ่มเล็กๆ ในการทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

3 of 19

1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเองสูงสุด และเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

2. เพื่อได้ประโยชน์จากการทำงานเป็นกลุ่มมากที่สุด

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

ขอบเขตเนื้อหา

  • องค์ประกอบที่สำคัญของการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน
  • การจัดการเรียนรู้ของการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน
  • การนำการจัดการเรียนรู้ไปบูรณาการใช้ในการเรียนการสอน

4 of 19

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

1

2

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

PINK TONE

3

ศึกษาขั้นตอนการใช้งานบทเรียนก่อนเป็นอันดับแรก โดยการศึกษาด้วยตนเองหรือผู้สอนแนะนำ

ศึกษาวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายการเรียนรู้

ลงชื่อเข้าสู่ระบบเพื่อให้ระบบทราบถึงข้อมูลผู้ใช้งาน

4

5

  • คำแนะนำ / ขั้นตอนการใช้

อ่านและศึกษาเนื้อหาบทเรียนตามลำกับขั้นอย่างละเอียด

ทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อทราบข้อมูลย้อนกลับตามวัตถุประสงค์

5 of 19

กรุณาพิมพ์ชื่อเพื่อเข้าสู่ระบบ

6 of 19

ยินดีต้อนรับคุณ…..

7 of 19

องค์ประกอบที่สำคัญ

ของการทำงานร่วมกัน

  • การเรียนรู้ต้องอาศัยหลักการพึ่งพากัน ต้องมีทัศนคติที่ดีในการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Positive Interdependence)  ผู้เรียนต้องมีความตระหนักว่าทุกคนต้องมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน คนใดคนหนึ่งไม่สามารถทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้คนเดียว ความสำเร็จจะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยความร่วมมือ ความช่วยเหลือซึ่งกันละกันภายในกลุ่ม
  • มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน (Face to Face Interaction)  ผู้เรียนต้องทำงานร่วมกันให้ประสบความสำเร็จร่วมกัน ฉะนั้นผู้เรียนควรมีการแบ่งปันข้อมูล การสนับสนุนช่วยเหลือกัน ส่งเสริมซึ่งกันและกัน และกระตุ้นการทำงานร่วมกัน ซึ่งการทำงานร่วมกันนี้ จะเป็นการพูดคุยถกเถียงการแก้ปัญหาร่วมกัน รวมทั้งเป็นการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เป็นการตรวจสอบความเข้าใจ   การเรียนรู้ทั้งที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน

8 of 19

3.   การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (social skills) โดยเฉพาะทักษะในการทำงานร่วมกัน

4.  การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) สมาชิกในกลุ่มต้องมีการอภิปรายถกเถียงกันถึงความสำเร็จของงาน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างกันในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ

5.  การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจสอบและวัดประเมินได้ (Individual Accountability) หากผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้แบบร่วมมือกันนอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านเนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้กว้างขึ้นและลึกซึ้งขึ้นแล้ว ยังสามารถช่วยพัฒนาผู้เรียนทางด้านสังคมและอารมณ์มากขึ้นด้วย รวมทั้งมีโอกาสได้ฝึกฝนพัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตอีกมาก

9 of 19

การจัดการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน

การเรียนรู้ด้วยการทำงานเป็นกลุ่ม จำแนกลักษณะได้ดังนี้

บทบาทของผู้สอน

  • ต้องวางแผนทักษะการทำงาน เพื่อถ่ายทอดการเรียนรู้
  • สอนผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
  • พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ
  • ส่งเสริมให้เกิดเรียนรู้อย่างแท้จริง
  • อำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนสาสมารถประเมินตนเองได้
  • กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้
  • ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกๆ คน
  • สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนใช้ความคิดให้มากขึ้น
  • ผู้สอนต้องสอนทักษะการเข้าสังคม
  • มีความสัมพันธ์ที่สมดุลระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนกับวัสดุฝึก นักเรียนกับนักเรียน

10 of 19

  การเรียนภายในกลุ่ม  มีลักษณะดังนี้

  • มีทัศนคติที่ดีในการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
  • แต่ละคนมีความรับผิดชอบตนเอง
  • ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน
  • มีการสับเปลี่ยนการเป็นผู้นำ
  • มีความรับผิดชอบร่วมกัน
  • มีการอภิปรายและประเมินผลงาน และการมีปฏิสัมพันธ์กัน
  • การแบ่งกลุ่มมีหลายลักษณะ อาจแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ 2-6 คน การแบ่งกลุ่มไม่ควรใช้เวลามาก ควรแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ
  • ครูผู้สอนควรแบ่งกลุ่มที่ผู้เรียนสามารถทำงานด้วยกันได้ ไม่ควรให้ผู้เรียนเลือกกันเอง
  • ควรคละผู้เรียนที่มีความสามารถสูง ปานกลางและต่ำให้อยู่ภายในกลุ่มเดียวกันให้ได้มากที่สุด

