ปิดรับ บริจาค
ปิดรับบริจาค

...............................................................................
[ รับสมัครอาสาสมัคร ]
ไม่จำกัดจำนวน ไม่จำกัดเพศหรืออายุ
[ทำอยู่บ้าน ]

เงื่อนไขการเข้าร่วมกิจกรรม
ขอให้นักเรียน นักศึกษา ดำเนินการสมัคร
และประสานงานด้วยต้นเอง
งดการติดต่อสอบถาม จากผู้ปกครอง

ไม่เช่นนั้นการสมัครถือเป็นโมฆะ
เนื่องด้วยไม่ปฏิบัติตามระเบียบ

..............................................................
[ ไม่มีค่าใช้จ่าย ]

........................................................................
[ ความตั้งใจ ]
๑.สร้างศูนย์เรียนรู้การบริหารจัดการขยะ ในชุมชน (กุฏิดิน,โรงคัดแยกขยะ,โรงเก็บขยะ,ห้องน้ำสิ่งก่อสร้าง ที่ทำจากดิน เศษขยะและecobricks)
๒.นำขยะที่ไม่สามารถ รีไซเคิลได้ มาสร้างประโยชน์ในนวัตกรรม พลาสอิฐดิน, และecobricksอัดก้อนดิน
๓.สร้างวินัยการจัดการขยะส่วนตน
๔.ส่งเสริมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผ่านการเปิดโอกาสให้อาสาสมัครเข้ามาเรียนรู้
๕.ส่งเสริมการตระหนักในเรื่องภาวะโลกร้อน ปัญหาจากการจัดการขยะ ด้วยการเผาหรือฝังกลบ
(หากธรรมชาติเสียสมดุล จะส่งผลกระทบระยะยาวในอนาคต)
๖.ส่งเสริมการปลูกฝัง การเสียสละส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
......................................................................
[ สมัครเข้าร่วมกิจกรรม ]
เปิดรับสมัคร ตั้งแต่ บัดนี้ จนกว่าจะเต็ม
ลิงค์สมัครอยู่ในช่องบัตร
หาไม่เจอ สอบถามาทางไอดีไลน์
0827792256

{ กรุณา กรอก ข้อมูล ให้ชัดเจนและครบถ้วน }
** แล้ว รอ การติดต่อกลับทาง E-mail จากทีมงาน **
......................................................................
[ กำหนดการ ]
เปิดรับบริจาคตั้งแต่
วันพฤหัสบดีที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔
จนถึง วันอาทิตย์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
เริ่มจัดการขยะส่วนตัว ที่บ้าน (อาสาสมัครจัดการขยะตัวเอง)
Ecobricks คือ การ Re-use ขวดพลาสติกโดยการนำขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ (ถุง pvc ถุงพลาสติกพลาสติก ถุงขนม โฟม )อัดใส่ขวดให้แน่น แล้วนำมาใช้แทนอิฐในการก่อสร้างหรือทำเฟอร์นิเจอร์
ขั้นตอนการทำ Ecobricks
๑. นำขวดนำ้ เฉพาะขวดพลาสติกเท่านั้น
ที่แห้ง ได้ทุกไซส์ทุกขนาด (แนะนำขวด PET สี หรือ PET ติดสกรีนก่อน เพราะรีไซเคิลยากถ้าไม่มีใช้ PET ใสได้) แกะฉลาดที่ห่อหุ้มข้างขวดออก
๒. นำถุงพลาสติก ถุงpvc ซองขนม พลาสติกชิ้นเล็กๆ เปือกลูกอม โฟม ยัดใส่ขวด
- ถุงใส่แกง ล้างให้สะอาดพอประมาณได้ แต่ต้องตากให้แห้ง
- ถุงหิ้ว ถุงก๊อบแก๊ป ถุงนิ่มๆ ฟิล์มยัดใส่ได้
- เปื้อนฝุ่นได้ ขอให้เป็นขยะที่แห้ง
- แมส, ผ้าปิดจมูก จับยัดลงขวดได้ ปิดฝาให้แน่น
- คัตเตอร์บัต ปั่นหู จับยัดลงขวดได้ ปิดฝาให้แน่น
- เศษกระดาษเล็กๆน้อย เช่น ตั๋วรถเมล์ บิล ใบเสร็จต่างๆ ยัดลงขวดได้
- ก้นบุหรี่ ก็จับยัดลงขวดได้
- แม๊กซ์ ลวดเย็บกระดาษ จับยัดลงขวดได้

