Published using Google Docs
พจนานุกรม ไทย-บาลี ฉบับวัดสวนดอก
Updated automatically every 5 minutes

พจนานุกรมไทย-บาลี

คำนำ

ก-อักษร

ข- อักษร

ค-อักษร

ฆ-อักษร

ง-อักษร

จ-อักษร

ฉ-อักษร

ช-อักษร

ซ-อักษร

ญ-อักษร

ฎ-อักษร

ฐ-อักษร

ฒ-อักษร

ด-อักษร

ต-อักษร

ถ-อักษร

ท-อักษร

ธ-อักษร

น-อักษร

บ-อักษร

ป-อักษร

ผ-อักษร

ฝ-อักษร

พ-อักษร

ภ-อักษร

ม-อักษร

ย-อักษร

ร-อักษร

ล-อักษร

ว-อักษร

ศ-อักษร

ส-อักษร

ห-อักษร

อ-อักษร

ฮ-อักษร

พจนานุกรมไทย-บาลี

สำหรับ

คำนำ

หนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมขึ้นด้วยอาศัยเหตุผลหลายอย่างหลายประการ จะอย่างไรก็ตาม ก็ต้องขอบคุณแหล่งที่มาต้นฉบับ ดังนี้คือ คัมภีร์อภิธานัปปทีปิกา, อภิธานวรรณนา ของท่านพระมหาสมปอง มุทิโต คณะ ๒๕ วัดมหาธาตุ ฯ กรุงเทพฯ, พจนานุกรมภาษาไทย-บาลี เล่มแรกของโลก ของท่านพระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี วัดมหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม นครปฐม, พจนานุกรมศัพท์ไทย-บาลี แห่งมหามกุฏราชวิทยาลัย และพจนานุกรมไทย-บาลี (ฉบับอินเตอร์เน็ต) จากเวปไซต์บาลีดิค

เนื่องด้วยบางศัพท์ ได้แปลงรูปศัพท์มาตามความหมาย ซึ่งไม่สามารถจะนำไปใช้ในระบบสนามหลวง ผู้นำไปใช้จงใช้วิจารณญาณในข้อนี้เป็นพิเศษ ในพจนานุกรมเล่มนี้ ศัพท์ต่างๆ ปรากฏดังนี้ ถ้าเป็นศัพท์ ปุงลิงค์ ส่วนใหญ่จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติ เช่น ปุริโส แต่บางศัพท์ก็ยังคงตามศัพท์เดิมไว้ บางศัพท์เป็นได้หลายลิงค์ แต่จะแสดงเฉพาะรูปปุงลิงค์ เช่น อคาโร(ปุ.)(นปุ.) บางศัพท์สำเร็จมาจากกิริยากิตก์ แต่ส่วนใหญ่จะพบในรูปคุณศัพท์ ดังนั้นจะระบุไว้ว่าเป็น (คุณ.) บางศัพท์เป็นนามกิตก์ แต่เนื่องด้วยนำไปแจกแบบนปุงสกลิงค์ ก็จะแสดงเป็น (นปุ.) เช่น กรณํ (นปุ.) ส่วนที่ปรากฏเป็น(กิตก์) จะหมายเอาแต่เฉพาะกิริยากิตก์เท่านั้น เช่น กตฺวา (กิตก์)

บางศัพท์จะแสดงเฉพาะแต่ศัพท์ที่อยู่ในรูปของกิริยาอาขยาตเท่านั้น ผู้รู้ต้องประยุกต์ปรับเปลี่ยนรูปศัพท์เอง เช่น มรติ(อาข.) เมื่อจะนำมาใช้ในรูปของกิริยากิตก์ ลง ตฺวา ปัจจัย ก็จะมีรูปเป็น มริตฺวา  ดังนั้น หนังสือเล่มนี้ จึงเหมาะสำหรับผู้ที่มีพื้นความรู้ภาษาบาลีมาบ้างแล้ว ตั้งแต่ประโยค ป.ธ.๓ สำหรับผู้ที่ยังไม่มีความรู้พื้นฐานมาก่อน ก่อนที่จะใช้หนังสือเล่มนี้เป็นเครื่องมือ ควรต้องศึกษาประเภทของศัพท์ต่าง ๆ ก่อน เพื่อจะได้อำนวยประโยชน์ให้แก่ท่านได้อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน

อนึ่ง ศัพท์บางประเภท เช่นอาขยาต ส่วนใหญ่จะประกอบรูปศัพท์หมวดวัตตมานาวิภัตติไว้ แต่ก็มีบางศัพท์ที่ไม่ได้ประกอบเป็นวัตตมานาวิภัตติ เนื่องจากส่วนใหญ่พบเป็นศัพท์ที่ประกอบด้วยวิภัตตินั้น ๆ เช่น อาห อาโรเจสิ บางศัพท์ที่เป็นคุณศัพท์ จะแสดงไว้เฉพาะแต่ที่เป็นปุงลิงค์ เช่นศัพท์ว่า สหจารี(คุณ.) ดังนั้น ถ้าจะนำศัพท์นี้ไปใช้เป็นวิเสสนะของอิตถีลิงค์ และนปุงสกลิงค์ ก็ต้องปรับเปลี่ยนศัพท์ก่อนนำไปใช้

Yeem Xyooj

yeemxyooj@hotmail.com

สำนักศาสนศึกษาวัดสวนดอก เชียงใหม่

อักษรย่อ

(กิตก์)        หมายถึง         กิริยากิตก์, นามกิตก์

(คุณ.)                 หมายถึง        คุณศัพท์

(ตัทธิต)        หมายถึง         ตัทธิต

(นปุ.)                 หมายถึง         นปุงสกลิงค์

(นิปาต)        หมายถึง        นิบาต

(ปุ.)                 หมายถึง         ปุงลิงค์

(สมาส)        หมายถึง         สมาส

(สังข.)        หมายถึง        สังขยา

(สำนวน)        หมายถึง        เป็นสำนวน หรือวลี

(อพฺยย.)        หมายถึง         อัพยยศัพท์

(อุป.)                 หมายถึง        อุปสรรค

(อาข.)        หมายถึง         กิริยาอาขยาต

(อิตฺ.)                 หมายถึง         อิตถีลิงค์

(ตติยา)        หมายถึง         ตติยาวิภัตติ

๑ ครึ่ง        ทิยฑฺฒ(คุณ.) ทิวฑฺฒ(คุณ.)

๑ ใน ๑๖        กลา(อิตฺ.)  

๑ ใน ๔ ของคาถา        ปาท(ปุ.)

๑ วัน ๑ คืน        อโหรตฺต(ปุ.)

๑ วัน        อห(ปุ.)(นปุ.)

๑ ส่วน ๔        ปาท(ปุ.)

๑        เอก

๑,๐๐๐        สหสฺสํ

๑,๐๐๐,๐๐๐        ทสสตสหสฺสํ

๑๐ ขณลยะ        มุหุตฺต(ปุ.)

๑๐ ขณะ        ลย(ปุ.)

๑๐ ลยะ        ขณลย(ปุ.)

๑๐ ล้าน        โกฏิ(อิตฺ.)

๑๐        ทส

๑๐,๐๐๐        ทสสหสฺสํ

๑๐๐ ล้าน        ปโกฏิ(อิตฺ.)

๑๐๐        โกฏิปโกฏิ(อิตฺ.)

๑๐๐        สตํ

๑๐๐,๐๐๐        สตสหสฺสํ

๑๑        เอกาทส

๑๒ ราศี        ราสิ(ปุ.)

๑๒        ทฺวาทส, พารส

๑๓        เตรส

๑๔        จตุตฺทส, จุทฺทส

๑๕        ปญฺจทส, ปณฺณรส

๑๖        โสฬส

๑๗        สตฺตรส

๑๘        อฏฺฐารส

๑๙        เอกูนวีส, อูนวีส

๒ ครึ่ง        อฑฺฒติย(คุณ.) อฑฺฒเตยฺย(คุณ.)

๒ พันตำลึง        ทฺวิสหสฺสปล(นปุ.) ภาร(ปุ.)

๒        ทฺวิ

๒๐ ยัฏฐิ        วีสยฎฺฐิ(อิตฺ.) อุสภ(ปุ.)

๒๐        วีส, วีสติ

๓ ครึ่ง        อฑฺฒุฑฺฒ(คุณ.) อฑฺฒจตุตฺถ(คุณ.)

๓ เดือน         เตมาส(ตัทธิต)

๓ ประการ         ติปฺปเภทา(สมาส)

๓        ติ

๓๐        ตึสติ

๔        จตุ

๔๐        จตฺตาฬีส

๕        ปญฺจ

๕๐        ปณฺณาส

๖        ฉ

๖๐        สฏฺฐี

๗        สตฺต

๗๐        สตฺตติ

๘        อฏฺฐ

๘๐        อสีติ

๙        นว

๙๐        นวุติ

ก-อักษร

กกไว้         อุเร นิปชฺชาเปติ(สำนวน)

กกหู         กณฺณมูลํ(นปุ.)

กกหูช้าง        จูฬิกา(อิตฺ.)

กกุธภัณฑ์        กายุรํ(นปุ.)

กง        เนมิ(อิตฺ.)

กงล้อ        จกฺกํ(นปุ.)

กฎ        กติกา(อิตฺ.) นิยาโม(ปุ.) ธมฺโม(ปุ.)                                        

กฎธรรมชาติ         ธมฺมนิยาโม(ปุ.)

กฎวินัย         วินโย(ปุ.)

กฎหมาย         นีติ(อิตฺ.) ธมฺโม(ปุ.)                          

กฎหมายคุ้มครอง         ปริทณฺฑ(นปุ.)

กฎหมายพาณิชย์        วณิชฺชานีติ (อิตฺ.)

กฎหมายอาญา         ทณฺฑนีติ(อิตฺ.) อาชฺชยํ(นปุ.)

กฎหมู่         กติกา(อิตฺ.) สงฺฆมติ(อิตฺ.)        

กฐินพิมาน        นตฺตมาโล(ปุ.) กรญฺโช(ปุ.)

กด         อภินิคฺคณฺหาติ(อาข.) นิคฺคณฺหาติ(อาข.) นิปฺปีฬนา(อิตฺ.)

กดขี่         อุปปีฬา(อิตฺ.) ปสยฺห(กิตก์) อภินิหต(กิตก์) อภินิปฺปีเฬติ(อาข.) อุปฺปีเฬติ(อาข.)        

กตเวที         กตเวที(ปุ.)

กตัญญู        กตญฺญู(ปุ.)

ก็ตามที        อตฺถุ(นิ.)        

กติกาวัตร         กติกวตฺตํ(นปุ.)

กถาศาสตร์        กถา(อิตฺ.)

กทม.        เทวนครํ(นปุ.)

ก้น        อานิสทํ(นปุ.) กฏิปเทโส(ปุ.)

ก้นงาม         กฏิปุถุลกํ(คุณ.)

ก้นบาตร         ปตฺตมูลํ(นปุ.)

กบ        มณฺฑูโก(ปุ.) ททฺทุโร(ปุ.) เภโก(ปุ.) กฏุวโร(ปุ.)

กบาล        กปฺปโร(ปุ.) กปาล(ปุ.)(นปุ.)

ก้ม         อวนติ(อิตฺ.) โอณมนํ(นปุ.) โอนมนํ(นปุ.) โอนติ(อาข.)

ก้มลง         อภินมติ(อาข.) อภินต(กิตก์) โอณมติ(อาข.) โอนต(กิตก์)

ก้มหน้ากิน         อโธมุโข ภุญฺชติ(สำนวน)

ก้มหน้าเดิน         อโธมุโข คจฺฉติ(สำนวน)

กรงทอง        สุวณฺณปญฺชโร(ปุ.)

กรงนก        วิฏงฺโก(ปุ.)

กรงเล็บ         นขปญฺชรํ(นปุ.)

กรชกาย         กรชกาโย(ปุ.)

กรณการก         กรณวิภตฺติ(อิตฺ.) กรณํ(นปุ.)

กรด        อมฺพิโล(ปุ.) ขาร(คุณ.)

กรน         กากจฺฉติ(อาข.)

กรรไกร         กตฺตริยํ(นปุ.) ปิปฺผลํ(นปุ.)

กรรเชียง        ผิโย(ปุ.)

กรรโชก         สหสากาโร(ปุ.)

กรรณ        โสตํ(นปุ.) สทฺทคฺคโห(ปุ.) กณฺโณ(ปุ.)

กรรณิการ์        กณิกาโร(ปุ.) ทุมุปฺปโล(ปุ.)

กรรม         กมฺมํ(นปุ.)

กรรมกร        กมฺมกโร(ปุ.) เวตนิโก(ปุ.) ภตโก(ปุ.)

กรรมเก่า        ภาคฺยํ(นปุ.) นิยติ(อิตฺ.) ภาโค(ปุ.) ภาคเธยฺยํ(นปุ.) วิธี(ปุ.)

กรรมชั่ว        ปาปํ(นปุ.) กิพฺพิสํ(นปุ.) เวรํ(นปุ.) อฆํ(นปุ.) ทุจฺจริตํ(นปุ.) ทุกฺกฏํ(นปุ.) อปุญฺญํ(นปุ.) อกุสลํ(นปุ.) กณฺหํ(นปุ.) กลุสํ(นปุ.) ทุริตํ(นปุ.) อาคุ(นปุ.)

กรรมดี        กุสลํ(นปุ.) สุกฏํ(นปุ.) สุกฺกํ(นปุ.) ปุญฺญํ(นปุ.) ธมฺมํ(ปุ.)(นปุ.) สุจริตํ(นปุ.)

กรรมที่พึงกระทำ         กรณียํ(นปุ.) กิจฺจํ(นปุ.)

กรรมนิมิต         กมฺมนิมิตฺตํ(นปุ.)

กรรมในเบื้องต้น        อารมฺโภ(ปุ.)

กรรมเบื้องแรก        อาทิกมฺมํ(นปุ.)

กรรมเผ็ดร้อน        กฏุ(คุณ.) กฏุก(คุณ.)

กรรมสักแต่ว่าทำ         อกิริยา(อิตฺ.)

กรรมหมดจด        วตฺตํ(นปุ.)

กรรมแห่งขโมย        เถยฺยํ(นปุ.) โจริกา(อิตฺ.) โมโส(ปุ.)

กรรมให้ผลในชาติหน้า         อุปปชฺชเวทนียกมฺมํ(นปุ.)

กรรมอันสมควร        ยุตฺตํ(คุณ.) โอปายิกํ(คุณ.)

กรวด         สกฺขรา(อิตฺ.) สกฺขรํ(นปุ.) สาลิตฺตกํ(นปุ.)

กรอกใส่ปาก         มุเข อาสิญฺจติ (สำนวน)

กรอง(น้ำ)        ปริสฺสาเวติ(อาข.) อวสฺสาวนํ(นปุ.)

กรอด้าย         กนฺตติ(อาข.)

กรอบประตู         ทฺวารโกสํ(นปุ.)

กรอบหน้า (ผ้าโพก)        อุณฺหีโส(ปุ.) อุณฺหีสํ(นปุ.) สิโรเวฐนํ(นปุ.) เวฐนํ(นปุ.)

กระจกเงา        อาทาโส(ปุ.) อาทาสโก(ปุ.) ทปฺปโณ(ปุ.)

กระจอก         ขญฺช(คุณ.) กุณี(คุณ.)

กระจ่าง        อุชฺโชเตติ(อาข.)

กระจาด        ปิฏโก(ปุ.)(นปุ.) ปจฺฉิ(อิตฺ.) เปตโก(ปุ.) กณฺโฑลิกา(อาข.)

กระจาย         วิทฺธํสติ(อาข.) วิกีรติ(อาข.) อชฺโฌกิรติ(อาข.) อนุกิณฺณ(กิตก์) อภิกีรติ(อาข.)วิสฏํ(คุณ.) วิตฺถตํ(คุณ.) ตตํ(คุณ.) วิกฺกีรณํ(นปุ.) วิทฺธํสนํ(นปุ.)

กระโจม        มุณฺฑจฺฉทฺโท(ปุ.) หมฺมิยํ(นปุ.)

กระฉ่อน        โกตุหลํ(นปุ.) กุตูหฬํ(นปุ.)

กระฉับกระเฉง        อลีน(คุณ.)

กระชั้นชิด        นิรนฺตรํ(นิปาต) สมนนฺตรํ(นิปาต)        

กระชับ        กุฏกุญฺจก(คุณ.) กฏุกุญฺจก(คุณ.)

กระเชอ        อาฬฺหโก(ปุ.)(นปุ.)

กระเช้า         ปจฺฉิ(อิตฺ.) กฏาโห(ปุ.) กาโจ(ปุ.) ปิฏโก(ปุ.)(นปุ.) เปตโก(ปุ.)        

กระเช้าสีดา        นตฺตมาโล(ปุ.) กรญฺโช(ปุ.)

กระเช้าหวาย         กณฺโฑลิกา(อิตฺ.)

กระซิกกระซี้        อนุชคฺฆติ(อาข.)

กระซิบ         กณฺเณ มนฺตยติ (สำนวน) กณฺณชปฺปนํ(นปุ.)

กระด้ง         กตฺตรสุปฺโป(ปุ.)

กระด้งฝัดข้าว        กุลฺโล(ปุ.)(นปุ.) สุปฺปํ(นปุ.)

กระดองสัตว์        กปฺปโร(ปุ.) กปาลํ(นปุ.)

กระดอม        ปโฏโล(ปุ.) ติตฺตโก(ปุ.)

กระด่าง         กาฬกพร(คุณ.)

กระด้าง        กกฺกส(คุณ.) กกฺขฏ(คุณ.) กกฺขฬ(คุณ.) ถทฺธ(คุณ.) กุกูรํ(คุณ.) กฐินํ(คุณ.) ทฬฺหํ (คุณ.) นิฏฺฐุรํ(คุณ.)

กระดานชนวน         อกฺขรผลโก(ปุ.) อกฺขรผลกํ(นปุ.)

กระดานดำ         กาฬผลกํ(นปุ.) อกฺขรผลกํ(นปุ.)

กระดานทอดลูกเต๋า        อฏฺฐปโท(ปุ.)(นปุ.) อฏฺฐาปทํ(ปุ.)(นปุ.) สาริผลโก(ปุ.)

กระดานพิง        อปาลมฺโภ(ปุ.)

กระดานสกา        อฏฺฐปโท(ปุ.)(นปุ.) อฏฺฐาปทํ(ปุ.)(นปุ.) สาริผลโก(ปุ.)

กระดานหมากรุก         อฏฺฐปโท(ปุ.) อฏฺฐปทํ(นปุ.)

กระดาษ         กากจปณฺณํ(นปุ.)

กระดิกหู         กณฺณจาลนํ(นปุ.)

กระดิ่ง        กึกิณิกา(อิตฺ.) กึกินิ(อิตฺ.) กิงฺกิณี(อิตฺ.)

กระดิ่งข้อเท้า        กึกิณี(อิตฺ.) ขุทฺทฆณฺฏิกา(อิตฺ.)

กระดิ่งตาข่าย         กิงฺกิณิกชาลํ(นปุ.)

กระดูก         อฏฺฐิ(นปุ.) ธาตุ(อิตฺ.)

กระดูกขาอ่อน         อูรฏฺฐิ(นปุ.)

กระดูกซี่โครง         ผาสุลิกา(อิตฺ.) ปาสุฬิกา(อิตฺ.) ปาสุกา(อิตฺ.) ผาสุกา(อิตฺ.)

กระดูกท้อง         โกฏฺฐฏฺฐิ(อิตฺ.)

กระดูกนิ้วมือ         องฺคุลฏฺฐิ(นปุ.)

กระดูกสันหลัง         กฏิถาลกํ(นปุ.)

กระดูกหน้าผาก        สํโข(ปุ.)(นปุ.) ลลาฏฏฺฐิ(นปุ.)

กระดูกไหปลาร้า         อกฺขโก(ปุ.) อกฺขกํ(นปุ.)

กระโดด         อุลฺลงฺฆติ(อาข.) ลงฺฆติ(อาข.) อุลฺลงฺฆนํ(นปุ.)

