1 of 21

  • ทำไมต้องบริหาร
  • การบริหารทรัพยากรบุคคลเกี่ยวข้องกับงาน

ของเราอย่างไร

  • แนวโน้มของการบริหารทรัพยากรบุคคลของ

ภาคราชการในอนาคต

การบริหารทรัพยากรบุคคล

2 of 21

2

การบริหารทรัพยากรบุคคล

เป็นศาสตร์การจัดการเกี่ยวกับบุคคล

ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน เพื่อให้งานบรรลุผลตามเป้าหมายขององค์การ

อย่างมีประสิทธิภาพ และ

สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน

3 of 21

3

การบริหารทรัพยากรบุคคล (แนวเดิม)

สรรหา

พัฒนา

รักษาไว้

ใช้ประโยชน์

พ้นจากงาน

4 of 21

เป้าหมาย

วิสัยทัศน์

พันธกิจ

HR Direction/

Strategy

การพัฒนา

ขีดความสามารถ

HR Capabilities

การกำหนด

ทิศทางการ

ดำเนินงานของบุคคล

HR Alignment

การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ (แนวใหม่)

การพัฒนา

สิ่งจูงใจ

HR Motivation

5 of 21

5

หลักการบริหารทรัพยากรบุคคล

6 of 21

โลกในศตวรรษที่ 21

  • ทั่วโลกจะกลายเป็น “ตลาดการค้าเพียงแห่งเดียว”
  • การแข่งขันของธุรกิจระดับโลก
  • การสื่อสารโทรคมนาคมระดับโลก
  • การเติบโตของการค้าเสรีระหว่างประเทศ
  • การเข้าสู่ “บริการทางการเงิน” ด้วยระบบอิเลคทรอนิกส์

6

7 of 21

7

กลยุทธ์การจัดการธุรกิจ

- electronics เป็นโครงสร้างพื้นฐาน

(infrastructure) จะสร้าง “นวัตกรรมใหม่”

  • การมีทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถสูง

8 of 21

8

องค์กรแบบใหม่

  • ยืดหยุ่นสูง
  • มีความเข้าใจอย่างแท้จริงว่าอะไรคือการบูรณาการ มีการเชื่อมโยง กลยุทธ์ คน เทคโนโลยีและกระบวนการ
  • วิสัยทัศน์ทั้งหมดต้องชัดเจน
  • โครงสร้างองค์กรแนวราบ สายบังคับบัญชาสั้น ให้อำนาจและความรับผิดชอบแก่ผู้ปฏิบัติงาน

9 of 21

9

ผลกระทบต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

  • การลงทุนจะไหลไปสู่แหล่งแรงงานราคาถูกและสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ
  • กระบวนการผลิตจะปรับไปสู่การผลิตที่ใช้ทุนและเทคโนโลยีชั้นสูง
  • การจ้างงานจะมีมากขึ้นในงานที่ใช้ทักษะฝีมือและกำลังคนที่มีความสามารถในการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
  • มีการใช้การจ้างเหมาหรือรับช่วงงานมากขึ้น

10 of 21

10

  • การคัดเลือกพนักงานจะเลือกผู้ที่มีมูลค่าทางปัญญาสูง
  • โครงสร้างค่าตอบแทนและการบริหารค่าตอบแทนเน้นที่ ความสามารถ และมุ่งเน้นในผลงานที่เป็นธุรกิจหลักขององค์กร
  • จะมีการนำเทคโนโลยีหรือการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก (Outsourcing) ในงานที่ไม่มีคุณค่าเพิ่มสูงต่อธุรกิจ

ผลกระทบต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

(ต่อ)...

11 of 21

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

  • บทบาทหน้าที่ชัดเจน
  • เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ชัดเจน
  • ปฏิบัติโดยมืออาชีพที่มีความเป็นกลาง
  • มอบอำนาจการบริหารจัดการ
  • ข้อมูลกว้างขวาง เพรียบพร้อม

12 of 21

12

  • การบริหารจัดการภาครัฐ เกือบเหมือน

กับภาคเอกชน

  • การกระจายความรับผิดชอบ
  • มุ่งต่อผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ

และกระบวนการ

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

13 of 21

13

แกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล

หลักสมรรถนะ

(Competency)

หลักผลงาน

(Performance)

หลักคุณธรรม

(Merit)

กระจายความรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล

14 of 21

คำจำกัดความของสมรรถนะ (Competency)

14

  • คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม

ที่ทำให้บุคลากรบางกลุ่ม/

บางคนในองค์กรปฏิบัติงาน

ได้ผลงานโดดเด่นกว่าคนอื่นๆ

โดยบุคลากรเหล่านี้แสดง

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม

ดังกล่าว

  • มากกว่าเพื่อนร่วมงานอื่นๆ
  • ในสถานการณ์หลากหลายกว่า

และได้ผลงานดีกว่าผู้อื่น

ป็นคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลซึ่งเป็นปัจจัย บ่งชี้ว่าบุคคลนั้นจะปฏิบัติงานได้อย่างโดดเด่น ในงานหนึ่งๆ

แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ (Competency) ...

