1 of 54

สื่อประกอบการสอนงานขับรถยนต์

20101-2008

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช). พุทธศักราช 2562

ของสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

2 of 54

หน่วยที่ 1

พระบัญญัติจราจรทางบก

3 of 54

กฎหมายจราจร คือ พระราชบัญญัติจราจรทางบก มีสาระสำคัญ ความเป็นมาดังนี้พระราชบัญญัติ จราจรทางบกฉบับแรกประกาศใช้เมื่อพุทธศักราช 2477 และแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช2478ฉบับที่สาม พุทธศักราช 2481 ฉบับที่สี่ พุทธศักราช 2508 และมีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 59 ลงวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2515 ใช้บังคับต่อมาอีก 7 ปีจึงมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจราจร ทางบก พ.ศ. 2522 ที่ใช้เป็นกฎหมายในปัจจุบัน

4 of 54

กฎหมายจราจรใหม่ คือ พระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2562 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่22 พฤษภาคม พ.ศ.2562ตามความในมาตรา 2 ให้กฎหมายฉบับนี้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำ หนด 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2562) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน เหตุผลการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้

5 of 54

กฎหมายจราจรใหม่ คือ พระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2562 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่22 พฤษภาคม พ.ศ.2562ตามความในมาตรา 2 ให้กฎหมายฉบับนี้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำ หนด 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2562) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน เหตุผลการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้

6 of 54

การเกิดอุบัติเหตุ ทางถนนของประเทศไทย มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง

ผู้ขับขี่ขาดวินัย

ในการใช้รถใช้ถนน

และไม่ปฏิบัติตาม

กฎหมายว่าด้วย

การจราจรทางบก

กฎหมายเดิม คือ

พระราชบัญญัติ

จราจรทางบก พ.ศ.

2522 ได้ใช้บังคับมา

เป็นระยะเวลานาน

กว่า 40 ปีแล้ว

มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์

บางประการให้

เข้ากับสภาพการณ์

ในปัจจุบัน

7 of 54

8 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

ทาง หมายความว่า ทางเดินรถ ช่องเดินรถ ช่องเดินรถประจำ ทาง ไหล่ทาง

ทางเท้า ทางข้าม ทางร่วมทางแยก ทางลาด ทางโค้ง สะพาน และลานที่ประชาชนใช้ในการจราจรและให้หมายความรวมถึงทางส่วนบุคคลที่เจ้าของยินยอมให้ ประชาชนใช้ในการจราจรหรือที่เจ้าพนักงานจราจรได้ประกาศให้เป็นทางตามพระราชบัญญัตินี้ด้วยแต่ไม่รวมไปถึงทางรถไฟ

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

การจราจรหมายความว่า การใช้ทางของผู้ขับขี่ คนเดินเท้า หรือคนที่จูง ขี่ หรือ ไล่ต้อนสัตว์

9 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“ช่องเดินรถประจำทาง” หมายความว่า ช่องเดินรถที่กำหนดให้เป็นช่องเดินรถ สำหรับรถโดยสารประจำ ทาง หรือรถบรรทุกคนโดยสารประเภทที่อธิบดีกำหนด

ทางเดินรถทางเดียว หมายความว่า ทางเดินรถใดที่กำ หนดให้ผู้ขับรถขับไปในทิศทางเดียวกันตามเวลาที่เจ้าพนักงานจราจรกำ หนด

10 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

ช่องเดินรถ หมายความว่า ทางเดินรถที่จัดแบ่งเป็นช่องสำ หรับเดินรถโดยทำเครื่องหมายเป็นเส้นหรือแนวแบ่งเป็นช่องไว้

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“ทางเดินรถ” หมายความว่า พื้นที่ที่ทำ ไว้สำ หรับการเดินรถไม่ว่าในระดับพื้นดิน ใต้หรือเหนือพื้นดิน

11 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“ขอบทาง” หมายความว่า แนวริมของทางเดินรถ

ไหล่ทาง หมายความว่า พื้นที่ที่ต่อจากขอบทางออกไปทางด้านข้าง ซึ่งยังมิได้

จัดทำ เป็นทางเท้า

“ทางร่วมทางแยก” หมายความว่า พื้นที่ที่ทางเดินรถตั้งแต่สองสายตัดผ่านกัน รวมบรรจบกันหรือติดกัน

