แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของอธิการบดี จากบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 

คำชี้แจง : 1. แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นการประเมินโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567 (1 ต.ค. 66 – 30 ก.ย. 67) เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นระบบและให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนามหาวิทยาลัย

2. ผู้ตอบแบบสำรวจต้องปฏิบัติงานก่อนปีงบประมาณ พ.ศ.2567

3. คำถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน

    ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจ

    ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของอธิการบดี จำนวน 4 ด้าน รวม 32 ข้อ

    ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย

4.  เกณฑ์การให้คะแนนประเมิน มีดังนี้

   5 คะแนน หมายถึง ระดับความสำเร็จในการบริหารงานมากที่สุด

   4 คะแนน หมายถึง ระดับความสำเร็จในการบริหารงานมาก

   3 คะแนน หมายถึง ระดับความสำเร็จในการบริหารงานปานกลาง

   2 คะแนน หมายถึง ระดับความสำเร็จในการบริหารงานน้อย

   1 คะแนน หมายถึง ระดับความสำเร็จในการบริหารงานน้อยที่สุด

5. ผู้บริหารที่รับการประเมิน : อธิการบดี รวมถึง รองอธิการบดี

Sign in to Google to save your progress. Learn more

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจ

*
ประสบการณ์การทำงานในมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 
*

ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของอธิการบดี 

ด้านที่ 1 วิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ทันสมัย ชัดเจนในการพัฒนามหาวิทยาลัย
สามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว รอบคอบ ชาญฉลาด สามารถเชื่อมโยงสถานการณ์ต่างๆ ได้
สร้างความเชื่อมั่นให้กับบุคลากรว่าจะนำพาองค์กรในทุกสถานการณ์
ด้านที่ 2 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
แสดงออกถึงความซื่อสัตย์สุจริต และการไม่เลือกปฏิบัติ
มีความสุขุม รอบคอบ ควบคุมอารมณ์ และมีปิยวาจา
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
อุทิศตนในการบริหารงาน เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและมีความเสียสละในเชิงประจักษ์
ยกย่องให้เกียรติผู้ร่วมงานและผู้อื่น
ด้านที่ 3 หลักธรรมาภิบาล
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
มีการดำเนินการอย่างครบถ้วน ทั้งการวางแผน การปฏิบัติงาน และสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
มีการบริหารจัดการที่ได้ผลคุ้มค่าเมื่อเทียบกับทรัพยากร งบประมาณ และเวลาที่ใช้ไป
มีการบริหารงานได้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนดและตรงตามความต้องการของผู้รับบริการขององค์กร
มีความสำนึกในการรับผิดและรับชอบต่อหน้าที่และผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น
มีกระบวนการตรวจสอบการทำงานและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างชัดเจนและสม่ำเสมอ
เปิดโอกาสให้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการคิดปฏิบัติ ตัดสินใจ และรับผิดชอบในการบริหารงานขององค์กร
มีการมอบอำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดำเนินงานให้แก่บุคลากรในหน่วยงานอย่างเหมาะสม
มีการบริหารงานตามกฎหมาย กฎระเบียบด้วยความเป็นธรรม เสมอภาค และไม่เลือกปฏิบัติ
มีการบริหารงานโดยคำนึงถึงบุคลากรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ได้รับการปฏิบัติและการบริการอย่างทัดเทียม
มีกระบวนการสรุปข้อเสนอแนะการตัดสินใจจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้ในการบริหารงาน
ด้านที่ 4 การบริหารหน่วยงาน
4.1 การยืดหยุ่นและปรับตัวต่อสถานการณ์
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงและประเมินสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น
มีความยืดหยุ่นและปรับตัวต่อสถานการณ์รอบตัวได้อย่างทันท่วงที
มีทักษะและความสามารถในการนำองค์กรสู่ Digital Transformation
4.2 การประสานสัมพันธ์และสื่อสาร
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
สร้างความพร้อมที่จะปรับรูปแบบการทำงานทั้งระดับนโยบายและปฏิบัติ รวมทั้งมีการสื่อสารที่ดีมีประสิทธิภาพ
เปิดรับมุมมองและวิธีการทำงานที่แตกต่างอย่างสร้างสรรค์
มุ่งการทำงานเพื่อผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
4.3 การเรียนรู้และใฝ่รู้
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
สร้างความตระหนักรู้ มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา และผลักดันและส่งเสริมคนในองค์กรให้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
รู้เท่าทันสถานการณ์รอบตัวและสามารถนำมาปรับใช้ในการบริหารงาน
4.4 การบริหารจัดการภารกิจในภาวะวิกฤติ
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่างๆ จากการปฏิบัติงานในระยะสั้นควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมในระยะยาว
สามารถคาดการณ์สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
สามารถรักษาสมดุลระหว่างการบริหารงานที่รับผิดชอบในปัจจุบันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
4.5 การให้อำนาจและการพัฒนาผู้อื่น ให้อำนาจและการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา
*
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
สร้างโอกาสให้บุคลากรในการซักถามหรือแลกเปลี่ยนมุมมองกับผู้บริหารระดับสูง มอบความไว้วางใจหรือให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรู้หรือทักษะที่จำเป็น ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องให้กับบุคลากรทุกระดับ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพและคุณภาพตัดสินใจที่จะทำงานได้อย่างอิสระ

ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย

Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This form was created inside of Dhonburi Rajabhat University. Report Abuse