Quiz Management of Neonates with Suspected or Proven Early-onset Bacterial Sepsis(American Academy of Pediatrics Clinical Report)
* Required
ชื่อ-นามสกุล
*
Your answer
เลขประกอบวิชาชีพ
*
Your answer
1. ทารกกลุ่มใดมีความเสี่ยงต่อการเกิด early-onset sepsis มากที่สุด
*
1 point
ก. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม
ข. ทารกแรกเกิดน้ำหนัก 1,001-1,500 กรัม
ค. ทารกก่อนกำหนดระยะท้าย
ง. ทารกเกินกำหนด
Required
2. เชื้อแบคทีเรียในข้อใดเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในโพรงมดลูกที่ทำให้มารดามีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ในทารกเกิดก่อนกำหนด
*
1 point
ก. Staphylococcus aureus
ข. Listeria monocytogenes
ค. Enterococcus spp.
ง. Ureaplasma spp.
Required
3. กรณีใดต่อไปนี้ที่มารดาอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ไม่จำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
*
1 point
ก. มารดามีไข้ 40 องศาเซลเซียส จากไข้หวัดใหญ่
ข. มารดามีไข้ 39 องศาเซลเซียส โดยไม่ทราบสาเหตุ
ค. มารดามีไข้ 38.2 องศาเซลเซียส จากการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ง. มารดามีไข้ 38.5 องศาเซลเซียส และตรวจพบ WBC 18,000/cu mm จากการตรวจนับเม็ดเลือด
Required
4. แนวทางการประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด early-onset sepsis ในข้อใดที่ส่งผลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะมากเกินความจำเป็นเนื่องจากไม่ได้นิยามอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อให้ชัดเจน
*
1 point
ก. CDC 2010 guidelines
ข. Neonatal early-onset sepsis risk calculator
ค. Risk assessment primarily based on newborn clinical condition
ง. ถูกทุกข้อ
Required
5. ข้อใดเป็นการส่งตรวจเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นที่สำคัญที่สุดในการวินิจฉัยภาวะ early-onset sepsis
*
1 point
ก. การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในของเหลวจากกระเพาะอาหาร
ข. การส่ง CRP 2 ครั้ง ห่างกัน 24 ชั่วโมง
ค. การเพาะเชื้อในน้ำไขสันหลัง
ง. การเพาะเชื้อในเลือด
Required
Submit
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google.
Report Abuse
-
Terms of Service
-
Privacy Policy
Forms