12 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

วงเวียนหมายความว่า ทางเดินรถที่กำ หนดให้รถเดินรอบเครื่องหมายจราจรหรือ

สิ่งที่สร้างขึ้นในทางร่วมทางแยก

“ทางเท้า” หมายความว่า พื้นที่ที่ทำ ไว้สำ หรับคนเดินซึ่งอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของทาง

หรือสองข้างของทาง หรือส่วนที่อยู่ชิดขอบทางซึ่งใช้เป็นที่สำ หรับคนเดิ

13 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“ทางข้าม” หมายความว่า พื้นที่ที่ทำ ไว้สำ หรับให้คนเดินเท้าข้ามทาง โดยทำ

เครื่องหมายเป็นเส้นหรือแนวหรือตอกหมุดไว้บนทาง และให้หมายความ

รวมถึงพื้นที่ที่ทำ ให้คนเดินเท้าข้ามไม่ว่าในระดับใต้หรือเหนือพื้นดินด้วย

เขตปลอดภัยหมายความว่า พื้นที่ในทางเดินรถที่มีเครื่องหมายแสดงไว้ให้เห็นได้ชัดเจนทุกเวลาสำ หรับให้คนเดินเท้าที่ข้ามทางหยุดรอหรือให้คนที่ขึ้นหรือลงรถหยุดรอก่อนจะข้ามทางต่อไป

14 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

ที่คับขัน หมายความว่า ทางที่มีการจราจรพลุกพล่านหรือมีสิ่งกีดขวาง หรือ

ในที่ซึ่งมองเห็นหรือทราบได้ล่วงหน้าว่าอาจเกิดอันตรายหรือความ

เสียหายแก่รถหรือคนได้ง่าย

“รถ” หมายความว่า ยานพาหนะทางบกทุกชนิดเว้นแต่รถไฟและรถราง

15 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“รถยนต์” หมายความว่า รถที่มีล้อตั้งแต่สามล้อและเดินด้วยกำ ลังเครื่องยนต์

กำลังไฟฟ้าหรือพลังงานอื่น ยกเว้นรถที่เดินบนราง

“รถจักรยานยนต์” หมายความว่ารถที่เดินด้วยกำลังเครื่องยนต์กำลังไฟฟ้าหรือพลังงานอื่นและมีล้อไม่เกินสองล้อ ถ้ามีพ่วงข้างมีล้อเพิ่มอีกไม่เกินหนึ่งล้อ

16 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“รถจักรยาน หมายความว่า รถที่เดินด้วยกำลังของผู้ขับขี่ที่มิใช่เป็นการลากเข็น

“รถฉุกเฉิน” หมายความว่า รถดับเพลิงและรถพยาบาลของราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาคและราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรถอื่น

ที่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ หรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรนหรือเสียงสัญญาณอย่างอื่นตามที่จะกำ หนดให

17 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“รถบรรทุก” หมายความว่า รถยนต์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้บรรทุกสิ่งของหรือสัตว์

“รถบรรทุกคนโดยสาร” หมายความว่า รถยนต์ที่สร้างเพื่อใช้บรรทุกคนโดยสารเกินเจ็ดคน

18 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“รถโรงเรียน” หมายความว่า รถบรรทุกคนโดยสารที่โรงเรียนใช้รับส่งนักเรียน

“รถโดยสารประจำทาง” หมายความว่า รถบรรทุกคนโดยสารที่เดินตามทางที่กำ หนดไว้และเรียกเก็บค่าโดยสารเป็นรายคนตามอัตราที่วางไว้เป็นระยะทางหรือ

ตลอดทาง

19 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“รถแท็กซี่” หมายความว่า รถยนต์ที่ใช้รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกินเจ็ดคน

“รถลากจูง” หมายความว่า รถยนต์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้สำ หรับลากจูงรถหรือเครื่องมือการเกษตรหรือเครื่องมือการก่อสร้างโดยตัวรถนั้นเองมิได้ใช้สำ หรับ

บรรทุกคนหรือสิ่งของ

20 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“รถพ่วง” หมายความว่า รถที่เคลื่อนไปโดยใช้รถอื่นลากจูง

