1 of 10

2 of 10

๔๙

การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือซักถาม เป็นการถามตอบระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย คือ ผู้สัมภาษณ์ที่มีไหวพริบ มีบุคลิกดี มีมารยาทในการพูดและฟัง�และผู้ให้สัมภาษณ์เป็นบุคคลที่น่าสนใจ ประสบความสำเร็จในกิจการงาน ได้รับ�รางวัลอันมีเกียรติในฐานะผู้เสียสละหรือประกอบกิจกรรมเพื่อส่วนรวม อาจเป็น�บุคคลสำคัญในหน่วยงานต่างๆ หรือมีอาชีพและการดำรงชีวิตที่แตกต่างจากผู้อื่น�หรือผู้มาสมัครงาน อาจเป็นการสัมภาษณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะนำความรู้ ความคิดเห็นและทัศนคติไปเผยแพร่ต่อสาธารณชนโดยวิธีเขียนบทสัมภาษณ์ลงในสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือสัมภาษณ์สดต่อหน้าสาธารณชนโดยใช้โทรศัพท์ หรือถ่ายทอดออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริง�เพื่อหาข้อสรุปหรือยุติปัญหา

3 of 10

๕๐

การสัมภาษณ์

แบบไม่เป็นทางการ

การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ

ประเภทของ

การสัมภาษณ์

การสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว

การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม

การสัมภาษณ์โดยการใช้โทรศัพท์

4 of 10

๕๑

ควรนัดหมายให้ผู้ให้สัมภาษณ์ทราบวันเวลา หัวข้อเรื่องและคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์

ก่อนที่จะมีการสัมภาษณ์

ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่จะสัมภาษณ์ และเรื่องราวเกี่ยวกับตัวผู้ให้สัมภาษณ์

คำถามที่นำมาใช้สัมภาษณ์ ควรเป็นคำถามที่ตรงตามจุดมุ่งหมาย

เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ให้พร้อมใช้งาน

การ

เตรียม

การสัมภาษณ์

5 of 10

๕๒

๑. มีมนุษยสัมพันธ์ดี

๒. มีความรู้ดี

๓. ตั้งคำถามได้ตรงประเด็น

๔. มีมารยาท

๕. มีบุคลิกภาพดี

๖. มีความสามารถ� ในการใช้คำพูด

๗. สร้างบรรยากาศ� ให้เป็นกันเอง

๘. ให้เกียรติแก่ผู้ให้� สัมภาษณ์ และตรง� ต่อเวลา

คุณสมบัติ

ของ

ผู้สัมภาษณ์

6 of 10

๕๓

การสัมภาษณ์งานเป็นขั้นตอนหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานให้เหมาะสมกับตำแหน่งและหน้าที่ โดยผู้สัมภาษณ์รับรู้ข้อมูลของผู้สมัครมาล่วงหน้าแล้ว การสัมภาษณ์เป็นขั้นตอนที่แสดงว่าผู้สมัครได้รับเลือกมาแล้วขั้นตอนหนึ่งจึงต้องเตรียมตัวให้พร้อม ขั้นตอน�การสัมภาษณ์และหลักการ มีดังนี้

7 of 10

๕๔

ขั้นตอนและหลักการ

การสัมภาษณ์

การกำหนดวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ให้ตรงกับงาน

ระบุเป้าหมายการสัมภาษณ์งานให้ชัดเจน

การกำหนดหัวข้อหลัก�ในการตั้งคำถาม

การเลือกประเด็นสำคัญ�ที่ต้องค้นหาเพื่อกำหนดเกณฑ์ในการตัดสินใจ

การตั้งคำถาม ต้องมีความสัมพันธ์กับความคาดหวังของหน่วยงานและความสามารถของบุคคล

การจัดทำโครงสร้าง�การสัมภาษณ์

การทบทวนข้อมูลเกี่ยวกับผู้สมัครล่วงหน้า

8 of 10

๕๕

๑. หาความรู้เกี่ยวกับองค์กร หน่วยงาน บริษัทที่กำลังสมัครเข้าทำงาน

๒. เตรียมพร้อมทั้งจิตใจและร่างกาย

๓. ลองตั้งคำถามและฝึกหาคำตอบที่จะส่งผลดีกับตัวเอง

๔. เตรียมเอกสารที่จำเป็นต้องนำติดตัวไปในวันสัมภาษณ์

๕. เมื่อถูกเรียกเข้าไปสัมภาษณ์ ควรยกมือไหว้ กล่าวคำสวัสดี และนั่ง� เมื่อผู้สัมภาษณ์เชิญให้นั่ง

๖. ตอบคำถามทุกข้ออย่างชัดเจนชัดถ้อยชัดคำ กระตือรือร้นที่จะตอบคำถาม

๗. กิริยามารยาทต้องให้ดูสุภาพเรียบร้อย หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส ไม่พูดมาก� เกินความจำเป็นหรือพูดอวดตัว

๘. ไม่ควรพูดในแง่ร้าย เกี่ยวกับหน่วยงานเดิม

๙. ถ้าผู้สัมภาษณ์ให้โอกาสซักถามเกี่ยวกับองค์กรหรือตำแหน่งงาน� ก็ควรซักถามอย่างสนใจ

9 of 10

๕๖

การดำเนินการสัมภาษณ์งานมีขั้นตอนดังนี้

แนะนำตัวผู้สัมภาษณ์ด้วยความเป็นกันเอง สุภาพ

สร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ผ่อนคลายความเครียด และเริ่มสัมภาษณ์� เมื่อผู้สมัครเกิดความคุ้นเคย

เลือกโครงสร้างการสัมภาษณ์ที่เหมาะสม

ควรถามด้วยความชัดเจน รอบคอบเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง

หลีกเลี่ยงการใช้คำถามนำ ควรเป็นคำถามที่ให้ผู้สมัครงานแสดงความคิดเห็น

ระหว่างการสัมภาษณ์ควรจดข้อมูลและข้อสังเกตสำคัญๆ ไว้

ควบคุมเวลาการสัมภาษณ์ให้เหมาะสม

เปิดโอกาสให้ผู้สมัครงานซักถามข้อสงสัย

สรุปและจบการสัมภาษณ์โดยกล่าวขอบคุณผู้สมัครงานที่สละเวลาและให้� ความสำคัญแก่บริษัท

10 of 10

๕๗

การสัมภาษณ์งานเป็นขั้นตอนหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานให้เหมาะสมกับตำแหน่งและหน้าที่ โดยผู้สัมภาษณ์รับรู้ข้อมูลของผู้สมัคร มาล่วงหน้าแล้ว การสัมภาษณ์เป็นขั้นตอนที่แสดงว่าผู้สมัครได้รับเลือกมาแล้ว ผู้สัมภาษณ์จึงต้องเตรียมตัวให้พร้อม และคำนึงถึงขั้นตอนการสัมภาษณ์ และหลักการสัมภาษณ์ที่ดี เพื่อให้การสัมภาษณ์สัมฤทธิผล