11 of 19

เงื่อนไขในการสอน

  • ควรสอนกิจกรรมที่เหมาะสมการเรียนรู้ให้มากที่สุด
  • ห้องเรียนควรจัดให้เหมาะสมและส่งเสริมผู้เรียนกลุ่มเล็กในการทำงานร่วมกันได้ และครูผู้สอนสามารถเดินไปมาหาสู่ผู้เรียนได้โดยสะดวก
  • วัสดุอุปกรณ์การเรียนควรจัดให้ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการสอน
  • การสอนวิชาการควรให้รายละเอียดมากที่สุด
  • การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ควรสอบถามผู้เรียนแต่ละกลุ่มตกลงร่วมกันว่า จะให้แต่ละคนช่วยกันทำอะไรบ้าง
  • สื่อวัสดุอุปกรณ์การเรียน ข้อมูลต่างๆ และการอาศัยซึ่งกันและกัน ควรผลิต/จัดหาให้เหมาะสม
  • ผู้สอนควรมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ
  • ผู้เรียนทุกคนควรช่วยเหลือ และช่วยกันทำงานตามที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
  • ผู้สอนควรขับเคลื่อนการเรียนรู้จากการทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้ความร่วมมือกับผู้เรียนอย่างแท้จริง
  • การวัดผลประเมินผลควรตั้งเกณฑ์การวัดไว้ก่อนเริ่มการเรียนการสอน

12 of 19

การเรียนแบบ Collaborative สามารถใช้ในการเรียน ดังต่อไปนี้

   1.   Group Process/Group Activity/Group Dynamics�       1.1  เกม�       1.2  บทบาทสมมุติ�       1.3  กรณีตัวอย่าง�       1.4  การอภิปรายกลุ่ม

การนำการจัดการเรียนรู้ไปบูรณาการใช้ในการเรียนการสอน

    2.   Cooperative Learning�                    2.1  การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin)�                    2.2  มุมสนทนา (Corners)�                   2.3  คู่ตรวจ สอบ (Pairs Check)�                   2.4  คู่คิด (Think-Pair Share)�                   2.5  ปริศนาความคิด (Jigsaw)�                   2.6  กลุ่มร่วมมือ (Co-op Co-op)�                   2.7  การร่วมมือกันแข่งขัน (The Games Tournament)�                   2.8  ร่วมกันคิด (Numbered Headed Together)

             3.   Constructivism�                    3.1  The Interaction Teaching Approach�                    3.2  The Generative Learning Model�                    3.3  The Constructivist Learning Model�                    3.4  Cooperative Learning

13 of 19

แบบทดสอบ

1. ข้อใดไม่ใช่ การจัดการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน ในบทบาทของครูผู้สอน

ก. ปล่อยให้นักเรียนสืบค้นด้วยตัวเองทั้งหมด

ข. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกๆ คน

ค. ครูผู้สอนควรแบ่งกลุ่มที่ผู้เรียนสามารถทำงานด้วยกันได้กับทุกๆคน

ง. ส่งเสริมให้เกิดเรียนรู้อย่างแท้จริง

NEXT >>

14 of 19

แบบทดสอบ

2. การเรียนภายในกลุ่มมีลักษณะอย่างไร

ก. มีทัศนคติที่ดีในการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน

ข. แต่ละคนมีความรับผิดชอบตนเอง

ค. มีความรับผิดชอบร่วมกัน

ง. ถูกทุกข้อ

NEXT >>

15 of 19

แบบทดสอบ

3. Cooperative Learning หมายถึง?

ก. วิธีสอนโดยใช้เกม

ข. วิธีสอนแบบนิเทศ

ค. วิธีการสอนการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน

ง. วิธีการสอนแบบเข้าใจนักเรียน

NEXT >>

16 of 19

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม

https://schoolflix.org/th/news/115841-10

https://www.gotoknow.org/posts/452239?fbclid

Dr. Pralong Krutnoi

17 of 19

เรวดี ศรีสุข. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือในการออกแบบ จัดการเรียนการสอน. สุพรรณบุรี : วิทยาลัยพยาบาบรมราชชนนี,2562

Dr. Pralong Krutnoi, วิธีการสอนการเรียนรู้ด้วยการทำงานร่วมกัน <Cooperative Learning>. https://www.gotoknow.org/posts/452239?fbclid. 2012 แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/452239?fbclid=IwAR03TAwTXO4atv50-dYJO9yas21MlpLs-FX6InPl7uDPJO7HXAAABFXLp68 ค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2566

อ้างอิง

18 of 19

สถานศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

สังกัด : โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์

ผู้พัฒนา : 651120430 ปรีดีญากร ประดิษฐนุช

วิชา : นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ภูมิลำเนา : ต.มหาชัย อ.ไทรงาม จ.กำแพงเพชร

โทรศัพท์ : 0992432027

E-MAIL : minepedeeyakon@gmail.com

FACEBOOK : Mine Pedeeyakon

ผู้จัดทำ

19 of 19

THANK YOU