“มาตรแท็กซี่” หมายความว่า เครื่องแสดงอัตราและค่าโดยสารของรถแท็กซี่ โดยอาศัยเกณฑ์ระยะทางหรือเวลาการใช้รถแท็กซี่ หรือโดยอาศัยทั้งระยะทางและ

เวลาการใช้รถแท็กซี

21 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“ผู้ขับขี่” หมายความว่า ผู้ขับรถ ผู้ประจำ เครื่องอุปกรณ์การขนส่งตามกฎหมาย

ว่าด้วยการขนส่ง ผู้ลากเข็นยานพาหนะ

“คนเดินเท้า” หมายความว่า คนเดินและให้รวมตลอดถึงผู้ใช้เก้าอี้ล้อสำ หรับคนพิการหรือรถสำ หรับเด็กด้วย

22 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“เจ้าของรถ” หมายความรวมถึง ผู้มีรถไว้ในครอบครองด้วย

“ผู้เก็บค่าโดยสาร” หมายความว่าผู้ซึ่งรับผิดชอบในการเก็บค่าโดยสารและผู้ดูแลคนโดยสารที่อยู่ประจำ รถบรรทุกคนโดยสาร

23 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

“ใบอนุญาตขับขี่” หมายความว่า ใบอนุญาตขับรถยนต์ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์

ใบอนุญาตสำ หรับคนขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถจ้าง ใบอนุญาตขับขี่

ตามกฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน และใบอนุญาตผู้ประจำ เครื่องอุปกรณ์การ

ขนส่งตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่ง

“สัญญาณจราจร” หมายความว่า สัญญาณใด ๆ ไม่ว่าจะแสดงด้วยธง ไฟ ไฟฟ้า มือ แขนเสียงนกหวีด หรือด้วยวิธีอื่นใดสำ หรับให้ผู้ขับขี่คนเดินเท้าหรือคนที่จูงขี่

หรือไล่ต้อนสัตว์ปฏิบัติตามสัญญาณนั้น

24 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบก

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2522 ให้คำจำกัดความ ตามมาตรา 4 ไว้ดังนี้

เครื่องหมายจราจร หมายความว่า เครื่องหมายใด ๆ ที่ได้ติดตั้งไว้หรือทำ ให้ปรากฏในทางสำ หรับให้ผู้ขับขี่ คนเดินเท้าหรือคนที่จูง ขี่ หรือไล่ต้อนสัตว์ ปฏิบัติตามเครื่องหมายนั้น

25 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

ในการใช้ทางเดินรถผู้ขับขี่ต้องใช้ความระมัดระวัง ไม่ให้รถชนหรือโดนคนเดินเท้าไม่ว่า จะอยู่ ณ ส่วนใดของทาง และต้องให้สัญญาณเตือนคนเดินเท้าให้รู้ตัวเมื่อจำ เป็น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเด็กคนชราหรือคนพิการที่กำลังใช้ทางผู้ขับขี่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษในการ ควบคุมรถของตน

มาตรา 32

26 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

ในการขับรถผู้ขับขี่ต้องขับรถในทางเดินรถด้านซ้ายและต้องไม่ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถเว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ให้เดินรถทางขวาหรือล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถได้

(1) ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปิดการจราจร

(2) ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว (3) ทางเดินรถนั้นกว้างไม่ถึง 6 เมตร

มาตรา 33

27 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

ในการใช้ทางเดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันตั้งแต่ 2 ช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำ ทางไว้ในช่องเดินรถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุดหรือใกล้กับช่องเดินรถประจำ ทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ให้เดินรถทางขวาของทางเดินรถได้

(1) ในช่องเดินรถนั้นมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปิดการจราจร

(2) ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรกำ หนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว

(3) จะต้องเข้าช่องทางให้ถูกต้อง เมื่อเข้าบริเวณใกล้ทางร่วมทางแยก

(4) เมื่อจะแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น

(5) เมื่อผู้ขับขี่ขับรถด้วยความเร็วสูงกว่ารถในช่องเดินรถด้านซ้าย

มาตรา 34

28 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

29 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

รถที่มีความเร็วช้าหรือรถที่มีความเร็วต่ำกว่ำความเร็วของรถคันอื่นที่ขับในทิศทาง

เดียวกัน ผู้ขับขี่ต้องขับรถให้ใกล้ขอบทางเดินรถด้านซ้ายเท่าที่จะกระทำได้

ผู้ขับขี่รถบรรทุกรถบรรทุกคนโดยสารรถจักรยานยนต์ในทางเดินรถซึ่งได้แบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป หรือได้จัดช่องเดินรถประจำทางด้านซ้ายไว้โดยเฉพาะ

