1 of 13

ใบงานที่2

โครงงานป้ายนิเทศห้องวิชาการ

โครงงาน

ป้ายนิเทศห้องวิชาการ

2 of 13

บทที่ 1 บทนำ ที่มาเเละความสำคัญ

หากเดินเข้าไปในห้องวิชาการแล้วต้องการยื่นเรื่องขอใบปพ. หรือ ต้องการทราบขนาดของรูปเเต่ไม่ทราบว่ารูปนั้นต้องใช้ขนาดเท่าไร หรือหากเป็นศิษย์เก่าจบก่อนปีพ.ศ.2546 ต้องใช้รูปขนาดเท่าใด ต้องเตรียมเอกสารอะไรเพื่อยื่นใบปพ.

เมื่อเดินเข้าไปในห้องวิชาการเเล้วต้องการยื่นเรื่องขอใบปพ. หรือต้องการทราบขนาดของรูปที่ใช้ในการขอใบปพ. และไม่ทราบว่าต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง รูปควรมีขนาดเท่าไร ถ้าจบไปการเเต่งกายควรเป็นอย่างไร หรือจบในปีพ.ศ.ไหนควรใช้รูปขนาดเท่าใด เเล้วหากถามเจ้าหน้าที่ บางครั้งเจ้าหน้าที่อาจจะไม่อยู่หรือไม่สามารถตอบคำถามของทุกคนได้ ดังนั้นเราจึงจัดทำป้ายนิเทศ โดยแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ ป้ายนิเทศการยื่นขอหลักฐานทางการเรียนใบปพ.1และปพ.7 และป้ายตัวอย่างรูปภาพที่ใช้ยื่นขอใบปพ. โดยป้ายนิเทศการยื่นขอหลักฐานทางการเรียนนั้นจะบอกรายละเอียด ขั้นตอน และหลักฐานที่ใช้ในการยื่นขอ ส่วนป้ายตัวอย่างรูปที่ใช้ยื่นขอใบปพ. จะบอกขนาดความกว้างและความยาวของรูปและบอกความเหมาะสมของรูป จึงใช้งานโปรเเกรม infographic ในการจัดทำป้ายนิเทศ

3 of 13

ขอบเขตของโครงงาน

1. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาหาข้อมูล 3-4 สัปดาห์

2. ข้อมูลที่ใช้ในการจัดทำป้ายนิเทศเป็นข้อมูลที่อยู่ภายในห้องวิชาการ

3. ใช้โปรแกรม Adobe photoshopcs5 ในการจัดทำป้ายนิเทศ

4. ผู้ใช้เป็นนักเรียนในโรงเรียนถาวรานุกูล จำนวน 2,311 คน

กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนในโรงเรียน จำนวน 23 คนเเละคุณครูจำนวน 5 ท่าน

ที่เข้ามาใช้บริการ

4 of 13

จุดประสงค์

1.เพื่อบอกวิธีการยื่นคำร้องขอใบ ปพ. 1 เเละใบปพ. 7

2.เพื่อบอกรายละเอียดของเอกสารที่ต้องเตรียมในการยื่นใบปพ.

3.เพื่อบอกขนาดของรูปภาพที่ใช้ในการยื่นคำร้องขอใบปพ.

4.เพื่อสอบถามความพึงพอใจของผู้ที่มาใช้งานป้ายนิเทศ

5 of 13

บทที่ 2 หลักการ ทฤษฎี และงานที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดทำป้ายนิเทศ มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมาจากการที่นักเรียนเข้าไปภายในห้องวิชาการ แล้วหาข้อมูลที่ใช้ในการยื่นคำร้องขอหลักฐานทางการเรียนไม่พบ จึงเป็นปัญหาสำหรับคนที่เข้ามาใช้งานภายในห้องวิชาการ จึงเกิดแนวคิดที่จะจัดทำป้ายนิเทศตัวอย่างรูปภาพที่ใช้ยื่นขอใบปพ. ซึ่งจะสามารถนำมาใช้งานได้จริงและเกิดประโยชน์ต่อผู้ที่เข้ามาใช้งาน

