แบบตรวจสอบมโนทัศน์ด้านการประเมินคุณภาพภายในแนวใหม่
คำชี้แจง
 1. แบบทดสอบฉบับนี้ใช้ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาและการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑  
2. ข้อสอบมีจำนวน 20 ข้อ เมื่อท่านแบบทดสอบผ่านเกณฑ์ ๘๐ % เกียรติบัตรส่งถูกส่งไปยังอีเมล์ของท่าน
3. ทำข้อสอบให้ครบทุกข้อ
Sign in to Google to save your progress. Learn more
Email *
ชื่อ นามสกุล
ตัวอย่าง : นาย / นางสาว /นาง เช่น นายxxxxxx xxxxxxx
หน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงาน /องค์กร /สถานศึกษา
๑. การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวใหม่เป็นการประเมินแบบองค์รวม (holistic assessment) บนพื้นฐานของหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยอาศัยความ เชี่ยวชาญ (expert judgment) ของคณะกรรมการทีมีความรู้ความสามารถคลายกัน (peer review) *
๒. การประเมินคุณภาพภายในแนวให้มเน้นการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินระดับ ต่างกัน (peer review) และเป็นการประเมินแบบองค์รวม(holistic assessment) *
๓. การกำหนดเป้าหมายการดำเนินการประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษารวมกับเขตพื้นที่การศึกษา *
๔ การกำหนดระยะเวลาดำเนินการประเมินภายในของสถานศึกษาให้สถานศึกษากำหนดเองตามความเหมาะสมโดยกำหนด ระยะเวลาให้สอดคล้องกับสภาพและ บริบทของการดำเนินงานของสถานศึกษา *
๕ การประเมินแบบองค์รวม (holistic assessment) เป็นการประเมินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ ผู้ประเมินมีประสบการณ์ทำให้ช่วยลดเวลาการประเมิน และช่วยขจัดความไม่น่าเชื่อถือในการประเมินได้ *
๖. การประเมินคุณภาพแนวใหม สถานศึกษาจะต้องตรวจสอบและประเมินตนเอง โดยให้ใช้แบบ holistic รูปแบบเดียว และไม่ต้องใช้การประเมินแบบ analytic *
๗. ข้อดีของการประเมินแบบองค์รวม คือรวดเร็ว และประหยัดเวลาในการประเมินการตัดสินใจ *
๘. เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน สำหรับแต่ละองค์ประกอบ เรียกว่า  Holistic  rubrics *
๙. บุคคลที่เป็น expert judgment ของการประเมินคุณภาพภายใน ได้แก่ ผู้บริหาร สถานศึกษา *
๑๐. การประเมินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) เป็นการประเมินและตัดสินของผู้ที่มีความเชี่ยวชาญโดยไม่ต้องเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ *
๑๑. คุณภาพของการประเมินและการตัดสินที่ถูกต้องจะต้องอาศัยข้อมูลหลักฐานที่เชื่อถือ ได้โดยการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลสามารถพิจารณาได้จากเวลา สถานที่และบุคคล *
๑๒. การตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญเป็นการพิจารณาให้น้ำหนักความสำคัญแก่หลักฐานที่มีอยู่โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีทักษะหรือมีประสบการณ์เฉพาะทาง *
๑๓. ข้อมูลที่ได้จากการบอกเล่า หรือประสบการณส่วนตัวหรือข้อคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ เป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือสูง *
๑๔. การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล อาจใช้การสังเกตุควบคุม กับการซักถามหรือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเอกสาร หรือทำการซักถามผู้ให้ข้อมูลสำคัญ *
๑๕. ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นพิชญพิจารณ์ (peer review) ต้องมีความรู้และประสบการณในการทำงานที่คล้ายกันกับผู้ถูกพิจารณ์ *
๑๖. ผู้ที่ทำหน้าทเป็นพิชญพิจารณ์ (peer review) ต้องเป็นบุคคลที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับ สถานศึกษาที่เขาไปพิจารณ์ *
๑๗. พิชญพิจารณ์ในการประกันคุณภาพ เน้นให้ผลป้อนกลับสำหรับโรงเรียน เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้ดีขึ้น   *
๑๘. แฟ้มสะสมผลงานครูและนักเรียนไม่สามารถนำมาใช้ประกอบการประกันคุณภาพ ภายในแนวใหม่ได้ *
๑๙. การประเมินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญบางครั้งอาจพบว่า ผลการประเมินมความแตกต่างกัน จึงอาจต้องใช้วิธีทางด้านคณิตศาสตร์และทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อหาฉันทามติ *
๒๐. การได้รับข้อชี้แนะ คำแนะนำ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและสามารถปฏิบัติได้จริง เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากที่สุดในกำรประเมิน *
A copy of your responses will be emailed to the address you provided.
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
reCAPTCHA
This form was created inside of หน่วยศึกษานิเทศก์ สพฐ.. Report Abuse