1 of 12

ระบบปฏิบัติการกูเกิล โครมโอเอส

นส จีรณัฐฐา สิงห์เชื้อ

ชั้น ม4/9 เลขที่ 28

2 of 12

กูเกิล โครมโอเอส

3 of 12

Windows คือ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง (operating system) สร้างขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทำให้บริษัทไมโครซอฟต์ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic-User Interface) ที่นำรูปแบบของสัญลักษณ์ภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้อนคำสั่งทีละบรรทัด ซึ่งใกล้เคียงกับแมคอินทอชโอเอส เพื่อให้การใช้งานดอสทำได้ง่ายขึ้น แต่วินโดวส์จะยังไม่ใช่ระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจากมันจะทำงานอยู่ภายใต้การควบคุมของดอสอีกที กล่าวคือจะต้องมีการติดตั้งดอสก่อนที่จะติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คำสั่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในดอสได้โดยผ่านทางWindows ซึ่ง Windows จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส

Windows คืออะไร

??

4 of 12

กูเกิล โครมโอเอส (อังกฤษ: Google Chrome OS) เป็นโครงการระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและผลิตโดยกูเกิล โดยเป้าหมายสำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเวิลด์ไวด์เว็บเป็นหลัก[2] เปิดตัวเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ซอฟต์แวร์นี้พัฒนาต่อจากกูเกิลโครม และเคอร์เนิลลินุกซ์ โดยตัวระบบปฏิบัติการนี้มุ่งเน้นสำหรับคอมพิวเตอร์ในลักษณะของเน็ตบุ๊ก[3] โดยวางแผนจะเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2553[4] ระบบปฏิบัติการจะทำงานกับโพรเซสเซอร์ x86 หรือ ARM architecture [5]

นอกจากนี้กูเกิลได้กล่าวไว้ว่าภายในสิ้นปี 2552 ระบบปฏิบัติการตัวนี้จะเป็นโครงการในลักษณะโอเพนซอร์ซ[6] ระบบปฏิบัติการตัวนี้จะสามารถใช้แทนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ถึงแม้ว่าซอฟต์แวร์นี้จะพัฒนาตามลินุกซ์เคอร์เนิลก็ตาม

กูเกิล โครมโอเอส

5 of 12

หน้าตา

ลักษณะ interface ของ กูเกิล โครมโอเอส มีลักษณะเหมือน กูเกิล โครม ที่เป็นเบราว์เซอร์ของกูเกิล

โปรแกรม

โปรแกรมที่สามารถทำงานได้ คือ เหล่าเว็บแอปพลิเคชัน หรือก็คือเว็บไซต์ที่สามารถทำงานได้เหมือนโปรแกรมที่ติดตั้งลงคอมพิวเตอร์ ซึ่งมันมีข้อดีตรงที่ตัวเว็บแอปพลิเคชันจะมีการอัปเดตตลอดเวลา และเมื่อมีการแก้ไขข้อผิดพลาดก็ไม่จำเป็นต้องติดตั้งตัวแก้

ความปลอดภัย

ตัวโครม โอเอสมีพื้นฐานของระบบปฏิบัติการยูนิกส์ทำให้มีความปลอดภัย นอกจากนี้ยังมีระบบ sandbox ซึ่งจะแบ่งที่ให้โปรเซสไว้โดยที่แต่ละโปรเซสมิอาจยุ่งกับโปรเซสอื่นได้ และยังมีระบบอัปเดตอัตโนมัติด้วย

คุณสมบัติ

6 of 12

1.Firmware เป็นปัจจัยหลักที่ช่วยให้การบูตเครื่องทำได้เร็วและมีความปลอดภัยมากขึ้น ซึ่งทางผู้พัฒนาได้นำส่วนประกอบที่ไม่จำเป็นออกไป เหลือเพียงแค่ firmware, kernel และ Chrome browser นอกจากนี้ยังเพิ่มส่วนของ system recovery ลงไปใน firmware ที่จะช่วยให้สามารถ re-install Chromium OS ได้ในกรณีที่เครื่องหรือระบบถูกขัดจังหวะไปจากข้อผิดพลาดต่างๆ นอกจากนี้ ทุกครั้งที่ทำการ boot ระบบ Chrome OS จะทำการยืนยันโค้ดทุกอย่างที่จะรัน(verify code)ผ่านทางระบบยืนยันการ Certificateเพื่อให้แน่ใจว่า executed code ทั้งหมด มาจาก Chromium OS source tree จริงๆ ไม่ได้เป็นโค้ดที่มาจากผู้ไม่ประสงค์ดีที่ต้องการโจมตีระบบใส่ไว้ ทำให้ผู้ใช้เพิ่มความมั่นใจในด้านความปลอดภัยมากขึ้น

สถาปัตยกรรมของ Chrome OS

ประกอบไปด้วย

7 of 12

3.Chromium browser และ window manager ซึ่ง Chrome browser ที่ใช้กับ Chrome OS จะใช้ HTML 5