กระโดดขึ้น        อุปฺปิลวติ(อาข.) อุลฺลงฺฆติ(อาข.)

กระโดดลง         อเวกฺขิปติ(อาข.) โอลงฺฆติ(อาข.) อุลฺลงฺฆติ(อาข.)

กระโดดลอยไป        อุปฺปตนํ(นปุ.)

กระต่าย         สสี(ปุ.) สโส(ปุ.) เปลโก(ปุ.)

กระตือรือร้น         อภิชวติ(อาข.) อุสฺสุก(คุณ.) พฺยาวฏ(คุณ.) อเปกฺขก(คุณ.)

กระแต        กลนฺทโก(ปุ.) กาฬกา(อิตฺ.)

กระถาง         อารญฺชํ(นปุ.) วจฺฉํ(นปุ.) กุณฺโฑ(ปุ.) กุมฺภี(อิตฺ.) ปิฐโร(ปุ.) กุณฺฑํ(นปุ.) ขโล(ปุ.) อุกฺขลิ(อิตฺ.) ถาลิ(อิตฺ.) อุขา(อิตฺ.) โกลมฺโพ(ปุ.)

กระโถน        ปฏิคฺคโห (ปุ.) ภาชนนฺตรํ (นปุ.)

กระทง         ขณฺฑํ(นปุ.)

กระทบ        อุคฺฆาเตติ(อาข.) ปฏิหญฺญมาน(กิตก์) อาสชฺชนํ(นปุ.) ปหริ(อาข.) อุปหจฺจ(กิตก์) อภิสชฺชติ(อาข.) อาฆาโต(ปุ.) อาสชฺช(กิตก์)  

กระทบกระทั่ง        ปฏิหญฺญติ(อาข.) โทโส(ปุ.) ปฏิโฆ(ปุ.)(นปุ.) โกโธ(ปุ.) อาฆาโต(ปุ.) โกโป(ปุ.) โรโส(ปุ.)  

กระทบกระทั่ง        อุปคฺฆาโต(ปุ.)

กระทรวงกลาโหม        โยธาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงการคลัง        ธนาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงการท่องเที่ยว        จาริกาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงเกษตร         เขตฺตาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงต่างประเทศ        วิเทสาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงพาณิชย์        วาณิชาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงมหาดไทย        มหาทฺทยฺยาธิกาโร(ปุ.)

กระทรวงศึกษาธิการ        สิกฺขาธิกาโร(ปุ.)

กระท่อม        เคหํ(นปุ.) คหํ(นปุ.) อสฺสโม(ปุ.) อคารกํ(นปุ.)

กระทำโดยไม่เจตนา        อเจตนา(อิตฺ.)

กระทิง         ควโล(ปุ.) ควโช(ปุ.) ควโย(ปุ.)

กระทุ่ม        กทมฺโพ(ปุ.) ปิยโก(ปุ.) นีโป(ปุ.)

กระเทียม        มหากนฺโท(ปุ.) ลสุณํ(นปุ.)

กระบวน        อนุกฺกโม(ปุ.) อนุปุพฺพิ(นปุ.) อนุปุพฺพํ(นปุ.)

กระบวย         โกสโก(ปุ.)

กระบอก         วารโก(ปุ.)

กระบอกฉีดเล็กๆ         อุตฺตรวตฺติ(อิตฺ.)

กระบอกตา        อกฺขิกูโป(ปุ.)

กระบอกลูกศร         กณฺฑนาฬี(อิตฺ.) อิสุธิ(ปุ.)(อิตฺ.)

กระบอกใส่ลูกธนู        ตูณี(อิตฺ.) กลาโป(ปุ.) ตูโณ(ปุ.) ตูณีโร(ปุ.) พาณธิ(ปุ.)

กระบอง         ลคุโฬ(ปุ.) มุคฺคโร(ปุ.) คทา(อิตฺ.) กุนฺโต(ปุ.)

กระบองคดสั้น        คทา(อิตฺ.)        

กระบี่        มณฺฑลคฺโค(ปุ.)(นปุ.) เนตฺตึโส(ปุ.) อสิ(ปุ.) ขคฺโค(ปุ.) สายโก(ปุ.) อิลฺลิยา(อิตฺ.) ขคฺโค(ปุ.)

กระบี่สั้น        ฉูริกา(อิตฺ.) สตฺติ(อิตฺ.) อสิปุตฺตี(อิตฺ.)

กระบือ        มหิโส(ปุ.) ลุลาโย(ปุ.)

กระบือบอด         อนฺธมหิโส(ปุ.) อนฺธมหีโส(ปุ.)

กระบุง        ปิฏโก(ปุ.) ปจฺฉิ(อิตฺ.) เปตโก(ปุ.)

กระเบา        โกลฏฺฐิ(ปุ.)(นปุ.) โกลํ(ปุ.)(นปุ.) โกลี(อิตฺ.)

กระเบื้อง        คิญฺชกา(อิตฺ.) กปาลํ(นปุ.) อิฏฺฐกา(อิตฺ.) อิฏฺฐิกา(อิตฺ.) กปลฺโล(ปุ.) กปาโล(ปุ.)

กระเบื้องถ่านเพลิง         องฺคารกฏาโห(ปุ.) องฺคารกปลฺโล(ปุ.)

กระเบื้องใส่ขี้เถ้า         องฺคารกฏาโห(ปุ.)

กระโปรง        มญฺชูสา(อิตฺ.) เปฬา(อิตฺ.)

กระพองช้าง        กุมฺโภ(ปุ.)

กระพังโหม        ปกิริโย(ปุ.) ปูติโก(ปุ.) ชิญฺชุโก(ปุ.)

กระพี้        เผคฺคุ(อิตฺ.)

กระพุ้งแก้ม        คณฺโฑ(ปุ.) กโปโล(ปุ.) คณฺฑี(ปุ.)

กระพุ่มมือ         อญฺชลิปุโฏ(ปุ.) กปิฏฺฐํ(นปุ.) กรปุโฏ(ปุ.) อญฺชลิ(ปุ.)

กระเพรา        กาสมทฺโท(ปุ.) ตณฺฑุเลยฺโย(ปุ.) อปฺปมาริโส(ปุ.)

กระเพาะ        โกฏฺโฐ(ปุ.) โกฏฺฐํ(นปุ.)

กระเพาะปัสสาวะ        วตฺถิ(ปุ.)(อิตฺ.)

กระเพื่อม         จลนํ(นปุ.) ขุภนฺต(กิตก์) กมฺปิต(กิตก์)

กระรอก        กลนฺทโก(ปุ.) กาฬกา(อิตฺ.)

กระลำพัก        กาฬานุสารี(ปุ.) กาฬียํ(นปุ.)

กระวนกระวาย         ทโร(คุณ.) นิทฺทโร(คุณ.) ทรโถ(ปุ.)

กระวาน         ตกฺโกลํ(นปุ.) โกลกํ(นปุ.)

กระวานเล็ก         ตกฺโกลํ(นปุ.) โกลกํ(นปุ.) โกสผลํ(นปุ.)

กระวานใหญ่        เอลา(อิตฺ.) พหุลา(อิตฺ.)

กระสวยทอผ้า        ตสโร(ปุ.) สุตฺตเวฐนํ(นปุ.)

กระสอบ         ปสิพฺพกํ(นปุ.)

กระสัน         อุกฺกณฺฐิตฺวา(กิตก์) อุกฺกฏฺฐิต(กิตก์)

กระสับกระส่าย        อาตุร(คุณ.)

กระเสือกกระสน        โอสปฺปติ(อาข.) ปรกฺกมติ(อาข.)

กระแส        ตรงฺโค(ปุ.) ภงฺโค(ปุ.) อูมิ(ปุ.)(อิตฺ.) วีจิ(ปุ.)(อิตฺ.) โสตํ(นปุ.) อนุโสต(นปุ.)

กระแสน้ำ        ปวาโห(ปุ.) ปวตฺติ(อิตฺ.)

กระหม่อม         มตฺถโก(ปุ.) สีสํ(นปุ.)

กระหาย         ปิปาสา(อิตฺ.) ตสฺสนํ(นปุ.) กุตุก(คุณ.) อภิชิฆจฺฉติ(อาข.) ชิฆจฺฉา(อิตฺ.) ปาสา(อิตฺ.)

กระหายในกาม         กามปิปาสา(อิตฺ.)

กระแอม        กาสติ(อาข.) อุกฺกาสติ(อาข.)

กราน        อตฺถรติ(อาข.) อตฺถต(กิตก์)

กราบ         อภิวนฺทติ(อาข.) อภิวาเทติ(อาข.)

กราบเบญจางคประดิษฐ์        ปญฺจปติฏฺฐิเตน วนฺทิตฺวา(สำนวน)

กริช        ฉุริกา(อิตฺ.) สตฺติ(อิตฺ.) อสิปุตฺตี(อิตฺ.) อมุตฺตํ(นปุ.) อิลฺลิยา(อิตฺ.) ขคฺโค(ปุ.)

กรีส (๔ อัมพณะ)        กรีสํ(นปุ.)

กรีสะ        คูโถ(ปุ.)(นปุ.) กรีโส(ปุ.)(นปุ.) วจฺโจ(ปุ.)(นปุ.) มลํ(นปุ.) ฉกํ(นปุ.) อุจฺจาโร (ปุ.) มีฬฺหํ(นปุ.) อุกฺกาโร(ปุ.)

กรุงธนบุรี         ธนปุรํ(นปุ.)

กรุงศรีอยุธยา         สิริอยุชฺฌิยนครํ(นปุ.) อโยธยปุร(นปุ.) อโยชฺยปุร(นปุ.) อยุทฺธยปุร(นปุ.) อโยชฺฌยปุร(นปุ.)

กรุณา        กรุณา(อิตฺ.) อาทโร(ปุ.) อนุกมฺปํ(นปุ.) กรุณายโก(คุณ.) กรุณายติ(อาข.) อาทยติ(อาข.)

กฤษณา         ตคร(นปุ.) โลหํ(นปุ.) อครุ(นปุ.)อาคลุ(ปุ.)

กฤษณาดำ        กาฬาครุ(นปุ.)

กฤษณาทั่วไป        โลหํ(นปุ.) อครุ(นปุ.) อคฬุ(นปุ.)

กลบ        ฉาเทติ(อาข.)

กลม         วฏฺฏ(คุณ.) วฏฺฏุล(คุณ.) นิตฺตล(คุณ.)

กลมกล่อม         ปริมณฺฑลํ(นปุ.)

กลลรูป        กลลํ(ปุ.)(นปุ.)

กลวง        โกลาป(คุณ.)(นปุ.)

กล้วย        รมฺภา(อิตฺ.) กทลี(อิตฺ.) โมโจ(ปุ.) กทลิผลํ(นปุ.)

กล้อง         นาฬิกํ(นปุ.)

กลอง ๒ หน้า        วิตตํ(นปุ.)

กลอง        เภริ(นปุ.) ทุนฺทุภิ(ปุ.)

กลองก้นกลม         อานโก(ปุ.)

กล่องดวงใจ         หทยโกสํ(นปุ.)

กลองตะโพน        มุทิงฺโค(ปุ.) มุรโช(ปุ.)

กลองต่างๆ        ติณโว(ปุ.) เทณฺฑิโม(ปุ.) อาลมฺพโร(ปุ.) ปณโว(ปุ.)

กลองติณวะ        ติณโว(ปุ.)        

กลองทัททริกา        ททฺทรี(ปุ.)        

กลองทุนทุภิ        ทุนฺทุภิ(ปุ.)

กลองบัณเฑาะว์        ปณโว(ปุ.)

กลองเปิงมาง        อาลมฺพโร(ปุ.)

กลองเภรี        เภริ(นปุ.)

กล่องยาหยอดตา        อญฺชนนาฬิ(อิตฺ.)

กล่องใส่กุญแจ         กุญฺจิกาโกสโก(นปุ.)  กุญฺจิกา(อิตฺ.) โกสกํ(นปุ.)

กลองหุ้มทั้งสอง        วิตตํ(นปุ.)

กลองหุ้มหนังหน้าเดียว        อาตตํ(นปุ.)

กลองหุ้มหมด        อาตตวิตตํ(นปุ.)

กลองอังกยะ         องฺกโย(ปุ.)

กลอน        อาณาติ(อิตฺ.)

กลอนประตู        ลงฺคี(อิตฺ.) ปลิโฆ(ปุ.) อคฺคล(นปุ.)

กลอนเรือน         โคปานสิ(อิตฺ.)

กลอนเหล็ก        อยลงฺคี(อิตฺ.) อยปลิโฆ(ปุ.)

กลอุบายชนะศัตรู        เภโท(ปุ.) ยุให้แตกสามัคคี, ทณฺโฑ(ปุ.) รุกฆาต, สามํ(นปุ.)ผูกไมตรี, ทานํ(นปุ.) ให้สินบน

กลับ         นิวตฺติตฺวา(กิตก์) อุปนิวตฺตติ(อาข.) ปริวตฺตติ(อาข.)

กลับ (จากบิณฑบาต)        ปฏิกฺกนฺต(กิตก์) ปจฺฉาคจฺติ(อาข.) นิวตฺติ(อาข.)

กลับกลอก         ลหุปริวตฺต(คุณ.) จญฺจล(คุณ.)

กลับกัน        ปฏิกฺกูล(คุณ.) อปสพฺย(คุณ.)

กลับฟื้น        อสฺสาลี(คุณ.)

กลัว        ภีรุ(คุณ.) ภีรุก(คุณ.) ภิสีล(คุณ.) อนุภายติ(อาข.)

กล้า        ติณฺห(คุณ.) ติขิณ(คุณ.) ติพฺพ(คุณ.)

กลาก        ขุชฺชุ(อิตฺ.) กณฺฑูวนํ(นปุ.)

กลากเกลื้อน         ปามํ(นปุ.) วิตจฺฉิกา(อิตฺ.) กจฺฉุ(อิตฺ.)

กล้าแข็ง         ถทฺธ(กิตก์)

กลาง        อนฺตรํ(นิ.) อนฺตรา(นิ.) อนฺโต(นิ.)

กลางคืน        นิสา(อิตฺ.) รชนี(อิตฺ.) รตฺติ(อิตฺ.) ติยามา(อิตฺ.) สํวรี(อิตฺ.)

กลางดง         อฏวีมชฺฌ(นปุ.)

กลางวัน        ทิวโส(ปุ.) อหํ(ปุ.)(นปุ.) ทินํ(นปุ.) อุทฺทินํ(นปุ.) ทิวโส(ปุ.)(นปุ.) ทิวา(นิปาต)

กลางหาว        อนฺตลิกขํ(นปุ.) ขํ(นปุ.) อาทิจฺจปโถ(ปุ.) อพฺภํ(นปุ.) คคนํ(นปุ.) อมฺพรํ(นปุ.) อมฺพรํ(นปุ.) เวหาโส(ปุ.) อนิลปโถ(ปุ.) อากาโส(ปุ.) นภํ(นปุ.) เทโว(ปุ.)     เวหายโส(ปุ.) ตาราปโถ(ปุ.) สุรปโถ(ปุ.) อฆํ(นปุ.) อากาสตลํ(นปุ.)

กลายเป็นเพียงนิทาน         นิทานวตฺถุมตฺตา ชาตา (สำนวน)

กล่าว        ภาสิต(กิตก์) ลปิต(กิตก์) วุตฺต(กิตก์) อภิหิต(กิตก์) อาขฺยาต(กิตก์) ชปฺปิต(กิตก์)อุทีริต(กิตก์) กถิต(กิตก์) คทิต(กิตก์) ภณิต(กิตก์) อุทิต(กิตก์) อกฺขติ(อาข.) อาห(อาข.) อกฺขาติ(อาข.) ภาสติ(อาข.) อภิภาสติ(อาข.) อชฺฌภาสติ(อาข.)   วทติ(อาข.) กเถติ(อาข.) ภณิต(กิตก์) ภาสิต(กิตก์) ลปิต(กิตก์) อกฺขาต(กิตก์) สงฺขาติ(อาข.) อาโรเจติ(อาข.)

กล่าวคาถา         อภาสิ(อาข.)        

กล่าวโจทก์        ปุจฺฉา(อิตฺ.) ปุจฺฉนํ(นปุ.) โจทนํ(นปุ.) โจทยติ(อาข.)

กล่าวซ้ำ         อนุภาสติ(อาข.) อนุวาเจติ(อาข.)

กล่าวตาม         อนุภาสติ(อาข.) อนุวาเจติ(อาข.)

กล่าวตู่         อพฺภกฺขาติ(อาข.) อพฺภาจิกฺขิ(อาข.) อพฺภกฺขนฺต(กิตก์) อพฺภกฺขานํ(นปุ.)     ตุจฺฉภาสนํ(นปุ.)

กล่าวตู่        อพฺภาจิกฺขติ(อาข.)

กล่าวถึง         อารพฺภ(กิตก์)

กล่าวโทษ        อุปวาโท(ปุ.) อุปกฺโกโส(ปุ.) อวณฺณวาโท(ปุ.) อนุวาโท(ปุ.) ชนวาโท(ปุ.)      อปวาโท(ปุ.) ปริวาโท(ปุ.) อวณฺณวาโท(ปุ.)

กล่าวธรรมพระชินะ         ชินธมฺมภาณี(ปุ.)

กล่าวฝ่ายเดียว         วทติ(อาข.)

กล่าวแย้ง        อุปารมฺภติ(อาข.)

กล่าวเรื่องยาวขึ้นหน่อย        กเถสิ(อาข.)

กล่าวให้คลาดคลื่น         วิสํวาทนํ(นปุ.)

กล้าหาญ        ปคพฺภ(กิตก์) ปฏิภายุตฺต(กิตก์) ปฏิภายุตฺต(คุณ.) สูร(คุณ.) วีร(คุณ.) วิกฺกนฺต(กิตก์)

กล้าหาญเด็ดเดี่ยว         อจฺฉมฺภี(คุณ.) อนุตฺราสี(คุณ.)

กลิ้ง         ปวิชฺฌิตฺวา(กิตก์) ปริวตฺเตตฺวา(กิตก์)

กลิ้งกลอก        โลล(คุณ.) อญฺจล(คุณ.) จล(คุณ.) ตรล(คุณ.)

กลิ้งไปเอง         ปวฏฺเฏติ(อาข.) ปวฏฺฏติ(อาข.)

กลิ่น        คนฺโธ(ปุ.)

กลิ่นคาว        วิสฺสํ(อิตฺ.)(นปุ.)

กลิ่นดี        อิฏฺฐคนฺโธ(ปุ.) สุรภิ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

กลิ่นไม่ดี        ปูติคนฺธิ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ทุคฺคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

กลิ่นศพ         กุณปคนฺโธ(ปุ.)

กลิ่นหอม        อิฏฐคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุรภิ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุคนฺธิ (ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อาโมโท(ปุ.)

กลิ่นหอมบด        ปริมโล(ปุ.)

กลิ่นหอมฟุ้ง        อาโมโท(ปุ.)

กลีบ        ปทุมกณฺณิกา(อิตฺ.)

กลีบบัว         อุปฺปลทลํ(นปุ.) กมลทลํ(นปุ.)

กลีบบัวขาว         กุมุทปตฺตํ(นปุ.)

กลียุค         กลิยุคฺค(ปุ.)(นปุ.)

กลืนกิน        คิลิต(กิตก์) ขาทิต(กิตก์) ภุตฺต(กิตก์) ภกฺขิต(กิตก์) อชฺโฌหต(กิตก์) อชฺโฌหฏ(กิตก์) อสิโต(กิตก์) โอคิลติ(อาข.) อชฺฌุปหรติ(อาข.) อชฺโฌหรติ(อาข.) คิลติ(อาข.) อชฺโฌหรณํ(นปุ.)

กลุ่ม        ฆฏา(อิตฺ.) สมุโห(ปุ.) สงฺโฆ(ปุ.) ราสิ(อิตฺ.) กาโย(ปุ.) สมุทาโย(ปุ.)