**อะไรที่ห้ามยัดลงขวด**
- กระดาษ สมุด นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ไม่เอา ห้ามยัดลงขวด เพราะสามารถนำไปรีไซเคิลได้
- ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ ไม่แน่ะนำให้ยัดขวดเพราะสามารถส่งต่อไปรีไซส์เคิลได้
- ใบไม้ เปลือกผลไม้ ไม้เสียบลูกชิ้น ไม้จิ้มฟัน เศษอาหาร วัสดุที่ย่อยสลายได้
- เข็ม ใบมีดโกน ตะปู ลวดแข็งๆ ห้ามยัดลงขวด เพราะเป็นของมีคม อาจแทงทะลุขวดได้
- ถ่านไฟฉาย อาจทำให้ขวดพลาสติก ละลาย
๓. ใช้ไม้หรืออะไรแข็งๆ กดลงเพื่อให้ขยะในขวดแน่นที่สุด
หนึ่งขวดพลาสติกจะมีพื้นที่ใส่ขยะเยอะมาก
(เก็บขยะไว้ในขวดจะช่วยให้จัดการขยะง่ายขึ้น)
หากรู้สึกว่าอัดขยะจนแน่นแล้ว ปิดฝาให้สนิท
(ตอนนำมาใช้งานก่อสร้างบ้านดิน เราจะไม่เปิดฝา หรือนำขยะมาเติมเพิ่ม ก่อนส่ง ecobricks มาให้เรา ตรวจสอบว่าขยะอัดขวดแน่นดีไหม ก่อนนะครับ )

เงื่อนไขการขอใบรับรองชั่วโมงจิตอาสา
การทำ ecobricks (ขยะอัดขวด) ขนาด 1.5 ลิตร หรือ 500 ml 3 ขวด  
จะเท่ากับ 1 ชั่วโมงจิตอาสา  
แต่ต้องทำตามขั้นตอน การทำ ecobricks อย่างถูกวิธีด้วยนะครับ
เหตุผล
อาสาจัดการขยะ ส่วนตนและของผู้อื่น
ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม
อาสาสมัครบริหารจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม
ในส่วนecobricks (ขยะอัดขวด)
มอบให้ศูนย์เรียนรู้อาสาจัดการขยะ นั้นก็จะนำไปสร้างสาธารณะสถานต่อไป