15 of 21

15

      • การกำหนดตำแหน่งใหม่
      • ระบบค่าตอบแทนใหม่
      • บุคลากรในราชการพลเรือน
      • การสรรหาระบบเปิด
      • ระบบผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง

การปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหาร

ทรัพยากรบุคคลภาครัฐ

16 of 21

16

  • รวบระดับงานที่มีผลสัมฤทธิ์ของงานใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบชัดเจนยิ่งขึ้น
  • เส้นทางก้าวหน้ามีความยืดหยุ่น และอาจข้ามสายงานได้
  • เส้นทางก้าวหน้าขึ้นอยู่กับทักษะ ความรู้ สมรรถนะของบุคคล
  • การโอนย้ายระหว่างสายงานสามารถกระทำได้เมื่อผ่านการพิจารณาความรู้ ทักษะและสมรรถนะ

การกำหนดตำแหน่งแนวใหม่

17 of 21

17

สมรรถนะสำหรับตำแหน่ง

(COMPETENCY)

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

(Job Specification)

โครงสร้างชั้นงาน

(GRADING STRUCTURE)

การจัดกลุ่มงาน

(JOB FAMILY)

ผลการปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่งใหม่

จากผลการศึกษา แบ่งส่วนประกอบสำคัญของระบบจำแนกตำแหน่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่

18 of 21

เปรียบเทียบระหว่างมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเดิมกับที่ปรับปรุงใหม่

ชื่อตำแหน่ง วิศวกรสำรวจ 3

หน้าที่และความรับผิดชอบ

ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานวิศวกรรมสำรวจ ภายใต้การกำกับตรวจสอบโดยใกล้ชิด และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เป็นเจ้าหน้าที่ชั้นต้นปฏิบัติงานที่ยากพอสมควรเกี่ยวกับวิศวกรรมสำรวจ โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น งานสำรวจภูมิประทศที่ต้องใช้ความละเอียดมาก วางโครงข่ายสามเหลี่ยมและวงรอบการรังวัดทางดาราศาสตร์ ทางจีโอดีซี่ การวัดระยะด้วยเครื่องวัดระยะอีเลคโทรนิค การวางโครงสร้างแผนที่แบบต่างๆ การติดตามผลงานและการคำนวณตรวจสอบตามหลักวิชาการสำรวจแผนที่ เป็นต้น และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง

18

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

1. ได้รับปริญญาตรี โท หรือเทียบเท่าได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางวิศวกรรมสำรวจ วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมชลประทาน หรือทางอื่นที่ ก.พ. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้

ความรู้ความสามารถที่ต้องการ

1. มีความรู้ในวิชาการวิศวกรรมสำรวจอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่

2. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่

3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศไทย

4. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่

5. มีความสามารถในการศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล

มาตรฐานกำหนดตำแหน่งเดิม

19 of 21

2. วุฒิการศึกษา ทักษะ และประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน

2.1 วุฒิการศึกษาที่จำเป็นในงาน

2.1.1 ได้รับปริญญาตรี โทหรือเทียบเท่าไม่ต่ำกว่านี้ ทางวิศวกรรมสาขาสำรวจ โยธา ชลประทาน หรือสาขาอื่นที่ ก.พ. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้

2.1.2 ความรู้ความเชี่ยวชาญที่จำเป็นในงาน ระดับที่ 2

2.1.3 ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการในระดับที่ 2

2.2 ทักษะที่จำเป็นในงาน

2.2.1 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับที่ 3

2.2.2 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ระดับที่ 2

2.2.3 ทักษะการบริหารข้อมูลและจัดการ ระดับที่ 2

2.3 ประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน

2.3.1 ระดับแรกเข้าไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์มาก่อน

3. สมรรถนะที่จำเป็นในงาน

3.1.1 สมรรถนะหลัก : การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับที่ 1/ จริยธรรม ระดับที่ 1/ บริการที่ดี ระดับที่ 2/ ความร่วมแรงร่วมใจ ระดับ 1/ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ ระดับที่ 1

3.1.2 สมรรถนะประจำกลุ่มงาน : การมองภาพองค์รวม ระดับที่ 1/ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ระดับที่ 1/ การสืบเสาะหาข้อมูล ระดับที่

19

สายงาน วิศวกรสำรวจ ตำแหน่ง วิศวกรสำรวจ ระดับ ปฏิบัติการ

กลุ่มงาน ออกแบบเพื่อการพัฒนา

1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก

1.1 ด้านปฏิบัติการ/งานเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Operation/Expertise)

1.1.1 สำรวจภูมิประเทศและวางโครงสร้างแผนที่โดยใช้วิธีการต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายและแผนพัฒนาพื้นที่ต่างๆ หรือประกอบการปฏิบัติงานอื่นๆตามภารกิจของหน่วยงาน

1.1.2 รวบรวมสถิติข้อมูลการสำรวจ และจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนการสำรวจ

1.2 ด้านวางแผน (Planning)

1.2.1 วางระบบและแผนการปฏิบัติงานของกลุ่ม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

1.3 ด้านการประสานงาน (Communication and Cooperation)

1.3.1 ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการและเอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานวิศวกรรมสำรวจ

1.4 ด้านการบริการ (Service)

1.4.1ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมสำรวจที่ตนมีความรับผิดชอบ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์

มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่

20 of 21

20

    • ดึงดูด รักษาไว้ และจูงใจ
    • พัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
    • เตรียมผู้นำเข้าสู่ระบบนักบริหารระดับสูง (Senior Executive Service) หรือ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูง (Senior Professional Service)

วัตถุประสงค์

ระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง

21 of 21

21

ระบบการสรรหา

  • เป็นระบบเปิด
  • กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
    • นักเรียนทุนรัฐบาล
    • ข้าราชการทั่วไปที่ผ่านการประเมินตามหลักเกณฑ์
    • ข้าราชการบรรจุใหม่ที่มีคุณสมบัติตามกำหนด�และผ่านการสอบแข่งขันแบบเข้มข้น
  • ระยะนำร่อง ครอบคลุมเฉพาะกลุ่ม (ก.พ./สลค./สนง.เศรษฐกิจการคลัง/สป.พลังงาน)
    • นักเรียนทุนรัฐบาล อายุราชการไม่เกิน 3 ปี
    • ข้าราชการทั่วไป ระดับ 4 – 6 ที่ผ่านการคัดเลือกจาก อ.ก.พ. กรม