กลุ้มใจ         อฏฺฏียติ(อาข.) วิปฺปฏิสาโร(ปุ.)

กลุ่มชนผู้รักชาติ(นปช.)         ชาติปิยายกชนกาโย(ปุ.)

กลุ้มรุม        ปริยุฏฺฐิต(กิตก์)

กลุ่มหนอน         กิมิกุลํ(นปุ.)

กวน          อาโลเลติ(อาข.)

กวัดแกว่ง        อุคฺคิรติ(อาข.)

กวาง          สารงฺโค(ปุ.) กุรุงฺโค(ปุ.) กุรงฺโค(ปุ.) โคกณฺโณ(ปุ.) คณิ(ปุ.) กณฺฏโก(ปุ.) มิโค(ปุ.)

กว้าง        ปริณาโม(ปุ.) วิสาลตา(อิตฺ.) อายติ(อิตฺ.) วิสาล(คุณ.) วิปุล(คุณ.) วิตฺถินฺน(คุณ.) วิตฺถต(คุณ.) วิตฺถาโร(ปุ.)

กว้างขวาง         วิตฺถต(คุณ.) วิสฏ(คุณ.) อุฬาร(คุณ.) ติริย(คุณ.) วิสาล(คุณ.) วิตฺถินฺน(คุณ.)  วิตฺถาร(คุณ.) ตต(คุณ.) ผีต(คุณ.)

กวางจมูรุ        จมูร(ปุ.)

กวางทอง        รุรุ(ปุ.)

กวางนีกะ        นิงโก(ปุ.)

กวางปิยกะ        ปิยโก(ปุ.)

กวางรังกุ        รงฺกุ(ปุ.)

กวางสรภะ        สรโภ(ปุ.)

กว้างใหญ่        พฺรหา(คุณ.) มหนฺต(คุณ.) วิปุล(คุณ.) วิสาล(คุณ.) ปุถุล(คุณ.) ปุถุ(คุณ.) ครุ(คุณ.) อรุ(คุณ.) วิตฺถิณฺณ(คุณ.)

กวาด         สมฺมชฺชติ(อาข.) สมฺมชฺชิตฺวา(กิตก์)

กวาดต้อน         สํหริตฺวา(กิตก์) สงฺฆรนฺติ(อาข.)

กวี         กพฺพกาโร(ปุ.) กพฺพการโก(ปุ.)

กษัตริย์        ราชญฺโญ(ปุ.) ขตฺติโย(ปุ.) ขตฺตํ(ปุ.) มุทฺธาภิสิตฺโต(ปุ.) พาหุโช(ปุ.) ชนาธิโป(ปุ.)ภูโป(ปุ.) ภูมิปาโล(ปุ.) รฏฺฐาธิโป(ปุ.) ราชา(ปุ.)

กษัตริย์มหาศาล        ขตฺติยมหาสาโล(ปุ.)

กสิกรรม        กสิกมฺมํ(นปุ.) กสี(อิตฺ.)

กหาปณะ          กหาปโณ(ปุ.)(นปุ.)

กอ        คจฺโฉ(ปุ.) คุมฺโพ(ปุ.)

ก่อ        อภิสญฺจยติ(อาข.) อภิสญฺจินาติ(อาข.) อาจินาติ(อาข.) อุปจินาติ(อาข.) อุปรจิต (กิตก์) อุปจิต(กิตก์) อุปจโย(ปุ.)

ก่อการวิวาท         วิวาทํ ปฏฺฐเปตฺวา(สำนวน)

กอแขม        เตชโน(ปุ.) สโร(ปุ.)

กอง         ราสิ(อิตฺ.) ขนฺโธ(ปุ.) กาโย(ปุ.) กพโล(ปุ.)

ก้องกังวาน         อนุรวติ(อาข.)

กองขยะ         สงฺการกูโฏ(ปุ.) สงฺการกูฏํ(นปุ.)

กองคลัง        โกส(ปุ.)(นปุ.) ธนราสิ(อิตฺ.)

กองถ่านเพลิง         องฺคารราสิ(ปุ.)

กองทัพ         วาหินี(อิตฺ.) ธชินี(อิตฺ.) จมู(อิตฺ.) จกฺกํ(นปุ.) พลํ(นปุ.) อนีโก(ปุ.) อนีกํ(นปุ.) เสนา(อิตฺ.) เสนาพฺยูโห(ปุ.) จตุรงฺคินิเสนา(อิตฺ.)

กองทัพบก        วาหินี(อิตฺ.) ธชินี(อิตฺ.) เสนา(อิตฺ.) จมู(อิตฺ.) จกฺกํ(นปุ.) พลํ(นปุ.) อณีโก(ปุ.)

กองทัพม้า         อสฺสวานิโก(ปุ.)

กองบาลี         ปาลิสิกฺขา(อิตฺ.)

กองพล        ปกฺโข(ปุ.) พลํ(นปุ.) พลานีกํ(นปุ.) จกฺกํ(นปุ.)

กองไฟ         อคฺคิกฺขนฺโธ(ปุ.)

กองเลขานุการ         มหาเลขกาลโย(ปุ.) เลขกานุกาโร(ปุ.)

กองหยากเยื่อ        สงฺกฏีรํ(นปุ.) สงฺการธานํ(นปุ.) สงฺการกูฏํ(นปุ.)

กอด         อาลิงฺคิตฺวา(กิตก์) อาลิงฺคติ(อาข.) อาลิงฺคนํ(นปุ.)

กอดจูบ         อปลาเลติ(อาข.) อปลาเฬติ(อาข.)

กอดเตียง         มญฺจกํ อุปคุยฺหิตฺวา (สำนวน)

กอดรัด        อาลิงฺคติ(อาข.)

กอดอกไม้         กเฏรุโห(ปุ.)

ก่อตั้ง         นิทหิตฺวา(กิตก์) ปฏฺฐเปตฺวา(กิตก์)

ก่อตั้งขึ้น        อุฏฺฐหติ(อาข.)

ก่อตัว        อาจิต(กิตก์) นิจิต(กิตก์)

ก้อน         กพโล(ปุ.)

ก่อน         ปฐมํ(สังขยา) ตาว(นิปาต) ปุราณสนนฺตน(คุณ.) สพฺพปฐม(คุณ.) ปุพฺเพ(คุณ.)

ก้อนกรวด        สกฺขรา(อิตฺ.)

ก่อนกว่า        ปุเรตร(คุณ.) ปุริมตร(คุณ.) ปฐมตร(คุณ.)

ก้อนข้าว         ปิณฺโฑ(ปุ.) ปิณฺฑํ(นปุ.) กพลิงฺกาโร(ปุ.)

ก่อนค่ำ        สกาล(ปุ.)

ก้อนดิน        เลฑฺฑุ(ปุ.) มตฺติกา(อิตฺ.) เลฑฺฑุกา(อิตฺ.)

ก้อนดินเหนียว         มตฺติกาปิณฺโฑ(ปุ.)

ก่อนเที่ยง        สกาล(ปุ.)

ก้อนเมฆ         อพฺภฆนํ(นปุ.)

ก่อนแรก        ปุพฺพ(คุณ.) อคฺค(คุณ.) ปฐม(คุณ.) อาทิ(คุณ.)

ก้อนวัตถุ        ปิณฺโฑ(ปุ.)

ก้อนหิน         ปาสาโณ(ปุ.) สิลา(อิตฺ.)

ก้อนเหล็ก         อโยธาตุ(อิตฺ.) นิกฺขํ(นปุ.) สลากํ(นปุ.) อโยปิณฺฑํ(นปุ.)

ก้อนอิฐ        คิญฺชกา(อิตฺ.) อิฏฺฐกา(อิตฺ.)

กอบัว         ปทุมคจฺฉ(ปุ.) ปทุมนิคจฺฉ(นปุ.)

กอบัวขาว         กุมุทวนํ(นปุ.)

ก่อไฟ         อคฺคิกรณํ(นปุ.) อคฺคึ กโรติ(สำนวน) อคฺคึ สมฺปาเทติ(สำนวน)

กอไม้         ถมฺโภ(ปุ.) คุมฺโพ(ปุ.) นิคจฺฉํ(นปุ.) กุโช(ปุ.) คจฺโฉ(ปุ.)

กอเลา        คโล(ปุ.) กาโส(ปุ.)(นปุ.)

กอหญ้า        ถมฺโภ(ปุ.)(นปุ.) คุมฺโพ(ปุ.)

กอหนาม        กณฺฏกคหนํ(นปุ.)  กณฺฏกคุมฺโพ(ปุ.)

กะ        ววตฺถาปิยมาน(กิตก์) ปริจฺฉิชชมาน(กิตก์)

กะแซง         อินฺทุ(อิตฺ.) กลิกา(อิตฺ.) เกตุมาลา(อิตฺ.)

กะทอ         ภสฺตุ(อาข.)

กะทะ         กปลฺลปาฏิ(อิตฺ.) กปลฺลํ(นปุ.) กปลฺลกํ(นปุ.)

กะเทย        วสฺสวโร(ปุ.) ปณฺฑโก(ปุ.) นปุสโก(ปุ.)

กะลำพัก         กาฬานุสารี(ปุ.)

กะสวยทอหูก        เวโม(ปุ.) วายนทณฺฑโก(ปุ.)

กะหรี่        คณิกา(อิตฺ.) เวสิยา(อิตฺ.) วณฺณทาสี(อิตฺ.) นครโสภินี(อิตฺ.) รูปูปชีวินี(อิตฺ.) เวสี(อิตฺ.)

กะโหลกศีรษะ        กปฺปโร(ปุ.) กปาลํ(ปุ.)(นปุ.)

กักขัง        อวรุนฺธติ(อาข.)

กังขา        กงฺขา(อิตฺ.) ปริสงฺกา(อิตฺ.) วิมติ(อิตฺ.) เวมติ(อิตฺ.)

กังวล        อชฺเฌติ(อาข.) ปลิโพธ(ปุ.)

กังวลใจ        อฏฺฏียติ(อาข.) มา จินฺตยิ(อาข.)

กังวาน        อพฺภุทิริต(คุณ.)                

กัญชา         กากตินฺทุโก(ปุ.)

กัณฑ์        กณฺโฑ(ปุ.)        

กัณหเทพ        วาสุเทโว(ปุ.) หริ(ปุ.) กณฺโห(ปุ.) เกสโว(ปุ.) จกฺกปาณิ(ปุ.)

กัณหมาร        วาสุเทโว(ปุ.) หริ(ปุ.) กณฺโห(ปุ.) เกสโว(ปุ.) จกฺกปาณิ(ปุ.)

กัด        ฑํสติ(อาข.) ฑํสิตฺวา(กิตก์) ฑฏฺฐ(กิตก์) ฑํสิต(กิตก์)

กั้น         ปิทหิตฺวา(กิตก์) ปิธาย(กิตก์) นิวาริต(กิตก์) รุนฺธติ(อาข.)ถเกตฺวา(กิตก์) ธาเรติ(อาข.) อภิวาเรติ(อาข.) ปิทหติ(อาข.) นิวาเรติ(อาข.) รุทฺธ(กิตก์) สํวุต(กิตก์) อาวุต(กิตก์) อุปรุนฺธติ(อาข.)

กันดาร        กนฺตาโร(ปุ.)

กั้นม่าน         ปริกฺขิปติ(อาข.)

กันสาด         สํสรณ(นปุ.) กิฏิก(นปุ.)

กับ        สทฺธึ(นิปาต) สห(นิปาต) สมํ(นิปาต) อมา(นิปาต)

กับข้าว        พฺยญฺชนํ(นปุ.) สูโป(ปุ.)

กับข้าวจำพวกแกง        สูโป(ปุ.)

กับดัก        วากรา(อิตฺ.) มิคพนฺธินี(อิตฺ.) พนฺธนํ(นปุ.) คณฺฐิปาโส(ปุ.)

กัป         กปฺโป(ปุ.)

กัปตัน         นิยามโก(ปุ.)  มหานาวิโก(ปุ.) โปตวา(ปุ.)

กัปตันเรือ        นิยามโก(ปุ.) โปตวาโห(ปุ.) มหานาวิโก(ปุ.)

กัปประลัย        กปฺปกฺขโย(ปุ.) สํวฏฺโฏ(ปุ.) ยุคนฺโต(ปุ.) ปลโย(ปุ.)

กัมพลศิลาอาสน์         กมฺพลสิลาสนํ(นปุ.)

กัลบก        กปฺปโก(ปุ.) นหาปิโต(ปุ.) เกโสหารโก(ปุ.)

กัลป์อวสาน        กปฺปกฺขโย(ปุ.) สํวฏฺโฏ(ปุ.) ยุคนฺโต(ปุ.) ปลาโย(ปุ.)

กา        กาโก(ปุ.)

กากณิกหนึ่ง        กากณิกํ(นปุ.)

กากน้ำผึ้ง        มธุจฺฉิฏฺฐํ(นปุ.) สิตฺถกํ(นปุ.)

กากบาท         กากปาโท(ปุ.)(นปุ.)

กากสะเดา         นิมฺพกสฏํ(นปุ.)

กากะทิง        นาโค(ปุ.) นาคมาลิกา(อิตฺ.)

ก้างปลา        กณฺฏกํ(นปุ.)

ก้าน        กณฺโฑ(ปุ.) นาฬํ(นปุ.)

ก้านคอ         คลนาลํ(นปุ.) คลนาฬํ(นปุ.) ขนฺธ(ปุ.)                                        

ก้านบัว        ทณฺโฑ(ปุ.) นาลํ(นปุ.) นาฬํ(นปุ.)

ก้านบัวขาว         กุมุทนาฬํ(นปุ.)

ก้านใบอ่อน        ปลฺลโว(ปุ.)(นปุ.) กิสลยํ(นปุ.)

กานพลู        ลวงฺคํ(นปุ.) เทวกุสุมํ(นปุ.)

กาน้ำ        กาทมฺโพ(ปุ.) กาฬหํโส(ปุ.)

กาป่า        กาโกโฬ(ปุ.) วนกาโก(ปุ.)

กาฝาก        รุกฺขาทนี(อิตฺ.) วนฺทากา(อิตฺ.)

กาพย์        กพฺพํ(นปุ.)  กาเวยฺยํ(นปุ.) กาพฺยํ(นปุ.)

กาแฟ         กาผิ(อิตฺ.)

กาม        ตณฺหา(อิตฺ.) ตสินา(อิตฺ.) เอชา(อิตฺ.) ชาลินี(อิตฺ.) วิสตฺติกา(อิตฺ.) ฉนฺโท(ปุ.) ชฏา(อิตฺ.) นิกนฺติ(อิตฺ.) อาสา(อิตฺ.) สิพฺพนี(อิตฺ.) ภวเนตฺติ(อิตฺ.) อภิชฺฌา(อิตฺ.) วนโถ(ปุ.) วานํ(นปุ.) โลโภ(ปุ.) ราโค(ปุ.) อาลโย(ปุ.) ปิหา(อิตฺ.) มโนรโถ(ปุ.) อิจฺฉา(อิตฺ.) อภิลาโส(ปุ.) กาโม(ปุ.) โทหโฬ(ปุ.) อากงฺขา(อิตฺ.) ริจิ(อิตฺ.)

กามเทพ        อวิคฺคโห(ปุ.) กาโม(ปุ.) มโนภู(ปุ.) มทโน(ปุ.)

กามธาตุเป็นต้น        ภโว(ปุ.)

ก้ามปู        อฬํ(นปุ.) อฬกํ(นปุ.)

กามโรค        อุปฑํโส(ปุ.) กามโรโค(ปุ.)

กาเมสุมิจฉาจาร         กาเมสุมิจฺฉาจาโร(ปุ.)

กาโมฆะ        กาโมโฆ(ปุ.)

กาย        สรีรํ(นปุ.) วปุ(นปุ.) คตฺตํ(นปุ.) อตฺตภาโว(ปุ.) โพนฺทิ(ปุ.) วิคฺคโห(ปุ.) เทโห(ปุ.) (นปุ.) กาโย(ปุ.) ตนุ(อิตฺ.) กเฬวรํ(นปุ.)

กายมีแผล         อรุคตฺต(คุณ.)

กายสังขาร        กายสงฺขาโร(ปุ.) สงฺขาโร(ปุ.)

การกด        สมฺพาหนํ(นปุ.) มทฺทนํ(นปุ.)

การกระทำ        กฺริยา(อิตฺ.) กิริยํ(นปุ.) กมฺมํ(นปุ.)

การกระทำให้มั่นคง        สาธุ(คุณ.) ทฬฺหกมฺมํ(นปุ.)

การกลับ        นิวตฺตนํ(นปุ.) นิวตฺตติ(อาข.) ปฏิกมติ(อาข.) ปฏิกมนํ(นปุ.)

การกลับคำ        ปฏิหาโร(ปุ.) น ยถาวาที ตถาการี (สำนวน)

การกล่าวคำจริง        สจฺจวาจา(อิตฺ.)

การกล่าวคำเท็จ        มุสาวาโท(ปุ.)

การกล่าวชม        อกฺกยติ(อาข.) อภิตฺถวติ(อาข.) อภินนฺทิตฺวา(กิตก์) ถุนิตฺวา(กิตก์) อภิตฺถวิตฺวา(กิตก์) นุติ(อิตฺ.) ถุติ(อิตฺ.) โถมนํ(อิตฺ.) ปสํสา(อิตฺ.) อภิถุติ(อิตฺ.)

การกล่าวทักทาย        สภาชน(นปุ.) อานนฺทโน(ปุ.) อานนฺทน(นปุ.) อาปุจฺฉน(นปุ.)

การกล่าวโทษ        นินฺทา(อิตฺ.) ครหา(อิตฺ.) อปวาโท(ปุ.) อุปวาโท(ปุ.) อุปกฺโกโส(ปุ.) อวณฺณวาโท (ปุ.) อนุวาโท(ปุ.) ชนวาโท(ปุ.) อปวาโท(ปุ.) ปริวาโท(ปุ.) อวณฺณวาโท(ปุ.)

การกล่าวสอน        โอวาโท(ปุ.) อนุสิฏฺฐิ(อิตฺ.) อนุสาสนํ(นปุ.)        

การกอด        อาลิงฺคนํ(นปุ.) ปริสฺสงฺโค(ปุ.) สิเลโส(ปุ.) อุปคูหณํ(นปุ.)

การกะประมาณ        มานนํ(นปุ.)

การกั้น        วโร(ปุ.) วุติ(อิตฺ.)

การก้าวไปก่อน        ปกฺกโม(ปุ.) อุปกฺกโม(ปุ.)

การก้าวไปข้างหน้า        อภิกฺกมนํ(นปุ.) อภิกฺกโม(ปุ.)

การก้าวล่วง        สมติกฺกโม(ปุ.) อติกนฺตา(กิตก์)

การกำราบ        นิคฺคโห(ปุ.) นิคฺคารหํ(นปุ.)

การกำหนด        ววฏฺฐานํ(นปุ.) ววตฺถานํ(นปุ.) นิยโม(ปุ.) ปริจฺเฉโท(ปุ.)

การกำหนดช่วงชีวิต        กปฺโป(ปุ.)

การเก็บเกี่ยว        ลโว(ปุ.) อภิลาโว(ปุ.) ลวนํ(นปุ.)

การเกลี่ยพืช        วุตฺตํ(นปุ.) วปนํ(นปุ.)

การเกี่ยวข้องกัน        สงฺโค(ปุ.) สงฺคโม(ปุ.)

การข้อง        สตฺตํ(นปุ.) สคฺโค(ปุ.) อาสตฺตํ(นปุ.)

การขัดสี         อุพฺพฏฺฏนํ(นปุ.) อุพฺพตฺตนํ(นปุ.)

การขับไล่         นิสฺสารณํ(นปุ.) ปพฺพชฺชา(อิตฺ.) ปพฺพาชนํ(นปุ.) ปณาโม(ปุ.)

การข้าม        ตรณํ(นปุ.)

การขึ้นสู่ข้างบน        อุคฺคมนํ(นปุ.) อุทฺธคมนํ(นปุ.) อุทฺธคติ(อิตฺ.)

การเข้าใกล้        อุปคมนํ(นปุ.)

