แบบตรวจสอบมโนทัศน์ด้านการประเมินคุณภาพภายในแนวใหม่
คำชี้แจง
 1. แบบทดสอบฉบับนี้ใช้ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาและการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑  
2. ข้อสอบมีจำนวน 20 ข้อ เมื่อท่านแบบทดสอบผ่านเกณฑ์ ๘๐ % เกียรติบัตรส่งถูกส่งไปยังอีเมล์ของท่าน
3. ทำข้อสอบให้ครบทุกข้อ
Sign in to Google to save your progress. Learn more
Email *
ชื่อ นามสกุล
ตัวอย่าง : นาย / นางสาว /นาง เช่น นายxxxxxx xxxxxxx
หน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงาน /องค์กร /สถานศึกษา
๑. การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวใหม่เป็นการประเมินแบบองค์รวม (holistic assessment) บนพื้นฐานของหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยอาศัยความ เชี่ยวชาญ (expert judgment) ของคณะกรรมการทีมีความรู้ความสามารถคลายกัน (peer review) *
๒. การประเมินคุณภาพภายในแนวให้มเน้นการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินระดับ ต่างกัน (peer review) และเป็นการประเมินแบบองค์รวม(holistic assessment) *
๓. การกำหนดเป้าหมายการดำเนินการประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษารวมกับเขตพื้นที่การศึกษา *
๔ การกำหนดระยะเวลาดำเนินการประเมินภายในของสถานศึกษาให้สถานศึกษากำหนดเองตามความเหมาะสมโดยกำหนด ระยะเวลาให้สอดคล้องกับสภาพและ บริบทของการดำเนินงานของสถานศึกษา *
๕ การประเมินแบบองค์รวม (holistic assessment) เป็นการประเมินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ ผู้ประเมินมีประสบการณ์ทำให้ช่วยลดเวลาการประเมิน และช่วยขจัดความไม่น่าเชื่อถือในการประเมินได้ *
๖. การประเมินคุณภาพแนวใหม สถานศึกษาจะต้องตรวจสอบและประเมินตนเอง โดยให้ใช้แบบ holistic รูปแบบเดียว และไม่ต้องใช้การประเมินแบบ analytic *
๗. ข้อดีของการประเมินแบบองค์รวม คือรวดเร็ว และประหยัดเวลาในการประเมินการตัดสินใจ *
๘. เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน สำหรับแต่ละองค์ประกอบ เรียกว่า  Holistic  rubrics *
๙. บุคคลที่เป็น expert judgment ของการประเมินคุณภาพภายใน ได้แก่ ผู้บริหาร สถานศึกษา *
๑๐. การประเมินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) เป็นการประเมินและตัดสินของผู้ที่มีความเชี่ยวชาญโดยไม่ต้องเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ *
๑๑. คุณภาพของการประเมินและการตัดสินที่ถูกต้องจะต้องอาศัยข้อมูลหลักฐานที่เชื่อถือ ได้โดยการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลสามารถพิจารณาได้จากเวลา สถานที่และบุคคล *
๑๒. การตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญเป็นการพิจารณาให้น้ำหนักความสำคัญแก่หลักฐานที่มีอยู่โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีทักษะหรือมีประสบการณ์เฉพาะทาง *
๑๓. ข้อมูลที่ได้จากการบอกเล่า หรือประสบการณส่วนตัวหรือข้อคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ เป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือสูง *
๑๔. การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล อาจใช้การสังเกตุควบคุม กับการซักถามหรือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเอกสาร หรือทำการซักถามผู้ให้ข้อมูลสำคัญ *
๑๕. ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นพิชญพิจารณ์ (peer review) ต้องมีความรู้และประสบการณในการทำงานที่คล้ายกันกับผู้ถูกพิจารณ์ *
๑๖. ผู้ที่ทำหน้าทเป็นพิชญพิจารณ์ (peer review) ต้องเป็นบุคคลที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับ สถานศึกษาที่เขาไปพิจารณ์ *
๑๗. พิชญพิจารณ์ในการประกันคุณภาพ เน้นให้ผลป้อนกลับสำหรับโรงเรียน เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้ดีขึ้น   *
๑๘. แฟ้มสะสมผลงานครูและนักเรียนไม่สามารถนำมาใช้ประกอบการประกันคุณภาพ ภายในแนวใหม่ได้ *
๑๙. การประเมินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญบางครั้งอาจพบว่า ผลการประเมินมความแตกต่างกัน จึงอาจต้องใช้วิธีทางด้านคณิตศาสตร์และทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อหาฉันทามติ *
๒๐. การได้รับข้อชี้แนะ คำแนะนำ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและสามารถปฏิบัติได้จริง เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากที่สุดในกำรประเมิน *
A copy of your responses will be emailed to the address you provided.
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
reCAPTCHA
This form was created inside of หน่วยศึกษานิเทศก์ สพฐ..