สำหรับอุปกรณ์ที่รองรับระบบปฏิบัติการ Chrome OS นั้น ทาง Google ได้ร่วมมือกับบริษัท OEMsต่างๆ(คือ การรับจ้างผลิตสินค้าในตราผลิตภัณฑ์อื่น โดยมีการดูแลในเรื่องสินค้า คุณภาพ และบรรจุภัณฑ์ โดยทางลูกค้าเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดจำหน่าย ) อย่าง Acer,Adobe,Freescale,HP,Lenovo,Qualcomm,Texas Instruments และ Toshiba เพื่อหาแนวทางในการผลิต netbook ที่รองรับกับระบบปฏิบัติการ Chrome OS ซึ่งคาดว่าคงจะได้มีการผลิตออกสู่ตลาดราวๆกลางปี 2010 นี้ โดยทาง Google ให้เหตุผลที่จะต้องมีการออกแบบอุปกรณ์เฉพาะที่สามารถรองรับระบบปฏิบัติการ นี้ไว้ว่า เพื่อเพิ่มความเร็วและความปลอดภัยในการใช้งานมากขึ้น เพราะทั้ง software และ hardware ที่ออกแบบมาสามารถเข้ากันได้เป็นอย่างดีนั่นเอง

สำหรับ ข้อดีข้อเสียของระบบปฏิบัติการนี้ในความคิดเห็นของดิฉัน น่าจะมีดังนี้

2.System-level software และ user-land software

8 of 12

โครงการพัฒนา Google Chrome OS น่าจะมีจุดเริ่มต้นจากการที่ Google ทำการสำรวจข้อมูลแล้วได้ผลสรุปว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนมาก มีความต้องการดังนี้

1. ต้องการที่จะใช้งานอีเมล์ได้ในทันที โดยไม่ต้องเสียเวลารอให้เครื่องสตาร์ทเป็นเวลานาน และต้องรอเปิดโปรแกรมเบราเซอร์ก่อนจึงจะเข้าถึงอีเมล์ที่ต้องการ

2. ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วเหมือนกับตอนที่ซื้อเครื่องมาใหม่ๆ

3. ต้องการเข้าถึงข้อมูลของตนเองเมื่อไหร่และที่ไหนก็ได้ที่ต้องการ

4. ไม่ต้องกังวลเรื่องความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัวในกรณีทำเครื่องคอมพิวเตอร์หาย

5. ไม่ต้องกังวลเรื่องทำการสำรองข้อมูล

6. สิ่งสำคัญคือ ไม่ต้องการเสียเวลาไปกับการนั่งเซ็ตอัพเครื่องหรือติดตั้งไดรเวอร์เป็นชั่วโมงๆ กว่าที่จะสามารถใช้งานได้

7. สิ่งสำคัญอีกอย่าง คือ ไม่ต้องการเสียเวลาในการอัพเดทซอฟต์แวร์ทุกๆ เดือน

ปฐมบทแห่งการกำเนิด Google Chrome OS

9 of 12

Google Chrome OS นั้น สามารถทำงานได้ทั้งบนแพลตฟอร์มแบบ x36 และชิปเซ็ต ARM นอกจากนี้ Google ยังได้ร่วมมือกับบริษัท OEMs ต่างๆ ที่เป็นผู้ผลิต Netbook อีกหลายราย เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถทำงานบน Netbook ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ในด้านสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ของ Google Chrome OS นั้นเรียบง่าย โดยทำงานภายใน Windowing System ชั้นบนสุดของ Linux kernel โดยที่ซอฟต์แวร์แบบเว็บแพลตฟอร์มอย่าง Web-Base Application ต่างๆ สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติ

สำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์แอพพลิเคชันใหม่ๆ สามารถใช้ Web Technology แบบใดก็ได้ โดยที่แอพพลิเคชันเหล่านั้นสามารถทำงานแบบข้ามแพลตฟอร์ม นั้นคือ ทำงานได้ทั้งบน Google Chrome OS, Windows, Mac และ Linux

ระบบฮาร์ดแวร์ที่รองรับ Google Chrome OS

10 of 12

1.Google ได้มีการทำความร่วมมือกับบริษัท OEMs ต่างๆเพื่อผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รองรับ Chrome OS จึงมีความเป็นไปได้ว่า ในอนาคตอันใกล้ผู้บริโภคอาจจะต้องซื้ออุปกรณ์เฉพาะถ้าหากจะใช้ Chrome OS

2.ยังมีความไม่ชัดเจนในแง่ของการใช้งานแบบ offline เนื่องจากกูเกิ้ลประกาศออกมาอย่างชัดเจนว่าระบบปฏิบัติการนี้สร้างขึ้นมาสำหรับการใช้งานบนอินเตอร์เน็ต มีการคาดการณ์ว่าทางเลือกในการแก้ปัญหานี้คือ Google Gears ที่จะเป็นบริการเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องเมื่อมีการใช้แอพพลิเคชั่นของ Google เพื่อให้สามารถใช้บริการต่างๆของ Google ได้เมื่อไม่สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายได้

3.ไม่สามารถเลือกใช้บราวเซอร์อื่นได้ นอกจาก Chrome

ส่วนข้อเสียของ Chrome OS คือ

11 of 12

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Chrome OS FAQ

อ้างอิง

12 of 12

กูเกิล โครมโอเอส