ต้องขับรถในช่องเดินรถซ้ายสุด หรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทางแล้วแต่กรณี

มาตรา 35

30 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

ผู้ขับขี่ซึ่งจะเลี้ยวรถให้รถคันอื่นผ่านหรือแซงขึ้นหน้า เปลี่ยนช่องเดินรถ ลดความเร็ว ของรถ จอดรถ หรือหยุดรถ ต้องให้สัญญาณด้วยมือและแขนตามมาตรา 37 หรือไฟสัญญาณ ตามมาตรา 38 หรือสัญญาณอย่างอื่นตามข้อบังคับของหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร ผู้ขับขี่ต้องให้สัญญาณด้วยมือและแขน ไฟสัญญาณหรือสัญญาณอย่างอื่น ก่อนที่จะ เลี้ยวรถ เปลี่ยนช่องเดินรถ จอดรถ หรือหยุดรถ เป็นระยะทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร ผู้ขับขี่ ต้องให้สัญญาณด้วยมือและแขน ไฟสัญญาณหรือสัญญาณอย่างอื่น ให้ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถอื่น เห็นได้ในระยะไม่น้อยกว่า 60 เมตร

มาตรา 36

31 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

การให้ไฟสัญญาณของผู้ขับขี่รถยนต์หรือจักรยานยนต์ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) เมื่อจะหยุดรถ ผู้ขับขี่ต้องให้ไฟสัญญาณสีแดงที่ท้ายรถ (2) เมื่อจะเลี้ยวรถเปลี่ยนช่องเดินรถ หรือแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น ผู้ขับขี่ต้องให้สัญญาณ ยกเลี้ยวสีเหลืองอำ พัน หรือให้ไฟสัญญาณกะพริบสีขาวหรือสีเหลืองอำ พันที่ติดอยู่ หน้ารถหรือข้างรถและไฟสัญญาณกะพริบสีแดงหรือสีเหลืองอำ พันที่ติดอยู่ท้ายรถ ไปในทิศทางที่จะเลี้ยวหรือเปลี่ยนช่องเดินรถ หรือแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น (3) เมื่อจะให้รถคันอื่นแซงขึ้นหน้าผู้ขับขี่ต้องให้ไฟสัญญาณยกเลี้ยวสีเหลืองอำ พัน หรือ ให้ไฟสัญญาณกะพริบสีแดงหรือสีเหลืองอำ พันที่ติดอยู่ท้ายรถทางด้านซ้ายของรถ

มาตรา 38

32 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

ผู้ขับขี่ต้องขับรถให้ห่างคันหน้าพอสมควรในระยะที่จะหยุดรถได้โดยปลอดภัยเมื่อจำ เป็นต้องหยุดรถผู้ขับขี่ซึ่งขับรถขึ้นสะพานหรือทางลาดชันต้องใช้ความระมัดระวังไม่ให้รถถอยหลังไปโดนรถคันอื่น

มาตรา 40

33 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถ

(1) ในขณะหย่อนความสามารถในการขับ

(2) ในขณะเมาสุราหรือของเมาอย่างอื่น

(3) ในลักษณะกีดขวางการจราจร

(4) โดยประมาท หรือน่าหวาดเสียว อันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน

(5) ในลักษณะที่ผิดปกติวิสัยของการขับรถตามธรรมดา หรือไม่อาจแลเห็นทางด้านหน้า หรือด้านหลัง ด้านใดด้านหนึ่งหรือสองด้านได้พอแก่ความปลอดภัย

มาตรา 43

34 of 54

การใช้ทางเดินรถการขับรถ

(6) คร่อมหรือทับเส้น หรือแนวแบ่งช่องเดินรถ เว้นแต่เมื่อเปลี่ยนช่องเดินรถ เลี้ยวรถหรือกลับรถ