การเข้าจำอุโบสถ        อุโปสโถ(ปุ.) อุปวาโส(ปุ.)

การเข้าไปปรนนิบัติ        อุปาสนํ(นปุ.)

การคณะสงฆ์ไทย         ทยฺยิกสงฺฆปฺปสาสนํ(นปุ.)

การคดโกง        นิกติ(อิตฺ.) กูฏํ(นปุ.) ทมฺโภ(ปุ.) สฐฺยํ(นปุ.) เกตวํ(นปุ.)

การคดข้าว        วฑฺฒนํ(นปุ.)        

การค้นคว้า        วิจโย(ปุ.) มคฺคนา(อิตฺ.) คเวสนา(อิตฺ.)

การคบหา        เสวนา(อิตฺ.) ภชนา(อิตฺ.) สงฺคติ(อิตฺ.) สมาคโม(ปุ.)

การคลอเคลีย        อาลิงฺคนํ(นปุ.) ปริสฺสงฺโค(ปุ.) สิเลโส(ปุ.) อุปคูหณํ(นปุ.)

การคลอด        ปสโว(ปุ.) ชาติ(อิตฺ.)

การคล้อยตาม        อนุโรโธ(ปุ.) อนุวตฺตนํ(นปุ.)

การคอยรับใช้        อุปาสนํ(นปุ.) สุสฺสูสา(อิตฺ.) ปาริจริยา(อิตฺ.)

การคัด        วิจโย(ปุ.) มคฺคนา(อิตฺ.)(นปุ.)        

การค้าขาย        วาณิชฺชํ(นปุ.) วณิชฺชา(อิตฺ.) วิกฺกีณนํ(นปุ.)

การคืนสิ่งของ        นิยฺยาตนํ(นปุ.) นฺยาสปฺปนํ(นปุ.)

การเคาะบอกยาม        ปหาโร(ปุ.)

การโค้งคำนับ        นมสฺสา(อิตฺ.) นมกฺกาโร(ปุ.) วนฺทนา(อิตฺ.) อภิวาทนํ(นปุ.)

การฆ่าบุรุษบูชายัญ        ปุริสเมโธ(ปุ.)        

การฆ่าม้าบูชายัญ        อสฺสเมโธ(ปุ.)

การงดเว้นจากเมถุน        พฺรหฺมจริย(นปุ.) เมถุนารติ(อิตฺ.)

การงาน         กิจฺจ(นปุ.) กมฺม(นปุ.) กมฺมนฺต(ปุ.)

การงานเบื้องแรก        อาทิกมฺมํ(นปุ.)        

การจดจำ        สุตํ(นปุ.) ธารณํ(นปุ.)

การจบข้อความ        สมาปนํ(นปุ.) อิติ(นิปาต)

การจัดการ        วิธิ(ปุ.) กปฺโป(ปุ.) สํวิทหณํ(นปุ.)

การจับต้อง        ปรามสนํ(นปุ.) คหณํ(นปุ.) คณฺหณํ(นปุ.) คโห(ปุ.) คาโห(ปุ.)

การจำนำ        สจฺจาปนํ(นปุ.) สจฺจกาโร(ปุ.)

การจำแนก        วิภาโค(ปุ.) ภตฺติ(อิตฺ.) วิภตฺติ(อิตฺ.)

การจำศีล        อุปวาโส(ปุ.)        

การเจาะ        พฺยโธ(ปุ.)

การฉลอง        อุสฺสโว(ปุ.) ฉโณ(ปุ.) มโห(ปุ.)

การฉาย        ปสโร(ปุ.) วิสปฺปนํ(นปุ.)

การชดใช้        ปฏิทานํ (นปุ.) ปริวตฺโต (ปุ.)

การชนะ        ชโย(ปุ.) ชยนํ(นปุ.) ชิติ(อิตฺ.) วิชิตํ(นปุ.)(กิตก์)

การชวน        อชฺเฌสนา(อิตฺ.) นิโยชนํ(นปุ.)

การชั่ง        มานํ(นปุ.) ตุลนํ(นปุ.)

การชำแหละ        อุพฺพตฺตนํ(นปุ.) ปวิสฺสิเลโส(ปุ.) วิธุรํ(นปุ.)

การชี้แจง        นิทสฺสนํ(นปุ.)

การเชยชิด        สงฺโค(ปุ.) สงฺคโม(ปุ.)

การเชิญชวน        อชฺเฌสนา(อิตฺ.) วุตฺตํ(นปุ.) นิมนฺตนํ(นปุ.)

การเชื่อมกัน        สิเลโส(ปุ.) สนฺธิ(อิตฺ.)

การซ่านไป        ปสโร(ปุ.) วิสปฺปนํ(นปุ.)

การดำรงอยู่        ฐานํ(นปุ.)

การดีดพิณ        วีณวาทนํ(นปุ.)

การดื่มฉลองชัย        ชยปานํ(นปุ.)

การดื่มน้ำมนต์        วาชเปยฺยํ(นปุ.) วาชเปยฺโย(ปุ.)

การดู        อาโลกนํ(นปุ.) นิชฺฌานํ(นปุ.) อิกฺขนํ(นปุ.) ทสฺสนํ(นปุ.)                

การดูแล        รกฺขนํ(นปุ.) อารกฺโข(ปุ.) คุปฺปนํ(นปุ.)         

การเดินทาง        ยานํ(นปุ.) คมนํ(นปุ.) อยนํ(นปุ.) ปฏิปชฺชนํ(นปุ.)

การตก        นิปาโต(ปุ.) นิปตนํ(นปุ.)

การตกแต่งให้งาม        อากปฺโป(ปุ.) เวโส(ปุ.) เนปจฺฉํ(นปุ.)

การตกลงใจ        นิฏฺฐานํ(นปุ.)

การต้ม        ปจา(อิตฺ.) ปจนํ(นปุ.) ปาโก(ปุ.)

การตวง        ปมิติ(อิตฺ.) ปมา(อิตฺ.) มานนํ(นปุ.)

การต่อกัน        สิเลโส(ปุ.) สนฺธิ(อิตฺ.)

การตอบแทน        ปฏิทานํ(นปุ.) ปริวตฺโต(ปุ.)

การต่อว่า        อุปวาโท(ปุ.) อุปกฺโกโส(ปุ.) อวณฺณวาโท(ปุ.) อนุวาโท(ปุ.) ชนวาโท(ปุ.)       อปวาโท(ปุ.) ปริวาโท(ปุ.) อวณฺณวาโท(ปุ.) เขโป(ปุ.) นินฺทา(อิตฺ.) กุจฺฉา(อิตฺ.) ชิคุจฺฉา(อิตฺ.) ครหา(อิตฺ.)

การต่อสู้        ยุญฺชนํ(นปุ.) รณ(ปุ.)

การตะโกน        รโว(ปุ.) รโณ(ปุ.)

การตั้งอยู่มั่นคง        สนฺนิวาโส(ปุ.) สณฺฐานํ(นปุ.)

การตั้งอยู่ไม่นาน        ขโณ(ปุ.)

การตัด        อปทานํ(นปุ.) ขณฺฑนํ(นปุ.)

การตัดสิน        อธิโมกฺโข(ปุ.) นิจฺฉโย(ปุ.) นิณฺณโย(ปุ.) นิยโม(ปุ.) อวสฺสํ(นิปาต) นูน(นิปาต)        

การติดขัด        โยโค(ปุ.) ปสชฺชนํ(นปุ.) ปสงฺโค(ปุ.) อุปสคฺโค(ปุ.)

การติดต่อ        สตฺต(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อาสตฺต(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สาตจฺจํ(นปุ.) สงฺฆฏฺฏนํ(นปุ.) สงฺฆฏนํ(นปุ.)

การเต้นรำ        นจฺจํ(นปุ.) นฏฺฏํ(นปุ.) นฏนํ(นปุ.) นตฺตนํ(นปุ.) ลาสนํ(นปุ.)

การแตก        เภโท(ปุ.) วิทาโร(ปุ.) ผุฏนํ(นปุ.) ภิชฺชนํ(นปุ.)

การถกเถียง        ภณฺฑนํ(นปุ.) วิวาโท(ปุ.) วิคฺคโห(ปุ.) กลโห(ปุ.) เมธโค(ปุ.)

การถือ        คโห(ปุ.) คาโห(ปุ.)

การไถ        กสิกมฺมํ(นปุ.) กสิ(อิตฺ.)

การทรมาน        การณา(อิตฺ.) ยาตนา(อิตฺ.) ทมฺโม(ปุ.) ทมนํ(นปุ.)

การทะเลาะ        วิวาโท(ปุ.) กลโห(ปุ.)

การนวด        สมฺพาหนํ(นปุ.) มทฺทนํ(นปุ.)

การนอนไม่หลับ        นิทฺทาวิคโม(ปุ.)

การนั่ง        อุปเวสนํ(นปุ.) อาสนํ(นปุ.) นิสีทนํ(นปุ.) นิสชฺชา(อิตฺ.)

การนับ        ปมิติ(อิตฺ.) ปมา(อิตฺ.) สงฺขฺยา(อิตฺ.)

การบอกคืน        ปจฺจาเทโส(ปุ.) นิรสนํ(นปุ.) ปจฺจกฺขานํ(นปุ.) นิรากติ(อิตฺ.)

การบำเพ็ญวัตร        วตฺตปูรณํ(นปุ.)

การบูชายัญ        ยาโค(ปุ.) กตุ(ปุ.) ยญฺโญ(ปุ.)

การบูร        ฆนสาโร(ปุ.) สิตพฺโภ(ปุ.) กปฺปูรํ(นปุ.) อินฺทุ(ปุ.)

การปกครอง        ปสาสนํ(นปุ.)

การประกัน         ปาฏิโภค(ปุ.)

การปรุงแต่ง        สงฺขาโร(ปุ.) อภิสงฺขาโร(ปุ.)

การไปในที่ยาก        สงฺกโม(ปุ.)

การแผ่ไป        ปสโร(ปุ.) วิสปฺปนํ(นปุ.)

การฝัด        ปาวนํ(นปุ.) ปโว(ปุ.) นิปฺปาโว(ปุ.)

การฝึกยิง        สราภฺยาโส(ปุ.) อุปาสนํ(นปุ.)

การพนัน        ชูตํ(ปุ.)(นปุ.) เกตวํ(นปุ.)

การพยาบาล         คิลานปาลนํ(นปุ.) พฺยาปาโล(ปุ.)

การยึด        คโห(ปุ.) คาโห(ปุ.)

การรักษา        รกฺโข(ปุ.) รกฺขา(อิตฺ.) รกฺขณํ(นปุ.) รกฺขนํ(นปุ.) ปาโล(ปุ.) ปาลนํ(นปุ.)

การเรียก        หโว(ปุ.) หูติ(อิตฺ.) อาโรจนํ(นปุ.) ปกฺโกสนํ(นปุ.)

การเลี้ยงชีพ        ชีวนํ(นปุ.) วุตฺติ(อิตฺ.) ชีวิกา(อิตฺ.) อาชีโว(ปุ.) วตฺตนํ(นปุ.)

การเลี้ยงสัตว์        โครกฺขา(อิตฺ.) ปสุปาลนํ(นปุ.)

การแลดู        อาโลกนํ(นปุ.) นิชฺฌานํ(นปุ.) อิกฺขนํ(นปุ.) ทสฺสนํ(นปุ.)

การสวมกอด        อาลิงฺคนํ(นปุ.) ปริสฺสงฺโค(ปุ.) สิเลโส(ปุ.) อุปคูหนํ(นปุ.)

การเสวย        เวโท(ปุ.) เวทนา(อิตฺ.) เวทยิตํ(นปุ.) ปริภุญฺชนํ(นปุ.) อนุภวนํ(นปุ.)        

การเสวยอารมณ์        เวทยิตํ(นปุ.)

การหุงต้ม        ปจา(อิตฺ.) ปจนํ(นปุ.) ปาโก(ปุ.)

การให้        จาโค(ปุ.) วิสฺสชฺชนํ(นปุ.) ทานํ(นปุ.) โวสฺสคฺโค(ปุ.) ปเทสนํ(นปุ.) วิสฺสานนํ (นปุ.) วิตรณํ(นปุ.) วิหายิตํ(นปุ.) อปวชฺชนํ(นปุ.)

การไหลไป        ปวาโห(ปุ.) ปวตฺติ(อิตฺ.)

การอบรม        วาสนา(อิตฺ.)

การอยู่        วาโส(ปุ.) วสนํ(นปุ.) วิหาโร(ปุ.) อุปวาโส(ปุ.)

การะเกด        เกตกี(อิตฺ.)

กาล         กาโล(ปุ.) อทฺธา(อิตฺ.) สมโย(ปุ.) เวลา(อิตฺ.) อารตฺตํ(นปุ.)

กาลก่อน        ปุพฺเพ(นิปาต)

กาลกิณี         อลกฺขี(ปุ.) กาลกณฺณิ(ปุ.) กาลกณฺณี(ปุ.)

กาลข้างหน้า        ปเร(นิปาต)

กาลต่อไป        ตตฺรกาโล(ปุ.) อายติ(อิตฺ.) อายตึ(นิปาต)

กาลนั้น        ตทา(นิ.) ตกฺกาลํ(นปุ.) ตทาตฺวํ(นปุ.) ตทาตฺตํ(นปุ.)

ก้าวกลับ         ปจฺจาคมนํ(นปุ.) ปฏิกฺกมนํ(นปุ.) ปฏิปกฺกโม(ปุ.) ปฏิกโม(ปุ.) ปฏิกฺกโม(ปุ.) ปฏิกนฺต(กิตก์) ปฏิกฺกนฺต(กิตก์)

ก้าวต่อไป        อพฺภุฏฺฐาติ(อาข.)

ก้าวไป         อกฺกมติ(อาข.) อภิกมติ(อาข.)

ก้าวไปข้างหน้า         อภิกฺกมติ(อาข.)

ก้าวลงแล้ว        อวกฺกนฺต(กิตก์) อวกฺกมฺม(กิตก์) อวกมติ(อาข.) โอกฺกมติ(อาข.) อวกฺกนฺติ(อิตฺ.)  

ก้าวล่วง        อติกฺกมติ(อาข.) อติกฺกมิตฺวา(กิตก์) อติกฺกนฺต(กิตก์) อพฺภตีต(กิตก์)

ก้าวหน้า         ปรกฺกโม(ปุ.)

ก้าไหล่         ขจติ(อาข.)

กาฬสินธุ์        กาฬสินฺธุนครํ

กำ         อาโร(ปุ.)

กำจัด        นีหรติ(อาข.) วิธมิตฺวา(กิตก์) โอชินาติ(อาข.) วิทฺธํเสตฺวา(กิตก์) อภินิวชฺเชติ(อาข.) วิทฺธํสิต(กิตก์) ธํสติ(อาข.) ธํสิต(กิตก์)

กำซาบยาพิษ         วิสปีโต(กิตก์)

กำดอกไม้         ปุปฺผมุฏฺฐิ(อิตฺ.)

กำนัน         คามโภชโก(ปุ.) ขุทฺทกคามโภชโก(ปุ.)

กำเนิดเทวดา        สิทฺโธ(ปุ.) ภูโต(ปุ.) คนฺธพฺโพ(ปุ.) คุยฺหโก(ปุ.) ยกฺโข(ปุ.) รกฺขโส(ปุ.) กุมฺภณฺโฑ(ปุ.) ปิสาโจ(ปุ.)        

กำบัง        ปิธานํ(นปุ.) อปธารณํ(นปุ.) ติโรธานํ(นปุ.) อนฺตรธานํ(นปุ.) อปิธานํ(นปุ.)     อจฺฉาทนํ(นปุ.) ปิทหติ(อาข.) ธาเรติ(อาข.) นิวาเรติ(อาข.) รุนฺธติ(อาข.)   ปฏิจฺฉโท(ปุ.) ฉนฺน(คุณ.) ฉาทิต(คุณ)

กำปั้น         ขฏโก(ปุ.) มุฏฺฐิ(อิตฺ.) หตฺถกํ(นปุ.)

กำแพง         อวหาริกา(อิตฺ.) อุทฺทามํ(นปุ.) ปากาโร(ปุ.) วรโณ(ปุ.)

กำแพงเพชร        วชิราการปุร(นปุ.)

กำมือ        ขฏโก(ปุ.) มุฏฺฐิ(ปุ.)(อิตฺ.) หตฺถกํ(นปุ.)

กำยาน        ตุรุกฺโข(ปุ.) ปิณฺฑโก(ปุ.) ยกฺขธูโป(ปุ.) สชฺชุลโส(ปุ.) สชฺชุรสํ(นปุ.) พากุจี(อิตฺ.) โสมวลฺลิกา(อิตฺ.) เสเลยฺยํ (นปุ.) อสฺมปุปฺผํ(นปุ.)

กำราบศิษย์        ทณฺเฑน นิคฺคณฺหติ(สำนวน)

กำเริบ         สํวฑฺฒมาน(กิตก์) กุปิต(กิตก์)

กำไร        อาโย(ปุ.) ธนาคโม(ปุ.)

กำลัง        พลํ(นปุ.) อานุภาโว(ปุ.) ถาโม(ปุ.) สหํ(นปุ.)  สตฺติ(อิตฺ.) ปรกฺกโม(ปุ.)

กำลังความจำ         ธารณพลํ(นปุ.)

กำลังใจ         จิตฺตพลํ(นปุ.)

กำลังฤทธิ์         อิทฺธิพลํ นปุ.)

กำลังแห่งกรรม         กมฺมเวโค(ปุ.)

กำไลแขน         เกยูรํ(นปุ.)

กำไลมือ        นิยุโร(ปุ.) วลโย(ปุ.)(นปุ.) กฏกํ(นปุ.) ปริหารกํ(นปุ.) องฺคทํ(นปุ.)

กำไลมือและเท้า         องฺคทํ(นปุ.) กงฺกณํ(นปุ.)

กำหนด         องฺกติ(อาข.) องฺเกติ(อาข.) ปริจฺฉินฺทติ(อาข.) ววตฺถาปิยมาน(กิตก์) สลฺลกฺเขติ (อาข.) ปริจฺฉิชฺชมาน(กิตก์) อภิลกฺเขติ(อาข.) ปริจฺฉินฺน(กิตก์) ปริจฺฉินฺทิตพฺพํ (กิตก์) ปริจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์)

กำหนดไม่ได้        อปริจฺฉินฺน(กิตก์) อปริมิต(กิตก์) อปริจฺเฉโท(ปุ.)

กำหนัด         รชฺชติ(อาข.) อนุคิชฺฌติ(อาข.) รชมาน(กิตก์) รตฺต(กิตก์)

กำเหน็จ         การาปณิยํ(นปุ.)

กำแหง        ปสยฺโห(ปุ.) พลกฺกาโร(ปุ.) หโฐ(ปุ.)

กิ๊ก        อุปฺปติ(ปุ.) ชาโร(ปุ.)

กิ่ง        สาขา(อิตฺ.) ลตา(อิตฺ.)

กิ้งก่า         กกณฺฑภโก(ปุ.) สรโฏ(ปุ.) กณฺโฏ(ปุ.) กกณฺฏโก(ปุ.)

กิ้งกือ         กณฺณชลูกา(อิตฺ.)

กิ่งไม้        สาขา(อิตฺ.)        

กิ่งเล็ก         ขุทฺทกสาขา(อิตฺ.)

กิจการ        กิจฺจํ(นปุ.) กมฺมํ(นปุ.) กมฺมนฺโต(ปุ.) กรณียํ(นปุ.)

กิจที่ควรทำอะไรๆ         กึกรณียํ(นปุ.) กิงฺกรณียํ(นปุ.)

กิจที่ไม่ควรทำ         อกรณียํ(นปุ.)

กิจธุระ        กิจฺจ(นปุ.) ธุรํ(นปุ.)

กิตติศัพท์        กิตฺติสทฺโท(ปุ.)

กิน         ภุญฺชติ(อาข.) อทติ(อาข.) ภกฺเขติ(อาข.) ภกฺขิต(กิตก์) ภุตฺต(กิตก์) อสิต(กิตก์)ภุญฺชติ(อาข.) ขาทติ(อาข.) ภุญฺชติ(อาข.) ปิวติ(อาข.) อนุภุญฺชติ(อาข.) อนุภวติ (อาข.)        

กิน(เสวยอารมณ์)        อนุภวติ(อาข.)

กินข้าว        ภุญฺชติ(อาข.) โอทนํ ภุญฺชติ (สำนวน)

กินจุ        โอทริก(คุณ.) โอทริย(คุณ.)

กินเดน         วิฆาสาท(ปุ.)

กินนร         กินฺนโร(ปุ.) กินฺนรี(อิตฺ.) กึปุริโส(ปุ.) กินฺนโร(ปุ.)

กินน้ำ        ปานียํ ปิวติ (สำนวน) ปิวติ(อาข.)

กินเนสบุ๊ค        อคฺคปาฐก(คุณ.)

กินบุญ        อนุภุญฺชติ(อาข.)

กินเปล่า         เอกํเสน ปรทตฺตูปชีวี(ปุ.)

กินผลไม้        ขาทติ(อาข.)

กินมะม่วง        อมฺพํ ขาทติ (สำนวน)

กินมาก        อจฺโจทร(คุณ.)

กินสินบน        อุกฺโกฏนํ(นปุ.)

กินหญ้า         ติณานิ อาลุมฺปติ (สำนวน)

กิริยา        กฺริยา(อิตฺ.) กิริยํ(นปุ.) กมฺมํ(นปุ.) อากปฺโป(ปุ.) กิริยา(อิตฺ.) อากาโร(ปุ.)

กิเลสเครื่องพัวพัน         ปลิพนฺธนกฺกิเลโส(ปุ.)

กิเลสมาร         กิเลสมาโร(ปุ.)

กิเลสวัตถุ         กิเลสวตฺถุ(นปุ.)

กิเลสหนา         ปุถุชฺชนา(ปุ.)

กี่        อาวาปโน(ปุ.) อาวาปนํ(นปุ.)

กีดกัน         อาวรติ(อาข.) โอวฏ(กิตก์) ปฏิเสเธติ(อาข.) ปฏิพาหติ(อาข.) อวรุนฺธติ(อาข.)

กีดขวาง         อวโรธนํ(นปุ.)        

กีบเท้าโค         องฺคุลิ(อิตฺ.)

กีบแพะ         อชปทํ(นปุ.)

กีบม้า         ตุรคขุโร(ปุ.) อสฺสขุโร(ปุ.) ขุโร(ปุ.) สผํ(นปุ.)

กีฬา        กีฬา(อิตฺ.)

กีฬาเด็ก         กุมารกีฬา(อิตฺ.)

กึกก้อง         โฆสนา(อิตฺ.) อพฺภุทิริต(คุณ.)

กึ่ง         อฑฺฒ(คุณ.) อทฺธ(คุณ.) อุปฑฺฒ(คุณ.) ขณฺโฑ(ปุ.)(นปุ.) สกลํ(ปุ.)(นปุ.)

กึ่ง         อฑฺโฒ(คุณ.) อุปฑฺโฒ(คุณ.) ขณฺโฑ(ปุ.)

กึ่งเดือน         อฑฺฒมาโส(ปุ.)

กึ่งเดือนข้างแรม         กณฺหปกฺโข(ปุ.)

กึ่งโยชน์         อฑฺฒโยชนํ(นปุ.)

กุ้ง         อิญฺจาโก(ปุ.)  อายตเนตฺโต(ปุ.) สตวงฺโก(ปุ.)

กุญแจ        กุญฺจิกา(อิตฺ.) ตาโฬ(ปุ.)

กุญแจไม้         กฏฺฐตาโล(ปุ.)

กุฏิ        กุฏี(อิตฺ.) อาวาโส(ปุ.) วสนํ(นปุ.) วิหาโร(ปุ.) กุฏิกา(อิตฺ.)

กุ่ม        วรโณ(ปุ.) กเรริ(ปุ.)

กุมภะ        กุมฺโภ(ปุ.)

กุมภัณฑ์         กุมฺภณฺโฑ(ปุ.) กุมฺภณฺฑี(อิตฺ.)

กุลี        อติวาหโก(ปุ.)

กุศลกรรมบถ         กุสลกมฺมปถ(ปุ.)

กุหลาบ        ชีวสุมนํ(นปุ.)

กู่ร้อง         โกติ(อาข.) กวติ(อาข.)

กู้หนี้         อิณํ อาทิยติ(สำนวน)

เก๋         สุรูป(คุณ.) อภิรูป(คุณ.)

เก้ง         มิโค(ปุ.)

เกฏุภศาสตร์        เกฏภํ(นปุ.)

เกด         อินฺทุ(อิตฺ.) กลิกา(อิตฺ.) เกตุมาลา(อิตฺ.)

เก็บ         ปฏิสาเมติ(อาข.) ปฏิสามยติ(อาข.) โอจินาติ(อาข.) โอจิต(กิตก์) อุปจิต(กิตก์)

เก็บ (ดอกไม้)         จินาติ(อาข.) ปจินาติ(อาข.)

เก็บเกี่ยว         อภิลาโว(ปุ.) ลุนาติ(อาข.)

เก็บขึ้น         จินาติ(อาข.) จินาติ(อาข.) นิกฺขิปิตฺวา(กิตก์)

เก็บงำ         ปฏิสาเมติ(อาข.) ปฏิสมนํ(นปุ.)

เกยตื้น         อุสฺสีทติ(อาข.)

เกรงกลัวต่อบาป         โอตปฺปํ(นปุ.) โอตฺตปฺปํ(นปุ.)

เกรงใจ         อปจายติ(อาข.) สปติสฺสา(อิตฺ.) จิตฺติกต(คุณ.)

เกราะ        สนฺนาโห(ปุ.) กํกโฏ(ปุ.) วมฺมํ(นปุ.) กวโจ(ปุ.)(นปุ.) อุรจฺฉโท(ปุ.) ชาลิกา(อิตฺ.) กฏฺฐตาโฬ(ปุ.)

เกรียมกรอบ         สุกฺขติ(อาข.)

เกรียวกราว         อุคฺโฆเสติ(อาข.)

เกล้า         อุลฺลิขิต(กิตก์)

เกลี่ย        กิรติ(อาข.) อากิรติ(อาข.) โอกิรติ(อาข.) อากิริตฺวา(กิตก์)

เกลี้ยง          มฏฺฐ(กิตก์) สมฏฺฐ(กิตก์)

เกลียดชัง         อติหีเฬติ(อาข.) อภิสํสติ(อาข.) เวรํ(นปุ.) วิโรโธ(ปุ.) วิทฺเทโส(ปุ.) โทโส(ปุ.)  ปฏิฆ(ปุ.)(นปุ.) โกโธ(ปุ.) อาฆาโต(ปุ.) โกโป(ปุ.) โรโส(ปุ.)

เกลียวผ้า         โววฏฺฏิกา(อิตฺ.)

เกลือ ๕ อย่าง        สามุทฺทํ(นปุ.) สินฺธโว(ปุ.)(นปุ.) กาฬโลณํ(นปุ.) อุพฺภิทํ(นปุ.) พิฬาลํ(นปุ.)

เกลือ        ลวณํ(นปุ.) โลณํ(นปุ.)

เกลื้อน         กณฺฑุ(อิตฺ.)

เกลื่อนกล่น         อุปพฺพูฬฺห(คุณ.) อนุวิกฺขิตฺต(คุณ.)

เกลือสีดำ         กาฬโลณํ(นปุ.)

เกวียน        วาโห(ปุ.) สกโฏ(ปุ.)(นปุ.) อนํ(นปุ.)

เกษียรสมุทร        ขีรณฺณโว(ปุ.)

เกสร         เรณุ(นปุ.) กิญฺชกฺโข(ปุ.) กิญฺชกฺขํ(นปุ.)

เกสรบัว        กิญฺชกฺโข(ปุ.) เกสโร(ปุ.)        

เกา         อุปลิกฺขติ(อาข.) กณฺฑุวติ(อาข.) กณฺฑุติ(อิตฺ.) กณฺฑุวนํ(นปุ.)

เก่า        ปุราคม(คุณ.) ปุราตน(คุณ.) สนนฺตน(คุณ.) จิรนฺตน(คุณ.) ปุราณ(คุณ.)

เกาทัณฑ์         อิสฺสาโส(ปุ.) ธนุ(นปุ.) โกทณฺฑํ(นปุ.) จาโป(ปุ.) สราสนํ(นปุ.) อิสุ(ปุ.)(อิตฺ.)

เก้าอี้         เลขนปลฺลงฺกํ(นปุ.)  ปีฐํ(นปุ.) โกจฺฉํ(นปุ.) ภทฺทปีฐํ(นปุ.)

เกาะ        อาพนฺธติ(อาข.)

เกาะ(แผ่นดิน)        อนฺตรีปํ(นปุ.) ทีโป(ปุ.)(นปุ.)

เกาะแน่น         อาลยติ(อาข.)

เกิด         ชายติ(อาข.) วิชายติ(อาข.) อภินิพฺพตฺตติ(อาข.) อุปฺปนฺน(กิตก์) อุปฺปชฺชติ(อาข.) นิพฺพตฺต(กิตก์) นิพฺพตฺตติ(อาข.) อุทปาทิ(อิตฺ.) ชาต(กิตก์)

เกิดขึ้น         อุเทติ(อาข.) อุทยติ(อาข.)

เกิดความสังเวช         สํเวคปฺปตฺตมานส(คุณ.)

เกิดจากไข่        อณฺฑช(คุณ.)

เกิดจากครรภ์        ชลาพุช(คุณ.)

เกิดจากความชั่ว         ทุรช(คุณ.)

เกิดจากไคล        สํเสทช(คุณ.) เสทช(คุณ.)

เกิดทุ่มเถียงกัน         อุชุวิปจฺจนิกวาทา(สำนวน)

เกิดเป็นยักษ์         ยกฺขินี หุตฺวา นิพฺพตฺติ(สำนวน)

เกิดผุดขึ้น        โอปปาติก(คุณ.)

เกิดมาดี         อภิชาต(คุณ.) อภิชายติ(อาข.)

เกิน         อติ(อุป.) อธิ(อุป.) อติเรก(คุณ.)

เกินไป        อจฺจสร(คุณ.)

เกินร้อย        ปโรสต(คุณ.)

เกินวิสัย         อจฺจสร(คุณ.)

เกินเวลา         อติเวล(คุณ.)

เกียจคร้าน         กุสีต(คุณ.) อลส(คุณ.) ตนฺทิต(คุณ.) กุณฺ(คุณ.) อาลสิยํ(นปุ.) กุณฺฐ(คุณ.) กิลาสุ(ปุ.) มนฺโท(ปุ.)

เกียจคร้านเลินเล่อ         กุสีต(คุณ.) หีนวีริย(คุณ.) ปมตฺต(คุณ.)

เกียรติ        ยโส(ปุ.) สิโลโก(ปุ.) กิตฺติ(อิตฺ.)กิตฺตี(อิตฺ.)

เกี่ยว         อวขณฺฑติ(อาข.)

เกี่ยวข้อง         อุปยุญฺชติ(อาข.) อุปจรติ(อาข.) อุปโยโค(ปุ.)

เกี่ยวข้าว         อุทฺธริตฺวา(กิตก์)

เกี่ยวเนื่อง         อาสโท(ปุ.)

เกี่ยวพัน         อุปนิพนฺโธ(ปุ.)

เกือก         อุปาหต(กิตก์)

เกือกไม้         กฏฺฐปาทุกา(อิตฺ.)

เกื้อกูล         หิต(คุณ.) อนุกุล(คุณ.) อนุกูล(คุณ.) อนุกมฺป(ปุ.)

เกื้อกูลกัน         สงฺคณฺหนฺติ(อาข.) อนุคฺคณฺหนฺติ(อาข.)

เกื้อกูลคนตกยาก         ทุกฺขิตานํ อนุกมฺปการี(สำนวน)

เกื้อกูลบิดา         เปตฺเตยฺย(คุณ.)

เกื้อกูลมารดา         มตฺเตยฺย(คุณ.)

เกื้อกูลสมณะ         สามญฺญ(นปุ.)

เกือบเท่า        กปฺโป(คุณ.)

แก่         ชียติ(อาข.) ชีรติ(อาข.) มหลฺลก(คุณ.) วุฑฺฒ(คุณ.) ชิณฺณ(คุณ.) วุฑฺฒ(คุณ.) เถร(คุณ.)  ชิณฺณก(คุณ.)

แก้         มุญฺจติ(อาข.) โมจติ(อาข.) โมจยติ(อาข.) วิสฺสชฺชนํ(นปุ.)

แก่กล้า         ปริปกฺก(คุณ.) นิปฺปกฺก(คุณ.) กฐิต(คุณ.)

แกง        สูโป(ปุ.) พฺยญฺชนํ(นปุ.)

แกงปู         กกฺกฏกรโส(ปุ.)

แกงอ่อม         อุตฺตริภงฺโค(ปุ.)

แก่นจันทน์        จนฺทโน(ปุ.)(นปุ.) คนฺธสาโร(ปุ.) มลยโช(ปุ.)

แก่นไม้หอม         กาฬานุสารี(ปุ.) กาฬิยํ(นปุ.)

แก้ม        คณฺโฑ(ปุ.) กโปโล(ปุ.) คณฺฑี(ปุ.)

แก้มช้าง        คณฺโฑ(ปุ.) กโฏ(ปุ.)

แก่รอบ        ปกฺก(คุณ.) ปริณต(คุณ.)

แกล้ง (มีเจตนา)         อสญฺจิจฺจ(กิตก์)  อสญฺเจตนิก(คุณ.)

แกล้งทำ         สญฺจิจฺจ กรณํ(สำนวน)

แกลบ         กลิงฺคโร(ปุ.) กลิงฺครํ(นปุ.) ถุโส(ปุ.) ภุสํ(นปุ.)

แกล้วกล้า         วิสารท(คุณ.)

แก้ว         รตน(นปุ.) วสุ(นปุ.) ผลิก(ปุ.) กาโจ(ปุ.)

แก้วประพาฬ        ปวาฬํ(นปุ.) วิทฺทุโม(ปุ.) ปวาล(ปุ.)

แก้วผลึก         ผลิก(ปุ.)

แก้วไพฑูรย์        วํสวณฺโณ(ปุ.) เวฬุริยํ(นปุ.)

แก้วมณี        มณิ(ปุ.)

แก้วมุกดา         มุตฺตา(อิตฺ.)

แก้วลาย        มสารคลฺลํ(นปุ.) กพรมณิ(ปุ.)(อิตฺ.)

แก้วเหล้า         อาปานียกํโส(ปุ.)

แก้ออก         อนุคฺฆาเฏติ(อาข.) โอปาเฏติ(อาข.)

แกะ        อุรพฺโภ(ปุ.) เมณฺโฑ(ปุ.) เมโส(ปุ.) อุรโณ(ปุ.) อวิ(ปุ.) เอฬโก(ปุ.) เมณฺฑโก(ปุ.)

โก่ง         โอภคฺค(กิตก์)

โกง        นิกติ(อิตฺ.) ทมฺโภ(ปุ.) สฐฺยํ(นปุ.) เกตวํ(นปุ.) กูฏ(คุณ.) กุฏิล(คุณ.)

โก่งคันธนู         ธนุ อาโรเปสิ (สำนวน) ธนุสฺส ชิยํ โปเถสิ (สำนวน)

โกฐ         กุฏฺฐํ(นปุ.) อชปาลกํ(นปุ.) พฺยาธิ(ปุ.)

โกดัง         ภณฺฑาคาโร(ปุ.)(นปุ.)

โกน         โอหารณํ(นปุ.)

โกนจุก         จูฬากรณํ(นปุ.)

โกนผม         วุจฺฉติ(อาข.) โอหาริตเกส(คุณ.)

โกนหนวด         กปฺปิตมสฺสุ(คุณ.)

โกนออก         โอลิขติ(อาข.)

โกรธ         ปติตฺถีน(คุณ.) กุชฺฌติ(อาข.) กุปฺเปติ(อาข.) กุปิต(กิตก์) กุชฺฌนํ(นปุ.) กุชฺฌนา(อิตฺ.) โกโป(ปุ.) โกธนํ(นปุ.) โกปี(ปุ.) โรสน(นปุ.)

โกรธจัด         อจฺจนฺตโกธน(คุณ.)

โกลาหล        โกลาหโล(ปุ.) กลหโล(ปุ.) กุตูหล(นปุ.) อจฺฉริยา(อิตฺ.)

โกส (๕๐๐ ชั่วธนู)        โกโส(ปุ.)

ใกล้        สมีป(คุณ.) นิกฏ(คุณ.) อาสนฺน(คุณ.) อุปกฏฺฐ(คุณ.) อภฺยาส(คุณ.) อวิทูร(คุณ.) สามนฺต(คุณ.) สนฺนิกฏฺฐ(คุณ.) อุปนฺติก(คุณ.) สกาส(คุณ.) อนฺติก(คุณ.) ญตฺต(คุณ.) อาสนฺน(คุณ.) สามนฺต(คุณ.) สนฺติก(คุณ.)

ใกล้ตาย         มรณาภิภูสิต(สำนวน)

ใกล้บาน        กลิกา(อิตฺ.) โกรโก(ปุ.)(นปุ.)

ใกล้มาก         อจฺจาสนฺน(คุณ.)

ไก่         กุกฺกุโฏ(ปุ.) จรณาวุธ(อิตฺ.) กุกฺกุฏี(อิตฺ.) ตมฺพจูโส(ปุ.)

ไก่เถื่อน         กุกฺกุฏโก(ปุ.)

ไก่ป่า        วนกุกฺกุโฏ(ปุ.) นิชฺชิวฺโห(ปุ.)

ไก่ฟ้า         กิกี(อิตฺ.) กุฬีรโก(ปุ.)

ไกล        ทูร(คุณ.) วิปฺปกฏฺฐก(คุณ.)

ไกล่เกลี่ย         สามคฺคึ กโรติ(สำนวน)

ข- อักษร

ขณะ        ขณ(ปุ.)

ขณะนั้น        ตํขณํ(ทุติยา) ตสฺมึ ขเณ(สตฺตมี) เตน ขเณน(ตติยา)

ขณะนี้        อิทานิ(นิปาต)  อยํ กาโล(ปุ.)

ขน        โลมา(ปุ.) โลมํ(นปุ.) ตนุรุหํ(นปุ.) โรมํ(นปุ.)

ขนชูชัน        โรมญฺโจ(ปุ.) โลมหํสนํ(นปุ.)

ขนดงู        โภโค(ปุ.)

ขนตา        ปมฺหํ(นปุ.) ปขุมํ(นปุ.) อกฺขิคํ(นปุ.)

ขนม        ปูโป(ปุ.) อปูโป(ปุ.) ปูโว(ปุ.)

ขนมเบื้อง        ปูโว(ปุ.)

ขนมผง        สตฺตุ(ปุ.) มนฺโถ(ปุ.)

ขนเม่น        สลฺลลํ(นปุ.) สลํ(นปุ.)

ขนาดเล็กน้อย         ขุทฺทก(คุณ.)

ขนาน         คณฺหาติ(อาข.) กโรติ(อาข.)

ขนุน        ปนโส(ปุ.) กณฺฏกีผโล(ปุ.)

ขนุนสำมะลอ        ลพุโช(ปุ.) ลิกุโจ(ปุ.)

ขบ         อนุฑํสติ(อาข.)

ขบวนทัพ        วินฺยาโส(ปุ.) พฺยูโห(ปุ.)

ขบวนพลเดินเท้า        ปตฺติโก(ปุ.)

ขบวนม้า        อสฺส(ปุ.)

ขบวนรถ        รถ(ปุ.)

ข่ม         วิกฺขมฺเภติ(อาข.) วินิคฺคณฺหนฺโต(กิตก์) อภิภวติ(อาข.) นิคฺคณฺหาติ(อาข.)

ข่มขืน         อภิภวิตฺวา(กิตก์) อภิภวติ(อาข.)

