1 of 12

ครูวีระยุทธ โคระดา

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม�เรื่อง การผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

2 of 12

การผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

3 of 12

แนวทางการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

ชุมชนท้องถิ่นโดยทั่วไปจะมีการรวมกลุ่มของประชาชนที่มีจุดประสงค์และเป้าหมายร่วมกันเพื่อดำเนินกิจกรรมการผลิตสินค้าแบริการเพื่อสร้างพลังของการพึ่งตนเองของกลุ่มอาชีพในชุมชน

การรวมกลุ่มของประชาชนที่ร่วมดำเนินกิจกรรมเพื่อทำให้เกิดรายได้และการสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพให้กับสมาชิก

มี 2 ลักษณะคือ

1. กลุ่มอาชีพที่ไม่เป็นนิติบุคคล เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน

2. กุ่มอาชีพที่เป็นนิติบุคคล เช่น กลุ่มสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์

4 of 12

กลุ่มอาชีพแบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่

1. ด้านการเกษตร คือ กลุ่มอาชีพมีกิจกรรมการผลิตสินค้า รวมทั้งการแปรรูปผลผิตทางการเกษตร เช่น การทำน้ำพริก การทำปลาสลิดหอม การเลี้ยงโคขุน

2. ด้านอุตสาหกรรมในครัวเรือนและหัตถกรรมไทย เช่น เครื่องจักสาน เครื่องปั้นดินเผา การทอผ้าไหม

5 of 12

ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

1. ปัญหาด้านการเกษตร ได้แก่

1.1 ปัญหาความไม่แน่นอนของปริมาณและราคาของผลผลิต

1.2 ปัญหาความยากจนของเกษตรกร

1.3 ปัญหาการขาดแคลนที่ดินทำกิน

1.4 ปัญหาสิ่งแวดล้อม

1.5 ปัญหาความไม่รู้

1.6 ปัญหาการขาดตลาดรับซื้อสินค้า

6 of 12

ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

2. ด้านอุตสาหกรรมในครัวเรือนและหัตถกรรมไทย ได้แก่

2.1 ปัญหาการขาดความรู้

2.2 ปัญหาการขาดแคลนเงินทุน

2.3 ปัญหาการขาดตลาดรับซื้อสินค้า

2.4ปัญหาการขาดการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.5ปัญหาการขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมที่รวดเร็วเกินไป

7 of 12

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

8 of 12

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  • โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก�การทำอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
  • พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
  • การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วน แต่ละระดับ
  • ครอบคลุมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงจิตใจ และวัฒนธรรม

9 of 12

การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน �โดยอาศัยหลักการพึ่งตนเอง 5 ด้าน

ด้านเศรษฐกิจ

ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ/มีภูมิคุ้มกันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสำรอง

ด้านจิตใจ

มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ /มีจิตสำนึกที่ดี /เอื้ออาทรประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก

ด้านสังคม

ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รู้รักสามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน

ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้ �ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด / �ฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด

ด้านเทคโนโลยี

รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม (ภูมิสังคม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านเองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก

10 of 12

เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตด้านการเกษตร

ขั้นที่ 1 การผลิต

ขั้นที่ 2 การรวมพลังในรูปกลุ่ม/สหกรณ์

ขั้นที่ 3 การติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน

11 of 12

เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตด้านวิสาหกิจ

ขนาดกลางและขนาดย่อม

ขั้นที่ 1 การผลิต

ขั้นที่ 2 การรวมพลังในรูปกลุ่ม/สหกรณ์

ขั้นที่ 3 การติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน

12 of 12

ให้นักเรียนทำใบงานที่ 1

ใช้เวลา 15 นาที