(7) บนทางเท้าโดยไม่มีเหตุอันสมควรเว้นแต่รถลากเข็นสำหรับทารกคนป่วย หรือคนพิการ

(8) โดยไม่คำ นึงถึงความปลอดภัยหรือความเดือดร้อนของผู้อื่น

(9) ในขณะใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ เว้นแต่การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยใช้อุปกรณ์เสริมสำหรับการสนทนาโดยผู้ขับขี่ไม่ต้องถือหรือจับโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้น

มาตรา 43

35 of 54

การขับรถแซงและผ่านขึ้นหน้า

ผู้ขับขี่ซึ่งประสงค์จะขับรถแซงเพื่อขึ้นหน้ารถอื่นในทางเดินรถซึ่งไม่ได้แบ่งช่องเดินรถไว้ ต้องให้เสียงสัญญาณดังพอที่ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถคันหน้าทราบความประสงค์และเมื่อผู้ขับขี่ ซึ่งขับรถคันหน้าให้สัญญาณตอบ ตามมาตรา 37 (3) หรือมาตรา 38 (3) แล้วจึงจะแซง ขึ้นหน้าได้

มาตรา 44

36 of 54

การขับรถแซงและผ่านขึ้นหน้า

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถแซงเพื่อขึ้นหน้ารถคันอื่นด้านซ้าย เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้

(1) รถที่จะถูกแซงกำลังเลี้ยวขวาหรือให้สัญญาณจะเลี้ยวขวา

(2) ทางเดินรถนั้น ได้จัดแบ่งเป็นช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป

มาตรา 45

37 of 54

การขับรถแซงและผ่านขึ้นหน้า

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถแซงเพื่อขึ้นหน้ารถอื่นในกรณีต่อไปนี้ (1) เมื่อรถกำลังขึ้นทางชัน ขึ้นสะพานหรืออยู่ในทางโค้งเว้นแต่จะมีเครื่องหมายจราจร ให้แซงได้ (2) ภายในระยะทาง 30 เมตร ก่อนถึงทางข้าม ทางร่วม ทางแยก วงเวียนหรือเกาะ ที่สร้างไว้หรือทางรถเดินที่ตัดข้ามทางรถไฟ (3) เมื่อมีหมอก ฝน ฝุ่นหรือควัน จนทำ ให้ไม่อาจเห็นทางข้างหน้าได้ในระยะ 60 เมตร (4) เมื่อเข้าที่คับขันหรือเขตปลอดภัย

มาตรา 46

38 of 54

การขับรถแซงและผ่านขึ้นหน้า

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถแซงหรือผ่านขึ้นหน้ารถคันอื่นล้ำเข้าไปในเส้นกึ่งกลางของทางเดินรถ ที่กำหนดไว้หรือมีเครื่องหมายจราจรแสดงเขตอันตราย หรือเขตให้ใช้ความระมัดระวังบนทาง เดินรถ

มาตรา 47

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถแซงหรือผ่านขึ้นหน้ารถคันอื่นล้ำเข้าไปในช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีที่มีสิ่งกีดขวางการจราจรในทางเดินรถข้างหน้า หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามคำสั่ง หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร แต่ทั้งนี้จะขับรถอยู่ในช่องเดินรถประจำทางได้เพียงเท่าที่จำเป็น เท่านั้น

มาตรา 48

39 of 54

การขับรถแซงและผ่านขึ้นหน้า

เมื่อได้รับสัญญาณขอแซงขึ้นหน้าจากรถคันที่อยู่ข้างหลัง ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถที่มีความเร็ว ช้า หรือรถที่ใช้ความเร็วต่ำกว่าความเร็วของรถอื่นที่ขับในทิศทางเดียวกัน ต้องยอมให้รถ ที่มีความเร็วสูงกว่าผ่านขึ้นหน้า ผู้ขับขี่ที่ถูกขอทางต้องให้สัญญาณตอบตามมาตรา 37 (3) หรือมาตรา 38 (3) เมื่อเห็นว่าทางเดินรถข้างหน้าปลอดภัยและไม่มีรถอื่นสวนทางมา ในระยะกระชั้นชิดและต้องลดความเร็วของรถและขับรถชิดด้านซ้ายของทางเดินรถเพื่อให้รถ ที่แซงผ่านขึ้นหน้าได้โดยปลอดภัย