ขมวดผม         ธมฺมิลฺโล(ปุ.)

ข่มเหง         ปสหติ(อาข.) อภิภวติ(อาข.)

ข่มเหง        ปสยฺโห(ปุ.) หโฐ(ปุ.)

ขมิ้น        ทาพฺพี(อิตฺ.) ทารุหฬิทฺทา(อิตฺ.)

ขโมย         เถเนตฺวา(กิตก์) เถโน(ปุ.) โจโร(ปุ.) โจเรติ(อาข.)

ขยะ         สงฺการํ(นปุ.) สงฺการกูฏํ(นปุ.)

ขยัน        มหุสฺสาห(คุณ.) ปสุต(คุณ.) ทกฺข(คุณ.) อนลส(คุณ.)

ขยันขันแข็ง         ทกฺโข โหติ อนลโส(สำนวน)

ขยายความ        วิตฺถาโร(ปุ.) นิทฺทิฏฺฐ(กิตก์)

ขยำ        มทฺทิตฺวา(กิตก์) อภิมทฺทติ(อาข.) โอมทฺทติ(อาข.) อภิมนฺถติ(อาข.) อภิมนฺเถติ (อาข.)

ขย้ำกิน         อภิภกฺขยติ(อาข.)

ขยี้         วิทฺธํเสตฺวา(กิตก์)

ขรัวตา         มหลฺลก(คุณ.)

ขลุบ         คุฬํ(นปุ.)

ขวด        มณิกํ(นปุ.) ภาณโก(ปุ.) อรญฺชโร(ปุ.) กาจตุมฺโพ(ปุ.) วารโก(ปุ.)

ข่วน         อุปลิกฺขติ(อาข.) กณฺฑุวติ(อาข.)

ขวนขวาย        อุสฺสุกฺก(นปุ.) เวยฺยาวจฺจ(นปุ.) อุสฺสุก(คุณ.) เวยฺยาวจฺจ(คุณ.) อุสฺสุกฺก(คุณ.) เวยฺยาวจฺจกร(คุณ.) เวยฺยาวฏิก(คุณ.) อายูหนํ(นปุ.)

ขวนขวายน้อย         อปฺโปสฺสุกฺก(คุณ.)

ขวัญ         มงฺคล(นปุ.)  สิริ(อิตฺ.)

ขวากหนาม        กณฺฏก(ปุ.)

ขวาง        ติริยํ(คุณ.)

ขว้างทิ้ง          ฉฑฺเฑติ(อาข.) ฉฑฺฑยติ(อาข.)

ขวาน        กุฐาริ(อิตฺ.)(นปุ.) ผรสุ(ปุ.)

ขอ         ยาจติ(อาข.) ภิกฺขติ(อาข.) วาเรติ(อาข.) วิญฺญาเปติ(อาข.) อายาจติ(อาข.)        

ขอความร่วมมือ         สมาทเปตฺวา(กิตก์)

ข้อง         ปลุทฺโธ(กิตก์) ลคฺโค(ปุ.) อาสชฺชติ(อาข.) อุปสคฺโค(ปุ.)

ของกิน        ภุญฺชนํ(นปุ.) โภคฺคํ(นปุ.) โภโค(ปุ.) ปริโภโค(ปุ.) โภชนํ(นปุ.) ภกฺโข(ปุ.) ภกฺขา (อิตฺ.) ภกฺขํ(นปุ.) ภกฺขณํ(นปุ.) ภกฺขนํ(นปุ.)

ของขาย        วิกฺเกยฺยํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ปณิยํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ของชำร่วย        อคฺโฆ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อคฺฆิยํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ของเดน        อุจฺฉิฏฺฐ(คุณ.) ฉฑฺฑิตํ(กิตก์)

ของเดิมพัน        ปโณ(ปุ.) อพฺภุโต(ปุ.)

ของตน        สกํ(นิปาต) สยํ(นิปาต) อตฺตโน(ปุ.)

ของต้อนรับแขก        อคฺโฆ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อคฺฆิโย(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ของถูกอกถูกใจ         มนสานุเปกฺขิต(คุณ.)

ของหวาน         ขชฺชกํ(นปุ.) กรหาโฏ(ปุ.)

ของหอม        อิฏฐคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุรภิ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) สุคนฺธิ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ของเหม็น        ปูติคนฺธิ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ทุคฺคนฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ของให้ทาน        ทานํ(นปุ.) เทยฺยํ(นปุ.) เทยฺยธมฺโม(ปุ.)

ขอช้าง        องฺกุโส(ปุ.)

ขอได้รับขอบคุณ         ปีติปาโมชฺชสฺส ภาคี โหติ (สำนวน)

ข้อตกลง         กติวตฺตํ(นปุ.)

ข้อตีน        โคปฺผโก(ปุ.) ปาทคณฺฐี(อิตฺ.)

ขอทาน        ภิกฺขา(อิตฺ.) ยาจนา(อิตฺ.) อตฺถนา(อิตฺ.) วิญฺญตฺติ(อิตฺ.)

ข้อเท้า         โคปฺผโก(ปุ.) ปาทคณฺฐี(อิตฺ.)

ขอโทษ         ขมาเปติ(อาข.)

ขอนไม้         ทณฺโฑ(ปุ.)

ขอนอบน้อม        นมตฺถุ(สำนวน) นมสฺสกาโร(ปุ.)

ขอบเขต        เกทาร(นปุ.) เขตฺตํ(นปุ.) สีมา(อิตฺ.)

ขอบคุณ        อนุโมทามิ(อาข.)

ขอบสระ         โสณฺฑิตีเร(นปุ.)

ข้อปฏิบัติ        ธมฺมานุธมฺมปฏิปทา(อิตฺ.)

ข้อปฏิบัติตามขนบ        อาภิสมาจาริกํ(นปุ.)

ข้อเปรียบเทียบ        อุปมา(อิตฺ.) โอปมฺมํ(นปุ.) โอปมฺมปฏิปาทนํ(นปุ.)

ข้อพิพาท        วิวาโท(ปุ.)

ข้อมือ         มณิพนฺโธ(ปุ.)

ข้อยกเว้น         อญฺญตฺร(นิปาต) วินา(นิปาต) ฐเปตฺวา(กิตก์)

ขอร้อง        ยาจติ(อาข.) อายาจิ(อาข.) วิญฺาเปติ(อาข.) ภิกฺขติ(อาข.) วาเรติ(อาข.)

ข้อวัตรปฏิบัติ        วตฺตปฺปฏิวตฺตํ(นปุ.) ปฏิปตฺติ(อิตฺ.) วตฺตํ(นปุ.)

ข้อศอก        กปฺปโร(ปุ.) กโปณิ(ปุ.) กโผณิ(ปุ.)

ขอให้อายุยืน         วสฺสสตายุโก โหตุ(สำนวน) วสฺสสตชีวี โหตุ(สำนวน)

ขังไว้         ติฏฺฐติ(อาข.) สณฺฐาติ(อาข.) พนฺธติ(อาข.) ฐเปติ(อาข.)

ขัดกัน         ตพฺพิปรีต(คุณ.)

ขัดเกลา         สลฺเลข(ปุ.)

ขัดขืน         ปฏิพาหติ(อาข.) นิเสเธติ(อาข.) ปฏิขิปติ(อาข.)

ขัดแข็ง         สนฺถมฺภิตฺวา(กิตก์) สนฺถมฺภติ(อาข.)

ขัดแย้งกัน        สงฺกุลํ(คุณ.) กิลิฏฺฐํ(คุณ.)

ขัดสี         ฆํสิตฺวา(กิตก์) อุพฺพฏฺเฏตฺวา(กิตก์) อุพฺพฏฺฏิต(กิตก์) ฆํสิต(กิตก์) ฆํสติ(อาข.)      อุพฺพตฺเตติ(อาข.) อพฺพฏฺฏนํ(นปุ.) อุมฺมชฺชนํ(นปุ.)

ขัน         กโฬปี(อิตฺ.) สรโก(ปุ.)(นปุ.) จสโก(ปุ.)        

ขั้นตอน        วิธิ(ปุ.) วิธานํ(นปุ.) อนุกฺกโม(ปุ.)

ขันติ        ขนฺติ(อิตฺ.) ตีติกฺขา(อิตฺ.) อธิวาสนํ(นปุ.)

ขันที        นปุสโก(ปุ.)

ขันธ์ ๕        ปญฺจกฺขนฺธา(ปุ.)

ขันธกุมาร        กุมาโร(ปุ.) ขนฺโธ(ปุ.) สตฺติธโร(ปุ.)

ขับไป         ปาเชนฺต(กิตก์) ปาเชติ(อาข.)

ขับร้อง        คีตํ(นปุ.) คานํ(นปุ.) คีติกา(อิตฺ.) คายนํ(นปุ.)

ขับไล่         ปณามิต(กิตก์) อวรุทฺธ(กิตก์) อภิวิหจฺจ(กิตก์) ปพฺพาเชติ(อาข.) ปณามติ(อาข.)

ขั้ว        วณฺฏํ(นปุ.)         

ข่า        กฏุกา(อิตฺ.) กฏุกโรหิณี(อิตฺ.)

ข้าง        ปสฺสํ(นปุ.)

ข้างขวา        ปทกฺขิณํ(นปุ.) ทกฺขิณโต(อพฺยย.)

ข้างขึ้น         ชุณฺหปกฺโข(ปุ.) สุกฺกปกฺข(ปุ.) สกฺโก(ปุ.)

ข้างซ้าย        วามโต(อพฺย.)

ข้างนอก        พหิ(นิปาต) พหิธา(อพฺย.)

ข้างบน        อุทฺธํ(นิปาต) อุปริ(นิปาต)

ข้างแรม         กาฬปกฺข(คุณ.) กาฬ(คุณ.)

ข้างล่าง        อโธ(นิปาต) เหฏฺฐา(นิปาต)

ข้างหน้า        ปุพฺพ(นิปาต)

ข้างหลัง        ปจฺฉา(นิปาต) ปิฏฺฐิโต(อพย.)

ขาด        กนฺติต(คุณ.) สญฺฉินฺน(กิตก์) ลูน(คุณ.) ทาต(คุณ.) ภิชฺชติ(อาข.) ภินฺน(กิตก์)

ขาดแคลน         เวกลฺลมาปนฺโน(สำนวน) เวกลฺลํ(นปุ.)

ขาดแคลนอาหาร         ทุพฺภิกฺขภยํ(นปุ.) ทุพฺภิกฺข(คุณ.)

ขาดเชาว์         ชวจฺฉินฺโน(คุณ.)

ขาเตียง        มญฺจาธาโร(ปุ.) ปฏิปาโท(ปุ.)

ข้าเฝ้า        อนุชีวี(ปุ.) เสวโก(ปุ.)

ข้าพเจ้า        อมฺห(ปุ.)(อิตฺ.)

ข้าพเจ้ามีความเชื่อว่า         มยฺหมฺปเนตฺถาภินิเวสธมฺโม(สำนวน)                

ข้าม         ติณฺณ(กิตก์) อุตฺติณฺณ(กิตก์) วิติณฺณ(กิตก์) ตริตฺวา(กิตก์) ตรติ(อาข.)

ข้ามลง        อวตรณํ(นปุ.) โอตรณํ(นปุ.)

ขาย         วิกฺกีณาติ(อาข.) มูเลน เทติ(สำนวน)

ข่าย        ชาลํ(นปุ.)

ข่ายญาณ        ญาณชาลํ(นปุ.)

ข่ายดักปลา        ชาลํ(นปุ.)

ข่ายพระบารมี         เวเนยฺยพนฺธุ(ปุ.)

ข้าราชการ         ราชภโฏ(ปุ.) ราชปุริโส(ปุ.)

ขารี        ขาริ(อิตฺ.)

ข่าว         สาโร(ปุ.) สาสนํ(นปุ.) ปวตฺติ(อิตฺ.)

ข้าว         อนฺนํ(นปุ.)

ขาว        สุกฺก(คุณ.) โคร(คุณ.) สิต(คุณ.) โอทาต(คุณ.) ธวล(คุณ.) เสต(คุณ.) ปณฺฑร(คุณ.)

ข้าวกล้า        กิฏฺฐํ(นปุ.) สสฺสํ(นปุ.)

ข้าวกวนใส่นมวัว        มธุปายาโส(ปุ.)

ข่าวคราว        สนฺเทโสตฺติ(อิตฺ.) วาจิกํ(นปุ.) ปวตฺติ(อิตฺ.)

ข้าวแดง        ฏิลํ(นปุ.)

ข้าวต้ม        ตรลํ(นปุ.) ตรณํ(นปุ.) ยาคุ(อิตฺ.)

ข้าวตอก        ลาโช(ปุ.) อกฺขตํ(ปุ.) ลาชา(อิตฺ.)

ข้าวตอกข้าวเหนียว         ธานา(อิตฺ.)

ข้าวตัง        นิสฺสาโว(ปุ.) อาจาโม(ปุ.)

ข้าวตายฝอย        เสตฏฺฐิกา(อิตฺ.) สสฺสโรโค(ปุ.)

ข้าวปลาอาหาร        อาหาโร(ปุ.)

ข้าวปายาส        ปรมนฺนํ(นปุ.) ปายาโส(ปุ.)        

ข้าวเปลือก        วีหิ(ปุ.) ถมฺภกรี(ปุ.) ธญฺญํ(นปุ.)

ข้าวฟ่าง        กงฺคุ(อิตฺ.) ปิยงฺคุ(อิตฺ.) โจรกํ(นปุ.)

ข้าวยาคู        ยาคุ(อิตฺ.)

ข้าวลีบ        ภุสํ(นปุ.) กลิงฺคโล(ปุ.)

ข้าวสวย        โอทโน(ปุ.)(นปุ.) กุรํ(นปุ.) ภตฺตํ(นปุ.)

ข้าวสาร        ตณฺฑุล(ปุ.)(นปุ.)

ข้าวสาลี        สาลิ(ปุ.)

ข้าวสุก        โอทโน(ปุ.)(นปุ.) กุรํ(นปุ.) ภตฺตํ(นปุ.)

ข้าวเหนียว        ยโว(ปุ.)

ข้าวเหนียวสุก        ยโวทโน(ปุ.)

ขาวเหลือง (ซีด)        ปณฺฑุ(ปุ.)

ข้าศึก         อริ(ปุ.) อมิตฺโต(ปุ.) ปจฺจามิตฺโต(ปุ.) ริปุ(ปุ.) สตฺตุ(ปุ.)

ขาอ่อน        อูรุ(ปุ.) สตฺถิ(ปุ.)

ขิง        สิงฺคี(อิตฺ.) อุสโภ(ปุ.)

ขิงสด        สิงฺคิเวรํ(นปุ.) อทฺทกํ(นปุ.)

ขิงแห้ง        มโหสธํ(นปุ.)

ขี้ขลาด        ภีสีโล(คุณ.) ภีรุก(คุณ.)

ขี้เซา          นิทฺทาสิลี(ปุ.) นิทฺทาลุ(ปุ.) นิทฺทาสุ(ปุ.)

ขีด         อุปลิกฺขติ(อาข.) กณฺฑุวติ(อาข.)

ขี้ผึ้ง        มธุจฺฉิฏฺฐํ(นปุ.) สิตฺถกํ(นปุ.)

ขี้แพะ         ลณฺฑิกา(อิตฺ.) ลณฺฑํ(นปุ.)

ขี้ริ้ว         ปิโลติก(นปุ.)

ขี้เรื้อน         กุฏฺฐิ(ปุ.)

ขี้วัว        โคมีฬฺโห(ปุ.) โคมโย(ปุ.)

ขี้สัตว์        ฉกนํ(นปุ.) ลณฺฑํ(นปุ.)

ขึงหูก         ตนฺตํ ปสาเรติ(สำนวน)

ขึ้น        อารูหติ(อาข.) อภิรูหติ(อาข.) อุตฺตรติ(อาข.) อุคฺคจฺฉติ(อาข.) อุตฺตริตฺวา(กิตก์) อารุยฺห(กิตก์)

ขึ้นขี่         อภิรูหติ(อาข.) อารูหติ(อาข.) อารุยฺห(กิตก์)

ขึ้นจากน้ำสู่บก        อุตฺตริตฺวา(กิตก์)        

ขึ้นไป         อุคฺคจฺฉติ(อาข.) อุยฺยาติ(อาข.) อุคฺคต(กิตก์) อารุฬฺห(กิตก์)

ขื่อ        ตุลา(อิตฺ.)

ขุด        ขต(กิตก์) ขาต(กิตก์) ขนติ(อาข.) ขณติ(อาข.)

ขุ่น        อนจฺฉ(คุณ.) กลุส(คุณ.) อวิล(คุณ.)

ขุ่นเคือง         กุชฺฌติ(อาข.) กุปฺเปติ(อาข.) กุปิต(กิตก์) กุชฺฌนํ(นปุ.) กุชฺฌนา(อิตฺ.) โกโป(ปุ.) โกธนํ(นปุ.) โกปี(ปุ.) โรสน(นปุ.)

ขุมทรัพย์         นิธิ(ปุ.)

ขุย         จุณฺณํ(นปุ.)

ขู่         ตชฺเชสฺสติ(อาข.) ขุเสนฺต(กิตก์)  วมฺเภนฺต(กิตก์)

ขูดออก         โอลิขติ(อาข.)

ขู่ตะคอก         ขุเสนฺต(กิตก์) วมฺเภนฺต(กิตก์)

เข็ญใจ         ทลิทฺท(คุณ.) ทุคฺคต(คุณ.) นิทฺธน(คุณ.) อกิญฺจน(คุณ.)

เขตแดน        สีมา(อิตฺ.) มริยาทา(อิตฺ.)

เข็ม         สูจิ(อิตฺ.)

เข้มข้น         ติขิณ(คุณ.)

เขมร         กมฺโพช(ปุ.) กมฺพุช(ปุ.)

เขย         ชามาตุ(ปุ.)

เขย่า         จาเลติ(อาข.)

เขลา        พาล(คุณ.) มนฺท(คุณ.) อวิญฺญู(คุณ.) ชฬ(คุณ.) พาลิส(คุณ.) โมเหนาภิภูต (สำนวน) ทนฺธ(คุณ.)

เข่า         ชนฺนุโก(ปุ.) ชณฺณุโก(ปุ.) อูรุ(ปุ.) ปพฺพํ(ปุ.) ชาณุ(ปุ.) ชานุ(ปุ.) ชณฺณุ(ปุ.)(นปุ.)

เข้าใกล้        อุปาคมิ(อาข.) อุปสงฺกมิ(อาข.)

เข้าใจกันง่าย         สุขาวโพโธ(ปุ.) ขิปฺปาภิญฺญา(อิตฺ.)(คุณ.)

เข้าใจในเหตุผล         ธมฺมญฺญุตา(อิตฺ.) อตฺถญฺญุตา(อิตฺ.)

เข้าใจบทและอรรถ         ปทตฺถกฺกโม(ปุ.)

เข้าใจผิด         โมเหนาภิภูต(สำนวน) โหติ มิจฺฉาทิฏฐิสมาทาน(สำนวน)

เข้าฌาน        สมาปชฺชติ(อาข.)

เข้าถึง         อุปปชฺชติ(อาข.) อุเปมิ(อาข.)

เข้าไป        ปาวิสิ(อาข.) ปวิสติ(อาข.) ปวิสิตฺวา(กิตก์)                

เข้าไปปิดไว้         อุปรุนฺธติ(อาข.)

เข้าพรรษา         วสฺสํ วสิตฺวา(สำนวน) วสฺสํ อุปคโต(สำนวน) วสฺสูปคโต(สำนวน)

เข้าร่วม         สโมธานํ(นปุ.)

เขาสัตตปริภัณฑ์        ยุคนฺธโร(ปุ.) อีสธโร(ปุ.) กรวีโก(ปุ.) สุทสฺสโน(ปุ.) เนมินฺธโร(ปุ.) วินโก(ปุ.)   อสฺสกณฺโณ(ปุ.)

เขาสัตว์        วิสาณํ(นปุ.) สิงฺคํ(นปุ.)