.............................................................................
[ ข้อมูลเพิ่มเติม - เกี่ยวกับผู้จัดกิจกรรม ]
เวบไซต์ อาสาสมัคร อนุรักษ์สิ่งดีงาม
http://www.xn--42c1dhzaq5aeb.com/
เพจ อาสาสมัคร อนุรักษ์สิ่งดีงาม
https://web.facebook.com/pages/อาสาสมัคร-อนุรักษ์สิ่งดีงาม/201670193324850?ref=hl
กลุ่ม อาสาสมัคร อนุรักษ์สิ่งดีงาม
(สามารถกดเข้าร่วม เพื่อรับข้อมูลข่าวสารงานอาสาสมัครต่างๆ)
https://web.facebook.com/groups/148850101973404/
ประมวลผลภาพกิจกรรมต่างๆ ตามลิงค์นี้
http://www.youtube.com/results...
......................................................................
[ สอบถามเพิ่มเติม ]
คุณอารีย์ โพธิ์ศรี
https://web.facebook.com/Mr.areee
ผู้ดูแลโครงการ และประสานงาน กิจกรรม
e-mail : arsa.aree@gmail.com
ไอดีไลน์ /โทร ๐๘๒ - ๗๗๙ - ๒๒๕๖
Sign in to Google to save your progress. Learn more
ชื่อ - นามสกุล *
E -mail (จะติดต่อกลับทางนี้ กรุณาตรวจสอบให้ถูกต้อง) *
ชื่อเล่น *
เพศ *
อายุ *
เบอร์โทรติดต่อ *
เหตุผล ที่ทำให้ท่านตัดสินใจ สมัครเข้าเป็นอาสาสมัครนักจัดการขยะ ในครั้งนี้
Ecobricks คือ การ Re-use ขวดพลาสติกโดยการนำขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ (ถุง pvc ถุงพลาสติก ถุงขนม โฟม )อัดใส่ขวดให้แน่น แล้วนำมาใช้แทนอิฐในการก่อสร้างหรือทำเฟอร์นิเจอร์
๑.นำขวดนำ้ เฉพาะขวดพลาสติกเท่านั้น ที่แห้ง ได้ทุกไซส์ทุกขนาด (แนะนำขวด PET สี หรือ PET ติดสกรีนข้างขวดก่อน เพราะรีไซเคิลยาก ถ้าไม่มีใช้ PET ใสได้) อย่าลืมแกะฉลาดที่ห่อหุ้มข้างขวดออกด้วยนะครับ
๒. นำถุงพลาสติก ถุงpvc ซองขนม พลาสติกชิ้นเล็กๆ เปือกลูกอม โฟม ยัดใส่ขวด- ถุงใส่แกง ล้างให้สะอาดพอประมาณได้ แต่ต้องตากให้แห้ง - ถุงหิ้ว ถุงก๊อบแก๊ป ถุงนิ่มๆ ฟิล์มยัดใส่ได้- เปื้อนฝุ่นได้ ขอให้เป็นขยะที่แห้ง - แมส, ผ้าปิดจมูก จับยัดลงขวดได้ ปิดฝาให้แน่น - คัตเตอร์บัต ปั่นหู จับยัดลงขวดได้ ปิดฝาให้แน่น - เศษกระดาษเล็กๆน้อย เช่น ตั๋วรถเมล์ บิล ใบเสร็จต่างๆ ยัดลงขวดได้ - ก้นบุหรี่ ก็จับยัดลงขวดได้ - แม๊กซ์ ลวดเย็บกระดาษ จับยัดลงขวดได้
**อะไรที่ห้ามยัดลงขวด**- กระดาษ สมุด นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ไม่เอา ห้ามยัดลงขวด เพราะสามารถนำไปรีไซเคิลได้- ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ ไม่แน่ะนำให้ยัดขวดเพราะสามารถส่งต่อไปรีไซส์เคิลได้ - ใบไม้ เปลือกผลไม้ ไม้เสียบลูกชิ้น ไม้จิ้มฟัน เศษอาหาร วัสดุที่ย่อยสลายได้ - เข็ม ใบมีดโกน ตะปู ลวดแข็งๆ ห้ามยัดลงขวด เพราะเป็นของมีคม อาจแทงทะลุขวดได้- ถ่านไฟฉาย อาจทำให้ขวดพลาสติก ละลาย
๓. ใช้ไม้หรืออะไรแข็งๆ กดลงเพื่อให้ขยะในขวดแน่นที่สุด หนึ่งขวดพลาสติกจะมีพื้นที่ใส่ขยะเยอะมาก(เก็บขยะไว้ในขวดจะช่วยให้จัดการขยะง่ายขึ้น)
หากรู้สึกว่าอัดขยะจนแน่นแล้ว ปิดฝาให้สนิท (ตอนนำมาใช้งานก่อสร้างบ้านดิน เราจะไม่เปิดฝา หรือนำขยะมาเติมเพิ่ม ก่อนส่ง ecobricks มาให้เรา ตรวจสอบว่าขยะอัดขวดแน่นดีไหม ก่อนนะครับ )
จัดการขยะก่อนที่ขยะจะจัดการเรา ชมรมอาสาสมัคร อนุรักษ์สิ่งดีงาม
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy