1 of 31

หน่วยการเรียนรู้

ที่ 1

เวลาและการแบ่งยุคสมัย�ทางประวัติศาสตร์

จัดทำโดย นายอาทิตย์ แดงวงษ์ เลขที่ 9

2 of 31

  • เวลา ยุคสมัย และศักราชในประวัติศาสตร์ไทย
  • การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
  • ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย

เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

3 of 31

เวลา ยุคสมัย

และศักราชในประวัติศาสตร์ไทย

4 of 31

  • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นและสิ้นสุดเวลาใด
  • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นมานานเท่าใด
  • บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง เมื่อเปรียบเทียบกับเหตุการณ์อื่นๆ
  • บอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องของเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
  • ทำให้เข้าใจและวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ ในประวัติศาสตร์ได้ดีขึ้น

ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

5 of 31

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรใช้ �อาศัยอยู่ตามเพิงผา หาของป่า ล่าสัตว์

สมัยประวัติศาสตร์ ช่วงเวลาที่มนุษย์เริ่มมีตัวอักษรใช้แล้ว

6 of 31

การนับและการเทียบศักราช

ในประวัติศาสตร์ไทย

7 of 31

การนับศักราช

  • เป็นศักราชทางพระพุทธศาสนา
  • ไทยเริ่มใช้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
  • นำมาใช้เป็นแบบอย่างของทางราชการสมัยรัชกาลที่ 6
  • บุปผะอรหันต์เป็นผู้ก่อตั้ง
  • แพร่หลายเข้าไทยผ่านอาณาจักรล้านนา
  • นิยมใช้กันมากในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
  • พระเจ้ากนิษกะกษัตริย์อินเดียมีพระราชดำริขึ้น
  • ประเทศไทยรับผ่านมาทางขอมหรือเขมร
  • พบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย และอยุธยาตอนต้น
  • รัชกาลที่ 5 มีพระราชดำริให้บัญญัติขึ้น
  • เริ่มนับปีที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี
  • เลิกใช้ในต้นรัชกาลที่ 6

พุทธศักราช

จุลศักราช

มหาศักราช

รัตนโกสินทร์ศก

8 of 31

หลักเกณฑ์การเทียบศักราช

ม.ศ. + 621 = พ.ศ.

พ.ศ. – 621 = ม.ศ.

จ.ศ. + 1181 = พ.ศ.

พ.ศ. – 1181 = จ.ศ.

ร.ศ. + 2324 = พ.ศ.

พ.ศ. – 2324 = ร.ศ.

การเทียบศักราช

9 of 31

สมัยก่อนประวัติศาสตร์

ในประเทศไทย

10 of 31

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

สมัย

ลักษณะการแบ่ง

ช่วงระยะเวลา

สมัยก่อนประวัติศาสตร์

แบ่งตามลักษณะเครื่องมือหิน

ยุคหินเก่า

ยุคหินใหม่

แบ่งตามลักษณะเครื่องมือโลหะ

ยุคสำริด

ยุคเหล็ก

สมัยประวัติศาสตร์

แบ่งตามราชอาณาจักรหรือราชธานี

สมัยสุโขทัย

สมัยอยุธยา

สมัยธนบุรี

สมัยรัตนโกสินทร์

11 of 31

สมัย

ลักษณะการแบ่ง

ช่วงระยะเวลา

สมัยประวัติศาสตร์

แบ่งตามลักษณะการปกครอง

สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

สมัยประชาธิปไตย

แบ่งตามหลักสากล

สมัยโบราณ

สมัยใหม่

สมัยปัจจุบัน

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

12 of 31

ยุคหินในประเทศไทย

ยุคหินเก่า

    • มีอายุ 700,000-10,000 มาแล้ว
    • รู้จักใช้เครื่องมือหินกรวดกะเทาะหน้าเดียว
    • พบที่บ้านแม่ทะ และบ้านดอนมูล จ. ลำปาง แหล่งโบราณคดีผาบุ้ง จ. เชียงใหม่ ที่ถ้ำหลังโรงเรียนทับปริก จ. กระบี่ เป็นต้น