เข้าสิงของผี        ปริคฺคณฺหาติ(อาข.) ปริคฺคหิต(กิตก์)

เขาสุเมรุ        สิเนรุ(ปุ.) เมรุ(ปุ.) ติทวาธาโร(ปุ.) เนรุ(ปุ.) สุเมรุ(ปุ.)

เข้าสู่ครรภ์         คพฺภุปาคมิ (สำนวน)

เขิน         ลชฺชา(อิตฺ.) มงฺกุ(คุณ.)

เขียง        สูนา(อิตฺ.) อธิโกฏฺฏนํ(นปุ.) เปฬา(อิตฺ.)

เขียงเท้า        ปาทุกา(อิตฺ.)

เขียนหนังสือ         ปณฺณํ ลิขติ(สำนวน)

เขี้ยว        ทาฐา(อิตฺ.)

เขียวคล้ำ        นีล(คุณ.) กณฺห(คุณ.) อสิต(คุณ.) กาฬ(คุณ.) เมจก(คุณ.) สาม(คุณ.) สามล(คุณ.)

เขี้ยวงู        อาสี(อิตฺ.) สปฺปทาฐา(อิตฺ.)

เขียวใบไม้        ปลาโส(ปุ.) หริโต(ปุ.) หริ(ปุ.)

แขก        อติถิ(ปุ.) อาคนฺตุโก(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ปาหุโน(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อาเวสิกา(ปุ.) (อิตฺ.)(นปุ.) ปาหุนโก(ปุ.)

แข็ง         กกฺขฬ(คุณ.) ติขิณ(คุณ.) ติณฺห(คุณ.) ติพฺพ(คุณ.) ถทฺธ(คุณ.) ขร(คุณ.) กุกูร(คุณ.) กฐิน (คุณ.) ทฬฺห(คุณ.) นิฏฺฐุร(คุณ.)

แข่งขันกัน         ยุคฺคาหคหณํ(นปุ.)

แขน        พาหุ(ปุ.)(อิตฺ.) ภุโช(ปุ.)(อิตฺ.) พาหา(อิตฺ.)

แขวน         โอลมฺพนํ(นปุ.) ลคฺคิตฺวา(กิตก์)

โขลง        ยูถ(ปุ.)

ไข้         คิลาน(นปุ.)  อาตุร(นปุ.) พฺยาธิต(นปุ.)

ไข่         อณฺฑํ(นปุ.) โกโส(ปุ.)

ไข่ไก่         กุกฺกุฏณฺฑํ(นปุ.)

ไขข้อ          ลสิกา(อิตฺ.)          

ไขความ         นิทฺทิสติ(อาข.)

ไขน้ำ          เนติ(อาข.) นยติ(อาข.) อุทกํ หรติ (สำนวน)

ไข่มุก        มุตฺตา(อิตฺ.) มุตฺติกํ(นปุ.)

ไข่แมลงวัน        อาสาฏิกา(อิตฺ.)

ไข้หวัด         ปินาโส(ปุ.) นาสิกโรโค(ปุ.)

ไข้หวัดใหญ่         เสมฺหโรโค(ปุ.)

ค-อักษร

คงที่        กูฏฏฺฐ(คุณ.)

คณะ        สมูโห(ปุ.) คโณ(ปุ.) สํฆาโต(ปุ.) สมุทาโย(ปุ.) สญฺจโย(ปุ.) สนฺโทโห(ปุ.) นิวโห(ปุ.) โอโฆ(ปุ.) วิสโร(ปุ.) นิกโร(ปุ.) จโย(ปุ.) กาโย(ปุ.) ขนฺโธ(ปุ.) สมุทโย(ปุ.) ฆฏา(อิตฺ.) สมิติ(อิตฺ.) สํหติ(อิตฺ.) ราสิ(ปุ.) ปุญฺโช(ปุ.) สมวาโย(ปุ.) ปูโค(ปุ.) ชาตํ(นปุ.) กทมฺพกํ(นปุ.) พฺยูโห(ปุ.) วิตานํ(นปุ.) คุมฺโพ(ปุ.) กลาโป(ปุ.) ชาลํ(นปุ.) มณฺฑลํ(นปุ.)

คณะกรรมการ          สกมฺมการี(คุณ.) กมฺมการคณ(ปุ.)

คณาจารย์         ปาโมกฺโข(ปุ.) อาจริยคณ(ปุ.) คณาจริย(ปุ.)

คณิตศาสตร์         คณิตสตฺถํ(นปุ.)        

คด         โอภคฺค(กิตก์) อฬาร(คุณ.) เวลฺลิต(คุณ.) วงฺก(คุณ.) กุฏิล(คุณ.) ชิมฺห(คุณ.)  กุญฺจิต(คุณ.)

คดโกง          กุฏิลตา(อิตฺ.) กุฏิลภาโว(ปุ.) กูฏ(คุณ.) กุฏิล(คุณ.)

คดข้าว         ภตฺตํ อุทฺธริตฺวา(สำนวน) ภตฺตํ วฑฺเฒตฺวา(สำนวน)

คดอาหาร         อาหารํ วฑฺฒยึสุ(สำนวน)

คดี        อฏฺฏ(นปุ.)

คดีโกง        กูฏฏฺฏ(นปุ.)

คดีฟ้องร้อง        โวหาโร(ปุ.) วิวาโท(ปุ.)

คติทางโลก          โลกโวหาโร(ปุ.)

คน(กริยา)        ขชติ(อาข.)

คนกระจอก        ขญฺโช(ปุ.) โขณฺโฑ(ปุ.)

คนกินเดน        วิฆาสาโท(ปุ.) ทมโก(ปุ.)

คนกิเลสหนา         อุสฺสนฺนกฺกิเลส(คุณ.)  ปุถุชฺชน(ปุ.)

คนโกง        นิกต(คุณ.) สฐ(คุณ.) อนุชุ(คุณ.)

คนขยัน        นิกฺโกสชฺช(ปุ.)(คุณ.) อกิลาสุ(ปุ.)(คุณ.)

คนขอทาน        ยาจนก(คุณ.) อตฺถี(คุณ.) ยาจก(คุณ.) วนิพฺพก(คุณ.)

คนขับรถ         สารถี(ปุ.) รถาจารี(ปุ.) ปาชตุ(ปุ.) สูโต(ปุ.)

คนขับเรือ        กณฺณธาโร(ปุ.) นาวิโก(ปุ.)

คนขาย        วิกฺกยิโก(ปุ.) วิกฺเกตา(ปุ.)

คนขายขนม        ปูวิโย(ปุ.) ปูปิโย(ปุ.) ปูวปณิโย(ปุ.) ปูปปณิโย(ปุ.)

คนขายเหล้า        โสณฺฑิโก(ปุ.) มชฺชวิกฺกยี(ปุ.)

คนขายอาหาร         อาหารวิกฺกยิโก(คุณ.)

คนขี้เมา        โสณฺโฑ(คุณ.) มตฺโต(คุณ.)

คนเข็ญใจ        ทลิทฺท(คุณ.)                                        

คนไขน้ำ         เนตฺติก(คุณ.) อุทกาหรก(คุณ.) ฆราวาสิก(คุณ.)

คนครองเรือน        คหฏฺโฐ(ปุ.) คหตฺโถ(ปุ.) อคาริโก(ปุ.) คิหี(ปุ.)

คนควรฆ่า        วชฺโฌ(คุณ.)

ค้นคว้า         ปวิจโย(ปุ.)  วิจินนฺต(กิตก์) วิจินาติ(อาข.)

ค้นคว้าธรรม         ธมฺมวิจโย(ปุ.)

คนค่อม        ขุชฺโช(ปุ.) คณฺฑุโล(ปุ.)

คนค้าขายด้วยเรือ        สํยตฺติโก(ปุ.)

คนง่อย        กุณี(ปุ.)

คนงานวัด         อารามิโก(ปุ.)

คนจน         กปณมนุสฺโส(ปุ.) อกิญฺจน(คุณ.) ทลิทฺท(คุณ.) ทีน(คุณ.) นิทฺธน(คุณ.) ทุคฺคต(คุณ.)

คนเจ็บ        คิลาโน(ปุ.) พฺยาธิโต(ปุ.)

คนใจกว้าง         อุฬารจิตฺต(คุณ.)

คนชำนาญป่า         วนจรโก(ปุ.)

คนใช้         ปริจาริโก(ปุ.) เจฏโก(ปุ.) จูฬุปฏฺฐาโก(ปุ.) ปาทมูลิโก(ปุ.) เปสฺโส(ปุ.) ทาโส(ปุ.)

คนใช้ฝ่ายใน        กญฺจุกี(ปุ.) โสวิทลฺโล(ปุ.)

คนซื้อ        กยิโก(ปุ.) กายิโก(ปุ.)

คนดักข่าย        วาคุริโก(ปุ.) ชาลิโก(ปุ.)

คนดี         สปฺปุริโส(ปุ.) สุโปริโส(ปุ.) กลฺยาณชโน(ปุ.) กลฺยาณชฺฌาสยภูต(คุณ.)

คนดีดพิณ        วีณาวาที(ปุ.) เวณิโก(ปุ.)

คนดูการ        อชฺฌกฺโข(ปุ.) อธิกโต(ปุ.)

คนเดินทาง        ปถาวี(ปุ.) ปถิโก(ปุ.) อทฺธคู(ปุ.)

คนตกยาก        กปณมนุสฺโส(ปุ.) อกิญฺจน(คุณ.) ทลิทฺท(คุณ.) ทีน(คุณ.) นิทฺธน(คุณ.) ทุคฺคต(คุณ.)                                         

คนตบมือ        ปาณิวาโท(ปุ.) ปาณิโฆ(ปุ.)

คนตระหนี่        ขุทฺท(คุณ.) กทริย(คุณ.) ถทฺธมจฺฉรี(คุณ.) กปณ(คุณ.)

คนตะกละ        เอฬมูค(คุณ.)

คนตาบอด        อนฺธจกฺขุ(คุณ.) จกฺขุทุพฺพล(คุณ.)

คนตาบอดข้างหนึ่ง        กาณ(คุณ.)

คนตาบอดสองข้าง        อนฺธ(ปุ.)(คุณ.)

คนตาย        เปโต(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ปเรโต(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) มโต(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

คนตาเหล่        วลิโร(ปุ.) เกกโร(ปุ.)

คนเตี้ย        วามโน(ปุ.) ลกุณฺฏโก(ปุ.)

คนถิ่นทุรกันดาร         กนฺตรทีปวาสี(ปุ.)(คุณ.)

คนไถนา        กสโก(ปุ.)

คนทำดี         สุจิกมฺมการี(คุณ.)

คนทำผิดโดยไม่เจตนา        จปล(คุณ.)

คนทำมาหากิน         กสิกมฺมาทิการี(คุณ.)

คนทิสอ        อคฺคิมนฺโถ(ปุ.) กณิกา(อิตฺ.)

คนที่จะต้องตาย         มจฺโจ(ปุ.)

คนที่จะต้องตาย         มจฺโจ(ปุ.)

คนที่พึ่งคนอื่นเสมอ         ปฏิพทฺธชีวี(คุณ.)

คนเทดอกไม้        ปุกฺกุโส(ปุ.) ปุปฺผฉฑฺฑโก(ปุ.)

คนโทน้ำ        กมณฺฑลุ(ปุ.)(นปุ.) กุณฺฑิกา(อิตฺ.)

คนไทย         ทยฺยวาสี(คุณ.) เทยฺยวาสี(คุณ.) ทยฺยา(ปุ.)

คนนอกศาสนา         ปาสณฺฑิโก(ปุ.) ปาสณฺโฑ(ปุ.)

คนบ้า        อุมฺมาโท(ปุ.) อุมฺมตฺต(คุณ.) อุมฺมตฺตก(คุณ.)

คนบ้านนอก         ชนปทวาสี(คุณ.) ชานปท(คุณ.)

คนแบกหาม         อติวาหโก(ปุ.)

คนใบ้        มูโค(ปุ.) สุญฺญวจ(คุณ.)

คนปกครอง         ปสาสนการี(คุณ.)

คนปลอมบวช         เถยฺยสํวาสโก(ปุ.)

คนปากกล้า        มุขร(คุณ.) ทุมฺมุข(คุณ.) อพทฺธมุข(คุณ.)

คนเปลี้ย        ปงฺคุโล(ปุ.) ปีฐสปฺปิ(ปุ.) ปงฺคุ(ปุ.) ฉินฺนิริยาปโถ(ปุ.) ปกฺโข(ปุ.)

คนเปลือย        นคฺค(คุณ.) ทิคมฺพร(คุณ.) อวตฺถ(คุณ.)

คนเป่าปี่        เวณุธโม(ปุ.) เวณวิโก(ปุ.)

คนฝึกทั้งช้างม้า        คามณีโย(ปุ.)

คนเฝ้าประตู         โทวาริโก(ปุ.) ปฏิหาโร(ปุ.) ทฺวารฏฺโฐ(ปุ.) ทฺวารปาลโก(ปุ.)

คนพาล        พาโล(ปุ.)

คนพูด        วตฺตา(คุณ.) วท(คุณ.)

คนพูดมาก        ภสฺสร(คุณ.) ภาสุร(คุณ.) กถาพหุล(ปุ.)

คนพูดเหลวไหล        วาจาล(คุณ.)

คนฟ้อนรำ        นฏฺฏโก(ปุ.) นฏโก(ปุ.) นโฏ(ปุ.) นฏฺฏโฏ(ปุ.) นฏโฏ(ปุ.)

คนมคธ        มาคโธ(ปุ.)

คนมีชาติเจือกัน        สํกิณฺโณ(ปุ.)

คนมีตระกูล        กุลีโน(ปุ.) สชฺชโน(ปุ.) สาธุ(ปุ.) สภฺโย(ปุ.) อยฺโย(ปุ.)อาฒฺโย(ปุ.) มหากุสโล(ปุ.)

คนมีศิลป์ชาติเสมอกัน        เสณิ(ปุ.)(อิตฺ.)

คนมีศิลปะ        การุ(ปุ.) สิปฺปิโก(ปุ.)

คนไม่อาศัยตนเอง         ปรทตฺตชีวี(คุณ.)

คนยกของหนัก         ภารวาโห(ปุ.) ภาริโก(ปุ.)

คนยากจน        นิทฺธน(คุณ.) กปณมนุสฺโส(ปุ.) อกิญฺจน(คุณ.) ทลิทฺท(คุณ.) ทีน(คุณ.) นิทฺธน(คุณ.) ทุคฺคต(คุณ.)

คนยิ่งใหญ่         นรุตฺตม(คุณ.)

คนรับใช้         ปริจาริโก(ปุ.) เจฏโก(ปุ.) จูฬุปฏฺฐาโก(ปุ.) ปาทมูลิโก(ปุ.) เปสฺโส(ปุ.) ทาโส(ปุ.)

คนร้าย        อาตตายี(คุณ.) วธุทฺยต(คุณ.)

คนล่อลวง        ธุตฺต(คุณ.) วญฺจก(คุณ.)

คนละเอียดละออ         นิปุณ(คุณ.)

คนเล่นกล        มายากาโร(ปุ.) อินฺทชาลิโก(ปุ.)

คนเลว        นีจ(คุณ.) ชมฺโม(ปุ.) ชมฺมี(อิตฺ.) นิหีนก(คุณ.)

คนเลี้ยงโค         โคโป(ปุ.) โคปาลโก(ปุ.) โคปาลิกา(อิตฺ.)โคปาโล(ปุ.) โคโป(ปุ.) โคสํขฺโย(ปุ.)

คนเลี้ยงช้าง         หตฺถิปาโล(ปุ.) หตฺถิปาลินี(อิตฺ.)

คนเลี้ยงม้า        อสฺสภณฺโฑ(ปุ) อสฺสโคปโก(ปุ) อสฺสปาโล(ปุ)

คนสบาย        กลฺโล(ปุ.) นิรามโย(ปุ.)

คนสยาม         สฺยามรฏฺฐิกา(ปุ.)

คนส่อเสียด        สูจก(คุณ.) ปิสุณ(คุณ.) กณฺเณชป(คุณ.)

คนสันหลังยาว        นิทฺทาลุ(คุณ.) นิทฺทาสีล(คุณ.)

คนสุขมาลชาติ        สุกุมาโร(ปุ.) สุกุมาริกา(อิตฺ.) สุเขธิต(คุณ.)

คนหนวก        พธิโร(ปุ.) สุติหีโน(ปุ.)

คนหนังเหี่ยว        วลิตฺตจ(คุณ.) วลิน(คุณ.)

คนหนุ่มสาว         ทหโร(ปุ.) ยุวา(ปุ.) ยุวตี(อิตฺ.) ตรุโณ(ปุ.) ตรุณี(อิตฺ.)

คนหัวล้าน        นิกฺเกสสีโส(ปุ.) ขลฺลาโฏ(ปุ.)

คนหัวโล้น        มุณฺโฑ(ปุ.) ภณฺฑุ(ปุ.) มุณฺฑิโก(ปุ.)

ค้นหา         วิจินิตฺวา(กิตก์)

คนเอาการงาน         ธุรคฺคาโห(ปุ.)

คบเพลิง         อุกฺกา(อิตฺ.)

คบหญ้า         ติณุกฺกา(อิตฺ.)

คบหา         ภชิต(กิตก์) เสวิต(กิตก์) เสวิตฺวา(กิตก์) ภชติ(อาข.) เสวติ(อาข.)

คบหา         เสเวยฺย(อาข.) เสวติ(อาข.) เสวนา(อิตฺ.)

คม        ติณฺห(คุณ.) ติขิณ(คุณ.) ติพฺพ(คุณ.)

คมกล้า         ติกฺขํ(คุณ.) ติณฺหํ(คุณ.) ติขิณํ(คุณ.) ติพฺพํ(คุณ.)

ครกกระเดื่อง         ปิฏฺฐวํส(ปุ.)

ครรภ์         คพฺโภ(ปุ.) กุจฺฉิ(อิตฺ.)

ครหา        ครหา(อาข.) นินฺทา(อิตฺ.) ครหติ(อาข.) ครหิต(กิตก์) วิครหิ(อาข.) วิครหติ(อาข.) ครเหติ(อาข.) อุชฺฌายึสุ(อาข.)

ครองกรุงกบิลพัสดุ์         กปิลวตฺเถ รชฺชํ กาเรสิ(สำนวน) กาปิลวตฺถวา(คุณ.)

ครองชีพ         ชีวิตวุตฺติ(อิตฺ.) ชาติสนฺนิปาโตติ นาเมน ปากฏา (สำนวน) โลกกติกา(อิตฺ.)

ครองราชอาณาจักร         รฏฺฐาภิปาลนํ (นปุ.)

ครองเรือน         ฆราวาโส(ปุ.)

ครอบ        นิกุชฺชติ(อาข.) ปฏิกุชฺชติ(อาข.)

ครอบครอง        ปฏิปชฺชติ(อาข.) ปริคฺคณฺหาติ(อาข.)

ครอบครัว         กุลํ(นปุ.)

ครอบงำ        อภิภวติ(อาข.) ปริยาทาติ(อาข.) อภิภูต(กิตก์) ปเรต(กิตก์)

ครอบฝา         นิกุชฺชติ(อาข.)

ครั่ง        อลตฺตโก(ปุ.) ยาวโก(ปุ.) ลาขา(อิตฺ.) ชตุ(นปุ.)

ครั้งดึกดำบรรพ์         โปราณกาโล(ปุ.)

ครั้งนั้น        อถ(นิปาต) ตโต(อพฺยย.)

ครั่งสด         อลตฺตกา(อิตฺ.)(นปุ.)

ครับ        อาม(นิปาต) เอวํ(นิปาต)

คราบงู        นิมฺโมโก(ปุ.) กญฺจุโก(ปุ.)

คราม        นีลี(อิตฺ.) นีลินี(อิตฺ.)

คร่าออก         ปริกสฺสมาน(กิตก์) อากฑฺฒติ(อาข.)