มาตรา 49

40 of 54

การออกรถ การเลี้ยวรถ

และการกลับรถ

การขับรถออกจากที่จอด ถ้ามีรถจอดหรือมีสิ่งกีดขวางอยู่ข้างหน้า ผู้ขับขี่ต้องให้

สัญญาณด้วยมือ และแขนตามมาตรา 37 หรือไฟสัญญาณตามมาตรา 38 และขับรถไปได้เมื่อ

เห็นว่าปลอดภัย และไม่เป็นการกีดขวางการจราจรของรถอื่น

มาตรา 50

41 of 54

การออกรถ การเลี้ยวรถ

และการกลับรถ

ในทางเดินรถที่สวนกันได้ห้ามมิให้ผู้ขับขี่กลับรถเมื่อมีรถอื่นสวน หรือตามมาในระยะ

ไม่น้อยกว่า 150 เมตร

ถ้าการกลับรถในทางเดินรถที่สวนกันได้จะเป็นการกีดขวางการจราจรห้ามมิให้ผู้ขับขี่

กลับรถในทางเดินรถนั้น

มาตรา 52

42 of 54

การออกรถ การเลี้ยวรถ

และการกลับรถ

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่

(1) เลี้ยวรถหรือกลับรถในทางเดินรถที่มีเครื่องหมายห้ามเลี้ยวขวาห้ามเลี้ยวซ้าย หรือห้ามกลับรถ

(2) กลับรถที่เขตปลอดภัย ที่คับขันบนสะพาน หรือในระยะ 100 เมตรจากทางราบ ของเชิงสะพาน

(3) กลับรถที่ทางร่วมทางแยก เว้นแต่จะมีเครื่องหมายจราจรให้กลับรถในบริเวณ ดังกล่าวได้

มาตรา 53

43 of 54

การหยุดและการจอดรถ

การหยุดรถ หรือการจอดรถในทางเดินรถ ผู้ขับขี่ต้องให้สัญญาณด้วยมือและแขน

ตามมาตรา37 หรือไฟสัญญาณตามมาตรา 38 ก่อนที่จะหยุดรถหรือจอดรถในระยะไม่น้อยกว่า 30 เมตร และจะหยุดรถหรือจอดรถได้เมื่อผู้ขับขี่เห็นว่าปลอดภัย และไม่เป็นการกีดขวาง

การจราจร

มาตรา 54

44 of 54

การหยุดและการจอดรถ

ห้ามมิให้ผู้ขับขี่หยุดรถ (1) ในช่องเดินรถ เว้นแต่ชิดขอบทางด้านซ้ายของทางเดินรถ กรณีที่ไม่มีช่องเดินรถ ประจำ ทาง (2) บนทางเท้า (3) บนสะพานหรืออุโมงค์ (4) ในทางร่วมทางแยก (5) ในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามหยุดรถ (6) ตรงปากทางเข้าออกของอาคารหรือทางเดินรถ (7) ในเขตปลอดภัย (8) ในลักษณะกีดขวางการจราจร

มาตรา 55

45 of 54

การหยุดและการจอดรถ

ในกรณีที่เครื่องยนต์หรืออุปกรณ์ของรถขัดข้องจนต้องจอดรถในทางเดินรถ ผู้ขับขี่ ต้องนำ รถให้พ้นทางเดินรถโดยเร็วที่สุด

มาตรา 56

46 of 54

การหยุดและการจอดรถ

เว้นแต่จะได้มีบทบัญญัติกฎ หรือข้อบังคับตามพระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ห้ามมิให้ผู้ขับขี่จอดรถ

  • บนทางเท้า

(2) บนสะพานหรืออุโมงค์

(3) ในทางร่วมทางแยก หรือในระยะ 10 เมตรจากทางร่วมทางแยก

(4) ในทางข้ามหรือในระยะทาง 3 เมตรจากทางข้าม

(5) ในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ

(6) ในระยะ 3 เมตรจากท่อน้ำดับเพลิง

มาตรา 57

47 of 54

การหยุดและการจอดรถ

(7) ในระยะ 10 เมตรจากที่ติดตั้งสัญญาณจราจร

(8) ในระยะ 15 เมตรจากทางรถไฟผ่าน

(9) ซ้อนกันกับรถอื่นที่จอดอยู่ก่อนแล้ว

(10) ตรงปากทางเข้าออกอาคารหรือทางเดินรถหรือในระยะ5เมตรจากปากทางเดินรถ

(11) ระหว่างเขตปลอดภัยกับขอบทางหรือในระยะ 10 เมตรนับจากปลายสุดของเขต ปลอดภัยทั้งสองข้าง