6 of 13

บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงงาน

ในการจัดทำป้ายนิเทศภายในห้องวิชาการ ผู้จัดทำโครงงานมีวิธีดำเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังนี้

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้พัฒนา

3.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบ

3.1.2 โปรแกรมที่ใช้ Adobe photoshopcs5

3.2 ขั้นตอนการดำเนินงานโครงงาน

3.2.1 เลือกหัวข้อโครงงานเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน

3.2.2 ออกแบบป้ายนิเทศ

3.2.3 จัดทำโครงร่างเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน

3.2.4 จัดทำป้ายนิเทศ

3.2.5 นำเสนอผลงาน

7 of 13

เริ่มต้น

สืบค้นข้อมูล

วางแผนการดำเนินงาน

จัดทำโครงงาน

จัดทำแบบสอบถาม

เผยแพร่โครงงาน

จบการทำงาน

ใช่

ไม่ใช่

ใช่

ไม่ใช่

ตรวจสอบข้อมูลว่าถูกต้องใช่หรือไม่

ตรวจสอบโครงงานว่าถูกต้องใช่หรือไม่

รวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม

เลือกหัวข้อที่ตรงความต้องการที่จะศึกษาใช่หรือไม่

ไม่ใช่

ใช่

สรุปข้อมูลแบบสอบถาม

คัดเลือกหัวข้อ

8 of 13

บทที่ 4 การทดลองและผลการทดลอง

รายการประเมิน

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ระดับความพึงพอใจ

ลำดับที่

1. ความเหมาะสมของป้ายนิเทศ

4.39

0.67

มากที่สุด

5

2. ประโยชน์ที่ได้รับจากป้ายนิเทศ

4.54

0.68

มากที่สุด

1

3. ความพึงพอใจในป้ายนิเทศ

4.50

0.73

มากที่สุด

2

4. ความน่าสนใจป้ายนิเทศ

4.46

0.68

มากที่สุด

3

5. ความน่าเชื่อถือของป้ายนิเทศ

4.46

0.73

มากที่สุด

4

รวม

4.47

0.70

มากที่สุด

-

9 of 13

สรุปผลการดำเนินงาน

1. ได้ป้ายนิเทศที่สามารถให้ข้อมูลการยื่นของใบปพ.

2. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานป้ายนิเทศภายในห้องวิชาการ

2.1 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนถาวรานุกูลที่มาใช้งานป้าย

นิเทศภายในห้องวิชาการจำนวน 23 คน โดยรวมแล้วพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี

2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของคุณครูโรงเรียนถาวรานุกูลที่มาใช้งานป้ายนิเทศภายในห้องวิชาการจำนวน 5 คน โดยรวมแล้วพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ใน

ระดับดี

10 of 13

อภิปรายผลการดำเนินงาน

1. ได้ป้ายนิเทศที่สามารถอำนวยความสะดวกให้แก่นักเรียน ที่มาใช้งานในการหาข้อมูลที่ใช้ในการยื่นขอใบปพ.ได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น

2. จากการใช้งานป้ายนิเทศภายในห้องวิชาการพบว่าความพึงพอใจของนักเรียนเเละคุณครูภายในโรงเรียนถาวรานุกูลมีความพึงพอใจในการใช้ป้ายนิเทศอยู่ในระดับดี

3. การออกเเบบที่น่ารักเเละมีสีสันสวยงามทำให้ดึงดูดความสนใจ

11 of 13

1. ควรมีการออกแบบให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ

2. ควรมีการจัดวางตำแหน่งตัวอักษรให้เป็นระเบียบมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ

12 of 13

ผลงาน

13 of 13

นาย สิทธา เอี่ยมละออ เลขที่ 25

น.ส.วณิชญา โตจวง เลขที่ 32

น.ส.วราภรณ์ มีคง เลขที่ 33

น.ส.โสรยา อ่อนบุญยะ เลขที่ 34

มัธยมศึกษาปีที่ 4/2

สมาชิก