1 of 11

พุทธประวัติ

วันสำคัญ

เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก

พุทธประวัติจากพระพุทธศาสนา

บทที่ 8

2 of 11

29 พรรษา�เสด็จออกผนวช �ณ ริมฝั่งแม่น้ำอโนมา

พระนามเดิม

“สิทธัตถะ”

พระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กับพระนางสิริมหามายา

7 พรรษา ทรงร่ำเรียน �“ศิลปศาสตร์ 18 ประการ” �ณ สำนักครูวิศวามิตร �จนแตกฉาน

16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรส�กับพระนางพิมพา มีพระโอรส�พระนามว่า ราหุล

พระพุทธประวัติ

3 of 11

1. กิเลสมาร = โลภ โกรธ หลง

2. ขันธมาร = รูป เวทนา สัญญา สังขาร และ � วิญญาณ คือสภาพปัจจัยปรุงแต่ง

3. อภิสังขารมาร = เจตนาของบุคคลที่เป็น� ตัวกระตุ้นเราไปกระทำกรรม (บุญ บาป� ทำให้เราต้องเวียนว่ายตายเกิด)

4. เทวปุตตมาร = บุคคลที่คอยชักนำไม่ให้ทำความดี และยุยงให้ทำชั่ว

5. มัจจุมาร = ความตาย หรือความไม่แน่นอนของชีวิต

5 ประการนี้ล้วนขัดขวางการทำดี

ก่อนจะตรัสรู้ ทรงพบอุปสรรคมากมาย หรือเรียกว่า “ผจญมาร”

 

ทรงตรัสรู้ “อริยสัจ 4”

ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6

4 of 11

ทรงแสดงปฐมเทศนา “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” โปรดปัญจวัคคีย์ ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8

1. กามสุขัลลิกานุโยค � 2. อัตตกิลมถานุโยค

แนวทางประพฤติปฏิบัติตนที่ถูกต้อง นำไปสู่ความสำเร็จ เรียกว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” หรือ “ทางสายกลาง “

เรื่องที่สอน คือแนวทางไม่ควรประพฤติปฏิบัติ และแนวทางควรปฏิบัติ

แนวทางไม่ควรประพฤติปฏิบัติ เพราะทำให้เสียเวลาและพลาดโอกาสสำเร็จ คือ “ทางสุดโต่ง” ได้แก่

สัมมาสมาธิ สมาธิชอบ

สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ

สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ

สัมมาวาจา เจรจาชอบ

สัมมากัมมันตะ การงานชอบ

สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ

สัมมาวายามะ พยายามชอบ

สัมมาสติ สติชอบ

5 of 11

หลังจากทรงแสดงธรรมจบ โกณฑัญญะได้กราบทูลขอบวช พระพุทธองค์ทรงประทานการบวชด้วยวิธี “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” ทำให้เกิดพระสงฆ์รูปแรกของโลก

ทรงแสดง “โอวาทปาฏิโมกข์” ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 เนื่องจาก

ปรินิพพาน ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ณ สาลวโนทยาน

นอกกรุงกุสินารา แคว้นมัลละ

  • เกิดเหตุการณ์ “จาตุรงคสันนิบาต”

1. เป็นวันพระจันทร์เต็มดวง

2. พระสงฆ์ 1,250 องค์ มาประชุมโดยมิได้นัดหมาย

3. พระสงฆ์ทั้งหมดเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา

4. พระสงฆ์ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์

  • โอวาทปาฏิโมกข์

1. ไม่ทำความชั่วทั้งปวง

2. ทำความดีให้ถึงพร้อม

3. ทำจิตใจให้บริสุทธิ์

6 of 11

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

1. วันมาฆบูชา

(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3)แสดงโอวาทปาฏิโมกข์

ภิกษุ 1,250 องค์ มาประชุมโดยมิได้นัดหมาย

เกิดเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาต

2. วันวิสาขาบูชา

(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6)

วันประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน

สหประชาชาติประกาศเป็นวันสำคัญสากล

3. วันอัฏฐมีบูชา

(แรม 8 ค่ำ เดือน 6)

วันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า

4. วันอาสาฬหบูชา

(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8)

แสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

เกิดพระสงฆ์รูปแรก

พระรัตนตรัยครบองค์ 3

7 of 11

6. วันออกพรรษา

(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11)

ภิกษุทำ “พิธีมหาปวารณา” คือว่ากล่าวตักเตือนโดยไม่โกรธเคืองกัน

7. ตักบาตรเทโว

(แรม 1 ค่ำ เดือน 11)

ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดา �(วันพุทธเจ้าเปิดโลก)

5. วันเข้าพรรษา

(แรม 1 ค่ำ เดือน 8)

ภิกษุต้องพักประจำอยู่กับที่ตลอดฤดูฝน

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

การปฏิบัติตนในวันสำคัญ

1. อามิสบูชา คือ บูชาด้วยสิ่งของ เช่น ตักบาตรในตอนเช้า

2. ปฏิบัติบูชา คือ บูชาด้วยการปฏิบัติธรรม เช่น ฟังเทศน์ รักษาศีล 5

8 of 11

ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ

พระพุทธรูป คือ ปูชนียวัตถุที่ชาวพุทธสร้างเพื่อเป็นสัญลักษณ์ไว้เคารพกราบไหว้

ปางมารวิชัย � เหตุการณ์ : ผจญมาร “วสวัตดีมาร”

ปางลีลา

เหตุการณ์ : เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในวัน ออกพรรษา หลังจากแสดงธรรมโปรดพุทธมารดา

ปางแสดงธรรมเทศนา

เหตุการณ์ : แสดงปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์

9 of 11

วันอาทิตย์ ปางถวายเนตร

เหตุการณ์ : ทอดพระเนตรต้นศรีมหาโพธิ์โดยไม่กระพริบตา เป็นเวลา 7 วัน

วันจันทร์ ปางห้ามญาติ

เหตุการณ์ : เสด็จไปห้ามพระญาติฝ่ายบิดาและมารดาที่ทะเลาะกันเรื่องน้ำในการเพาะปลูก

วันอังคาร ปางไสยาสน์

เหตุการณ์ : ทรงนิมิตร่างกายให้ใหญ่โตกว่าอสุรินทราหู เพื่อเรียกสติ และมีความอ่อนน้อม ศรัทธาในพระพุทธองค์

พระพุทธรูปปางประจำวันเกิด

10 of 11

วันพุธ (กลางวัน) ปางอุ้มบาตร เหตุการณ์ : เสด็จออกบิณฑบาตในเมืองกบิลพัสดุ์ ครั้งเสด็จโปรดบิดาและญาติ

วันพุธ (กลางคืน) ปางปาลิไลยก์ หรือป่าเลไลย์เหตุการณ์ : ทรงห้ามพระสาวกที่ทะเลาะกันไม่สำเร็จ จึงหลีกไปประทับในป่า โดยมีพญาช้างปาลิไลยกะและลิงคอยรับใช้

วันพฤหัสบดี ปางสมาธิ หรือปางตรัสรู้ �เหตุการณ์ : ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

พระพุทธรูปปางประจำวันเกิด

11 of 11

พระพุทธรูปปางประจำวันเกิด

วันศุกร์ ปางรำพึง

เหตุการณ์ : ทรงใคร่ครวญว่าธรรมที่พระองค์บรรลุ ยากที่คนทั่วไปจะเข้าใจ แต่ด้วยพระมหากรุณาจึงเสด็จเผยแผ่คำสอน

วันเสาร์ ปางนาคปรก

เหตุการณ์ : พญานาคมุจจลินท์ได้วงขนดเป็นฐานให้พระองค์นั่งและบังแดดบังฝนให้พระองค์