(12) ในที่คับขัน

(13) ในระยะ 15 เมตร ก่อนถึงเครื่องหมายหยุดรถประจำทางและเลยเครื่องหมาย ไปอีก 3 เมตร

(14) ในระยะ 3 เมตรจากตู้ไปรษณีย์ (15) ในลักษณะกีดขวางการจราจร

มาตรา 57

48 of 54

การหยุดและการจอดรถ

การจอดรถในทางเดินรถที่ผู้ขับขี่ไม่อาจอยู่ควบคุมรถนั้น ผู้ขับขี่ต้องหยุดเครื่องยนต์

และห้ามล้อรถนั้นไว้การจอดรถในทางเดินรถที่เป็นทางลาดหรือชัน ผู้ขับขี่ต้องหันล้อหน้า

ของรถเข้าขอบทาง

มาตรา 58

49 of 54

การขับรถผ่านทางร่วม ทางแยกหรือวงเวียน

ภายใต้บังคับมาตรา 21 และมาตรา 26 เมื่อผู้ขับขี่ขับรถมาถึงทางร่วมทางแยกให้ผู้ขับขี่ ปฏิบัติดังนี้ (1) ถ้ามีรถอื่นอยู่ในทางร่วมทางแยกผู้ขับขี่ต้องให้รถในทางร่วมทางแยกนั้นผ่านไปก่อน (2) ถ้ามาถึงทางร่วมทางแยกพร้อมกันและไม่มีรถอยู่ในทางร่วมทางแยก ผู้ขับขี่ต้อง ให้รถที่อยู่ทางด้านซ้ายของตนผ่านไปก่อน เว้นแต่ในทางร่วมทางแยกใดมีทางเดินรถ

มาตรา 71

50 of 54

การขับรถผ่านทางร่วม ทางแยกหรือวงเวียน

ทางเอกตัดผ่านทางเดินรถทางโท ให้ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถในทางเอกตัดผ่านทางเดินรถ ทางโทมีสิทธิขับผ่านไปก่อน

(3) ถ้าสัญญาณจราจรไฟเขียวปรากฏข้างหน้าแต่ในทางร่วมทางแยกมีรถอื่นหยุดขวางอยู่ จนไม่สามารถผ่านพ้นทางร่วมทางแยกไปได้ผู้ขับขี่จะต้องหยุดรถที่หลังเส้น ให้รถหยุดจนกว่าจะสามารถเคลื่อนรถผ่านพ้นทางร่วมทางแยกไปได้

มาตรา 71

51 of 54

การขับรถผ่านทางร่วม ทางแยกหรือวงเวียน

ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถออกจากทางส่วนบุคคลหรือทางเดินรถในบริเวณอาคารเมื่อขับรถผ่าน หรือเลี้ยวสู่ทางเดินรถที่ตัดผ่านต้องหยุดรถเพื่อให้รถที่กำลังผ่านทางหรือรถที่กำลังแล่นอยู่ใน ทางเดินรถผ่านไปก่อน เมื่อเห็นว่าปลอดภัยแล้วจึงขับรถต่อไปได้

มาตรา 74

52 of 54

ภาพรวมของกฎหมายจราจรใหม่

53 of 54

ภาพรวม

ของกฎหมายจราจรใหม่

54 of 54

พระราชบัญญัติจราจรทางบกประกาศใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 เป็นระยะเวลาที่ยาวนานและ

ได้มีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่22 พฤษภาคม พ.ศ.2562ตามความในมาตรา2ให้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำ หนด120วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา(วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2562) จากเหตุผลที่ว่า อุบัติเหตุทางถนนมีจำ นวนเพิ่มมากขึ้น ผู้ขับขี่ขาดวินัยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายซึ่งได้ใช้บังคับมาเป็นระยะเวลานาน จึงมีการปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้เข้ากับสภาพการณ์ในปัจจุบัน ได้แก่กลไกการออกใบสั่งผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแลและบังคับใช้กฎหมาย

สรุป

หน่วยที่ 2