เครื่องมือหินกะเทาะ

พบที่ถ้ำหลังโรงเรียนทับปริก จ. กระบี่

13 of 31

ยุคหินใหม่

  • มีอายุระหว่าง 10,000-4,000 ปีมาแล้ว
  • พบเครื่องมือหินขัดด้านหนึ่งคม ด้านหนึ่งมน ผิวเรียบ
  • พบภาชนะดินเผาแบบต่างๆ
  • พบที่บ้านเก่า จ. กาญจนบุรี ที่โคกพนมดี จ. ชลบุรี เป็นต้น

ภาชนะดินเผา พบที่โคกพนมดี อ. พนัสนิคม จ. ชลบุรี

ขวานหินขัด พบที่โคกพนมดี อ. พนัสนิคม จ. ชลบุรี

14 of 31

ยุคโลหะในประเทศไทย

ยุคสำริด

  • มีอายุระหว่าง 4,000-2,500 ปีล่วงมาแล้ว
  • รู้จักนำโลหะสำริดมาทำเครื่องมือเครื่องใช้
  • พบที่บ้านโคกพลับ จ. ราชบุรี ที่บ้านเชียง จ. อุดรธานี

หอก และขวานสำริด พบที่บ้านเชียง จ.อุดรธานี

15 of 31

ยุคเหล็ก

  • เริ่มเมื่อประมาณ 2,500 ปีล่วงมาแล้ว
  • สังคมมีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้คนมีวิถีชีวิตที่เจริญขึ้น
  • พบที่บ้านดอนตาเพชร จ. กาญจนบุรี บ้านหนองนาตูม จ. นครราชสีมา เป็นต้น

เครื่องมือเหล็ก พบที่บ้านดอนตาเพชร จ. กาญจนบุรี

16 of 31

สมัยประวัติศาสตร์

ของประเทศไทย

17 of 31

สมัยอาณาจักรโบราณ

  • อาณาจักรที่เก่าแก่ที่สุด คือ อาณาจักรทวารวดี
  • พบเหรียญเงินที่มีจารึก “ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ”
  • อาณาจักรโบราณอื่น เช่น ละโว้ ตามพรลิงค์ ศรีวิชัย เป็นต้น

เหรียญเงิน ที่มีจารึกภาษาสันสกฤตว่า “ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ” อีกด้านหนึ่งเป็นลายหม้อน้ำ พบที่ จ. นครปฐม

18 of 31

สมัยสุโขทัย

  • เริ่มตั้งแต่สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย จนถูกผนวกเข้ากับอยุธยา
  • มีการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย
  • มีการนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
  • มีการจัดระเบียบการปกครอง
  • มีการสร้างศิลปะแบบสุโขทัย เช่น เจดีย์ทรงดอกบัวตูม พระพุทธรูปปางลีลา เป็นต้น

ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 หรือศิลาจารึกวัดศรีชุม พบที่วัดศรีชุม จ. สุโขทัย

19 of 31

สมัยอยุธยา

สมัยการวางรากฐานอำนาจและเสริมสร้างความมั่นคง

    • สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) ถึง�สมัยพระบรมราชาธิราชที่ 2
    • อาณาจักรมีขนาดเล็ก
    • สร้างความมั่นคงโดยการเป็นพันธมิตร

กับขอมในระยะแรก

    • มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ

พระบรมรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง)

ปฐมกษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรอยุธยา

20 of 31

สมัยที่มีอำนาจทางการเมืองและความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ

    • สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ถึงสมัยสมเด็จ

พระนารายณ์มหาราช

    • การปกครองเป็นระบบและมั่นคงยิ่งขึ้น
    • ติดต่อค้าขายกับต่างชาติอย่างกว้างขวาง
    • แม้จะเสียกรุงครั้งที่ 1 แต่ก็ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว
    • มีพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่หลายพระองค์ เช่น �สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นต้น

สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงหลั่ง

ทักษิโณทก ประกาศอิสรภาพ

21 of 31

สมัยเสื่อมอำนาจ

    • สมัยสมเด็จพระเพทราชาถึงสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
    • อยุธยามีความเข้มแข็งน้อยลง
    • เกิดการแย่งชิงอำนาจกันหลายครั้ง
    • เสียกรุงครั้งที่ 2 สิ้นสุดสมัยอยุธยา

วีรกรรมของชาวบ้านบางระจัน เป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยที่เกิดก่อนหน้าที่�กรุงศรีอยุธยาจะสูญเสียอิสรภาพแก่พม่า

22 of 31

สมัยธนบุรี

สมุดภาพไตรภูมิสมัยธนบุรี

  • เป็นสมัยกอบกู้เอกราชหลังจากเสียกรุง
  • สร้างบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่นขึ้นมาใหม่
  • ฟื้นฟูศาสนา ศิลปกรรม วรรณกรรม
  • ฟื้นฟูความสัมพันธ์กับจีนเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า
  • ทำสงครามกับพม่าเกือบตลอดเวลา
  • ขยายอำนาจไปยังล้านนา ล้านช้าง

23 of 31

สมัยรัตนโกสินทร์

พระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 3 ในสมัยของพระองค์บ้านเมืองเจริญก้าวหน้า โดยเฉพาะทางเศรษฐกิจ

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

      • ช่วงสมัยรัชกาลที่ 1-3 หรือเรียกว่า�สมัยการทำให้เหมือนเมื่อครั้งบ้านเมืองดี
      • กฎหมายตราสามดวงในสมัยรัชกาลที่ 1
      • กฎหมายห้ามสูบฝิ่นในสมัยรัชกาลที่ 2
      • การทำสนธิสัญญาทางการค้ากับอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 3

24 of 31

    • สร้างพระบรมมหาราชวังรูปแบบเหมือนกรุงศรีอยุธยา
    • สังคายนาพระไตรปิฎก
    • ฟื้นฟูพระราชประเพณีสมัยอยุธยา
    • ส่งเสริมศิลปะและวรรณกรรม
    • ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา

25 of 31

ยุคปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ

    • ช่วงสมัยรัชกาลที่ 4-7 (ถึง พ.ศ. 2475)
    • สมัยของการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย
    • สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นช่วงเริ่มปรับปรุงประเทศ
    • สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นช่วงปฏิรูปประเทศในทุกด้าน
    • สมัยรัชกาลที่ 6 เป็นช่วงนำประเทศเข้าสู่สังคมโลก
    • สมัยรัชกาลที่ 7 เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย

ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่ตัดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว �เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓

26 of 31

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องแบบเสือป่า และ�ลายพระหัตถ์พระราชทานแก่กองเสือป่า

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว �โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัตินามสกุล เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖

27 of 31

สมัยประชาธิปไตย

    • พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน
    • มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

  • รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
  • อำนาจการปกครองแบ่งออกเป็น 3 ฝ่าย

28 of 31

ตัวอย่าง

การใช้เวลา

ศักราช

และยุคสมัย

29 of 31

การใช้เวลาและศักราช

ศักราช 712 ขาลศก...แรกสถาปนากรุงศรีอยุธยา

ที่มา : พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ หน้า 5

ศักราชที่กล่าวถึง 712 เป็นจุลศักราช เทียบเป็น พ.ศ.+ 1181 = 1893

30 of 31

การใช้ยุคสมัย

  • การใช้ยุคสมัยเป็นชื่อหนังสือ เช่น หนังสือสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ เป็นต้น
  • การใช้ยุคสมัยเพื่ออธิบายความ เพื่อให้เกิดความเข้าใจง่าย ไม่ต้องอธิบายให้ยืดยาว
  • การใช้ยุคสมัยประกอบบทความ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ว่าจะศึกษา วิเคราะห์ประวัติศาสตร์ยุคสมัยใด

31 of 31

ขอบคุณที่รับชมและรับฟังคะ