คร่ำครวญ        ปรเทโว(ปุ.) ปรทฺทโว(ปุ.) ปริเทวิ(อาข.) โรทติ(อาข.) กนฺทติ(อาข.) อกฺกนฺทนํ(นปุ.)

คร่ำคร่า         ชิณฺณ(กิตก์) ชริต(กิตก์)

ครึ่ง         อฑฺฒ(คุณ.) อุปฑฺฒ(คุณ.) ขณฺโฑ(ปุ.)

ครึ่ง        อฑฺฒ(คุณ.) อทฺธ(คุณ.) อุปฑฺฒ(คุณ.) ขณฺโฑ(ปุ.)(นปุ.) สกลํ(ปุ.)(นปุ.)

ครุฑ        สุปณฺโณ(ปุ.) เวนเตยฺโย(ปุ.) ครุโฬ(ปุ.) วิหคาธิโป(ปุ.) ครุโฑ(ปุ.)

ครูรุ่นเก่า         ปาจริโย(ปุ.) ปาเจราจริโย(ปุ.)

ครู่หนึ่ง         มุหุตฺตํ(นิปาต) ตํมุหุตฺตํ(นปุ.) ตํขณํ(นปุ.)

คฤหบดีมหาศาล        คหปติมหาสาโล(ปุ.)

คฤหัสถ์         คิหี(ปุ.) คหฏฺโฐ(ปุ.)

คล้อง         อาลคฺเคติ(อาข.) ลคฺคติ(อาข.)

คล่องแคล่ว        ทกฺข(คุณ.)

คลองจักษุ         จกฺขุปถํ(นปุ.)

คล่องปาก         มุขารุฬฺหภาโว(ปุ.)

คลอด        ชายิ(อาข.) วิชายิ(อาข.) ชาต(กิตก์) วุฏฺฐานํ(นปุ.)

คลอดทารก         ทารกํ วิชายติ(สำนวน)

คล้อยตามความเห็น         ทิฏฺฐานุคต(คุณ.)

คลัง         โกฏฺฐาคาโร(ปุ.)(นปุ.)

คลาน         โอสปฺปติ(อาข.) ชงฺฆาย คจฺฉติ(สำนวน) ชนฺนุเกหิ วิจรติ(สำนวน)

คลานไป         สปฺปติ(อาข.) ปริสปฺปติ(อาข.)

คล้าย          สมาน(คุณ.) สทิส(คุณ.) ปฏิภาค(คุณ.) สริกฺขก(คุณ.) กปฺป(คุณ.)

คลายฤทธิ์         อิทฺธิยา วิสฺสฏฺฐ (สำนวน)

คลื่น        ตรงฺโค(ปุ.) ภงฺโค(ปุ.) อูมิ(ปุ.)(อิตฺ.) วีจิ(ปุ.)(อิตฺ.)

คลื่นใหญ่         อุลฺโลโล(ปุ.) กลฺโลโล(ปุ.)

คลุกคลี         สํสคฺค(ปุ.) สํสฏฺฐ(กิตก์)

ควงไม้สาละ         สาลมูลํ(นปุ.)

ควร         อนุจฺฉวิก(คุณ.) อนุรูป(คุณ.) ปฏิรูป(คุณ.)        

ควรได้        ปตฺตพฺพ(คุณ.) คมฺม(คุณ.) อาสชฺช(คุณ.)

ควัน         ธูโม(ปุ.)

ควาญช้าง        หตฺถาโรโห(ปุ.) หตฺถิเมณฺโฑ(ปุ.) หตฺถิโป(ปุ.) หตฺถิโคปโก(ปุ.)

ความกลัว        ภีติ(อิตฺ.) ภยํ(นปุ.) อุตฺตาโส(ปุ.)

ความกลัวมาก        เภรวํ(นปุ.) มหพฺภยํ(นปุ.)

ความกำเริบ        กุปฺปนํ(นปุ.)

ความกำหนัด        ราโค(ปุ.) กามราโค(ปุ.) รโช(ปุ.)

ความเกรงกลัวบาป        โอตฺตปฺปํ(นปุ.)

ความเกิด        อุปฺปตฺติ(อิตฺ.) นิพฺพตฺติ(อิตฺ.) ชาติ(อิตฺ.) ชนนํ(นปุ.) อุพฺภโว(ปุ.)

ความเกี่ยวพัน        ปรายนํ(นปุ.)

ความเกื้อกูล        หิตํ(นปุ.)

ความแก่        ชรตา(อิตฺ.) ชรา(อิตฺ.)

ความโกลาหล         โกลาหล(นปุ.) กุตูหล(นปุ.)

ความใกล้ชิด        สนฺนิธิ(ปุ.)

ความขัดข้อง        อนฺตราโย(ปุ.) ปจฺจูโห(ปุ.)

ความครอบงำ        อภิภโว(ปุ.) อภิภวนํ(นปุ.)

ความคล้อยตาม        อนุโรโธ(ปุ.) อนุวตฺตนํ(นปุ.)

ความคิด         จินฺตา(อิตฺ.) ฌานํ(นปุ.)

ความคิดแตกแยกออกไป         นานาทิฏฺฐิวิคฺคาหกา(คุณ.)

ความคุ้นเคย        สนฺถโว(ปุ.) ปริจโย(ปุ.)

ความใคร่        กนฺติ(อิตฺ.) กาโม(ปุ.)

ความจองหอง        มาโท(ปุ.) มโท(ปุ.)

ความชนะ        ชโย(ปุ.) ชยนํ(นปุ.) ชิติ(อิตฺ.)

ความเชื่อมั่น         อภินิเวสธมฺโม(ปุ.) สทฺธา(อิตฺ.)

ความดียิ่ง        อุกฺกํโส(ปุ.) อติสโย(ปุ.)

ความเดือดร้อน         ตาโป(ปุ.) กุกฺกุจฺจํ(นปุ.) ปจฺฉาตาโป(ปุ.) อนุตาโป(ปุ.) วิปฺปฏิสาโร(ปุ.)

ความตระหนี่        มจฺเฉรํ(นปุ.) มจฺฉริยํ(นปุ.)

ความตื่น        ชาคโร(ปุ.) ชาคริยา(อิตฺ.)

ความแตก        เภโท(ปุ.) วิทาโร(ปุ.) ผุฏนํ(นปุ.)

ความถูกต้อง        ญาโย(ปุ.) นโย(ปุ.)

ความเนิ่นช้า        พฺยาโส(ปุ.) ปปญฺโจ(ปุ.) วิตฺถาโร(ปุ.)

ความประหลาดใจ         อจฺฉริยา(อิตฺ.)                                

ความเป็นของต่างกัน        เวมตฺตํ(นปุ.) นานตา(อิตฺ.)

ความเป็นเด็ก        พาลตฺตํ(นปุ.) พาลตา(อิตฺ.) พาลฺยํ(นปุ.)

ความเป็นไท         ทยฺยชาติ(อิตฺ.) ภุชิสฺสตา(อิตฺ.)

ความเป็นหนุ่ม        โยพฺพญฺญํ(นปุ.) โยพฺพนํ(นปุ.)

ความเปลี่ยนแปลง        วิกาโร(ปุ.) วิกติ(อิตฺ.) วิปริณาโม(ปุ.)

ความผิด        อาคุ(นปุ.) อปราโธ(ปุ.)

ความพยาบาท        พฺยาปาโท(ปุ.) พฺยาปชฺฌํ(นปุ.) โกโธ(ปุ.)

ความพยายาม         วายาโม(ปุ.) อุสฺสาโห(ปุ.) ปรกฺกโม(ปุ.)

ความพลัดพราก        ปวิสฺสิเลโส(ปุ.) วิธุรํ(นปุ.)

ความพินาศ        วินาโส(ปุ.) อทสฺสนํ(นปุ.)

ความฟุ้งซ่าน        อุทฺธจฺจํ(นปุ.) อุทฺธฏํ(นปุ.)

ความเมา        มาโท(ปุ.) มโท(ปุ.)

ความย่อ        สมา(อิตฺ.) สงฺเขโป(ปุ.) สํหาโร(ปุ.) สมาโส(ปุ.) สงฺคโห(ปุ.)

ความยากจน         ทลิทฺทภาโว(ปุ.)

ความยาว        อายาโม(ปุ.) ทีฆตา(อิตฺ.) อาโรโห(ปุ.)

ความยินดี        หาโส(ปุ.) อตฺตมนตา(อิตฺ.) ปีติ(อิตฺ.) วิตฺติ(อิตฺ.) ตุฏฺฐิ(อิตฺ.) อานนฺโท(ปุ.) ปมุโท(ปุ.)อาโมโท(ปุ.) สนฺโตโส(ปุ.) นนฺทิ(อิตฺ.) สมฺมโท(ปุ.) ปาโมชฺชํ(นปุ.)ปโมโท(ปุ.)

ความยืดยาว        พฺยาโส(ปุ.) ปปญฺโจ(ปุ.) วิตฺถาโร(ปุ.)

ความรัก        เปม (ปุ.)(นปุ.) สิเนโห(ปุ.) เสฺนโห(ปุ.) ปิยภาโว(ปุ.)

ความริษยา        อิสฺสา(อิตฺ.)

ความรู้ทางแพทย์         เวชฺชกมฺม(นปุ.)

ความเร็ว        เวโค(ปุ.) ชโว(ปุ.) รโย(ปุ.)        

ความเร่าร้อนจากโรค        ฑาห(ปุ.) โรคฑาโห(ปุ.)

ความเร่าร้อนในกาย        ปริฬาโห(ปุ.) สนฺตาโป(ปุ.)        

ความลับ        รหสฺสํ(นปุ.) คุยฺหํ(นปุ.)

ความเศร้าโศก         โสโก(ปุ.) โสจนํ(นปุ.)

ความโศกครอบงำ         โสกปเรต(คุณ.) โสกาภิภูต(คุณ.)

ความสงบ        สนฺติ(อิตฺ.) สมโถ(ปุ.) สโม(ปุ.)

ความสงสัย        สํสโย(ปุ.) วิมติ(อิตฺ.)  วิจิกิจฺฉา(อิตฺ.) กงฺขา(อิตฺ.) สงฺกา(อิตฺ.)        

ความสงัด        วิเวโก(ปุ.) ปุถุคตฺตตา(อิตฺ.) วิวิจนํ(นปุ.)

ความสบาย        กุสลํ(นปุ.) อนามยํ(นปุ.) อโรคฺยํ(นปุ.)

ความสับสน          โกลาหล(นปุ.)        กุตูหล(นปุ.)                        

ความสามารถ         พลํ(นปุ.) ถาโม(ปุ.) สหํ(นปุ.) สตฺติ(อิตฺ.) ปรกฺกโม(ปุ.)

ความสำคัญ         สญฺญา(อิตฺ.) อาสา(อิตฺ.)

ความสำรวม        ยาโม(ปุ.) สํยโม(ปุ.) ยโม(ปุ.) สํวโร(ปุ.)

ความสิ้นเปลือง        พฺยโย(ปุ.)

ความสิ้นไป        อปจโย(ปุ.)

ความเสื่อม        ชานิ(อิตฺ.)

ความหมายคำสอน         สาสนตฺโถ(ปุ.)

ความหลง        โมโห(ปุ.) อวิชฺชา(อิตฺ.) อญฺญาตํ(นปุ.)

ความเห็น        ทสฺสนํ(นปุ.) ทิฏฺฐิ(อิตฺ.) ลทฺธิ(อิตฺ.) สิทฺธนฺโต(กิตก์) สมโย(ปุ.)

ความอยาก        ตณฺหา(อิตฺ.) ตสินา(อิตฺ.) เอชา(อิตฺ.) ชาลินี(อิตฺ.) วิสตฺติกา(อิตฺ.) ฉนฺโท(ปุ.) ชฏา(อิตฺ.) นิกนฺติ(อิตฺ.) อาสา(อิตฺ.) สิพฺพนี(อิตฺ.) ภวเนตฺติ(อิตฺ.) อภิชฺฌา(อิตฺ.) วนโถ(ปุ.) วานํ(นปุ.) โลโภ(ปุ.) ราโค(ปุ.) อาลโย(ปุ.) ปิหา(อิตฺ.) มโนรโถ(ปุ.) อิจฺฉา(อิตฺ.) อภิลาโส(ปุ.) กาโม(ปุ.) โทหโฬ(ปุ.)  อากงฺขา(อิตฺ.) รุจิ(อิตฺ.)

ความอิ่มเอิบ        ตปฺปนํ(นปุ.) ปีณนํ(นปุ.)

ความอืดอาด        พฺยาโส(ปุ.) ปปญฺโจ(ปุ.) วิตฺถาโร(ปุ.)

ความเอ็นดู         การุญฺญํ(นปุ.) อนุกมฺป(ปุ.)

ควาย        มหิโส(ปุ.) ลุลาโย(ปุ.) มหีโส(ปุ.)

คหบดีมหาศาล        คหปติมหาสาโล(ปุ.)

คอ         คล(ปุ.) คีวา(อิตฺ.) ขนฺธ(ปุ.) คโล(ปุ.) กณฺโฐ(ปุ.) กนฺธรา(อิตฺ.) สิโรธรา(อิตฺ.)

คอก         วโช

คอกโค        โคฏฺฐํ(นปุ.) โคกุลํ(นปุ.) วโช(ปุ.)

คอโค        วโห(ปุ.)

คอต่อ        ชตฺตุ(นปุ.)

ค้อน        กูฏํ(ปุ.)(นปุ.) อโยฆโน(ปุ.) มุคฺคโร(ปุ.)

ค้อนเหล็ก         อยกูฏํ(นปุ.)

คอพิณ        อุปวีโณ(ปุ.)

คอมีปล้อง        กมฺพุคีวา(อิตฺ.)

คอย         อาคมยนฺติ(อาข.) อาคเมนฺติ(อาข.) อาคมนํ(นปุ.)

ค่ะ        อาม(นิปาต) เอวํ(นิปาต)

คะนอง         กุกฺกุจฺจํ(นปุ.)

คะแนน         ลกฺขํ(นปุ.)

คั่งค้าง         อากุลา(คุณ.)

คัดค้าน         ปฏิกฺขิปึสุ(อาข.) ปฏิเสธยึสุ(อาข.) ปฏิกฺโกสึสุ(อาข.)

คันธกุฎี        คนฺธกุฏี(อิตฺ.)

คันนา         เกทาร(นปุ.) มริยาทา(อิตฺ.)

คันเบ็ด         พลิสยฏฺฐิ(อิตฺ.)

คับแคบ         อติสมฺพาธ(ปุ.) สมฺพาธ(ปุ.)  สํกฏ(คุณ.)

คัมภีร์         คนฺโถ(ปุ.)

คัมภีร์วิสุทธิมรรค         วิสุทฺธิมคฺคคนฺโถ(ปุ.)

ค้าขาย         สํโวหาโร(ปุ.)

คาคบ        วิฏโป(ปุ.) วิฏภี(อิตฺ.)

ค้าง         วิปฺปกต(กิตก์)

คาง        หนุกา(อิตฺ.) หนุ(อิตฺ.)  หนฺวิ(อิตฺ.) จุพุกํ(นปุ.)

ค้างคาว        ชตุกา(อิตฺ.) อชินปตฺตา(อิตฺ.) วคฺคุลิ(อิตฺ.)

ค่าจ้าง         ภติ(อิตฺ.) เวตนํ(นปุ.) มูลํ(นปุ.) นิพฺเพโส(ปุ.) มูลฺยํ(นปุ.)

คาดคะเน        ววตฺถาปิยมาน(กิตก์) ปริจฺฉิชชมาน(กิตก์)

คาน        พฺยาภงฺคี(อิตฺ.) กาโช(ปุ.)

คานหาม          สิวิกา(อิตฺ.)

คาบ         ขาทติ(อาข.) ฑํสิตฺวา(กิตก์) ฑํสติ(อาข.)

ค่าภาษี         สุงฺโก(ปุ.)

ค่าย        ขนฺธาวาโร(ปุ.)

คาวุต ( ๘๐ อุสภะ)        คาวุตํ(นปุ.)

ค่าอาหาร         ปากวตฺตํ(นปุ.) ภตฺตมูลํ(นปุ.)

คำกล่าวซ้ำ        อาเมณฺฑิตํ(นปุ.) ยมกํ(นปุ.) วิจฺฉา(อิตฺ.)

คำกล่าวตอบ        ปฏิกฺวากฺยํ(นปุ.) อุตฺตรํ(นปุ.)

คำกล่าวตู่         อพฺภกฺขานํ(นปุ.)

คำข้าว        อาโลโป(ปุ.) กพโฬ(ปุ.)(นปุ.)

คำคูน        คุคฺคฬุ(ปุ.) โกสิโก(ปุ.)

คำชม         วากฺยํ(นปุ.)

คำตอบ         ปฏิวากฺยํ(นปุ.) โอตฺตรํ(นปุ.)

คำถวายพระพร         วรทานกถา(อิตฺ.)

คำถาม        ปญฺโห(ปุ.) อนุโยโค(ปุ.) ปุจฺฉา(อิตฺ.)

คำถูก         สุทฺธวจนํ(นปุ.)

คำถูกใจ        หทยงฺคมํ(นปุ.)

คำนวณ        สมฺปิณฺฑนํ(นปุ.) สมฺปิณฺเฑติ(อาข.)

คำนำ        อุปญฺญาโส(ปุ.) วจีมุขํ(นปุ.)

คำนึงถึง         สมนฺนาหริตฺวา(กิตก์) ตกฺเกติ(อาข.)

คำปรารภ        สารมฺโภ(ปุ.) อารมฺโภ(ปุ.)

คำปราศรัย         สุนฺทรวจนํ(นปุ.)

คำผิด         อสุทฺธวจนํ(นปุ.)

คำพูด         วจนํ(นปุ.) วากฺยํ(นปุ.) นิคาโท(ปุ.) นิคโท(ปุ.)

คำไม่ปะติดปะต่อ        อพนฺธ(คุณ.)

คำราม         คชฺชนฺโต(กิตก์) นทนฺโต(กิตก์) นทติ(อาข.) สีหนาโท(ปุ.)

คำล่วงเกิน        อติวากฺยํ(นปุ.)

คำไวพจน์        อธิวจนํ(นปุ.) เววจนํ(นปุ.) นิพฺพจนํ(นปุ.)

คำสอนสืบมาแต่อาจารย์        ปารมฺปริยํ(นปุ.) เอติหฺยํ(นปุ.) อุปเทโส(ปุ.) อิติหา(อิตฺ.)

คำสอนเสมอกัน         สาสนตฺถสามญฺญํ(นปุ.)

คำสั่ง         อาณตฺติวจนํ(นปุ.) อาณตฺติ(อิตฺ.) อาณา(อิตฺ.) สาสนํ(นปุ.)

คำสั่งสอน        โอวาโท(ปุ.) อนุสิฏฺฐิ(อิตฺ.) อนุสาสนํ(นปุ.)

คำหยาบ        ผรุสวาจา(อิตฺ.)

คำให้พร         ปสิทฺธิวรํ(นปุ.)

คิดจะช่วย         กามตา(อิตฺ.)

คิดชั่ว         ทุจฺจินฺติตจินฺตนา(อิตฺ.)

คิดตัดรอน         วินาสํ อุปฺปาเทตุ จินฺเตติ (สำนวน)

คิดแบบใหม่ๆ         จิตฺตามยนวกมฺมตนฺติ(อิตฺ.)

คิดสงสาร         กรุณา(อิตฺ.)

คิดหาหนทาง         อุปานวีมํสา(อิตฺ.)

คิดเห็น         ทสฺสนํ(นปุ.)

คิ้ว        ภู(อิตฺ.) ภมุโก(ปุ.) ภมุ(ปุ.)

คีม        สณฺฑาโส(ปุ.)

คืนเดือนมืด        ติมีสิกา(อิตฺ.) ติมิสา(อิตฺ.)

คืนเดือนหงาย        ชุณฺหา(อิตฺ.)

คืบ         วิทตฺถิ(อิตฺ.) โคกณฺโณ(ปุ.) ตาโล(ปุ.) ปเทโส(ปุ.)

คืบของนิ้ว        ปเทโส(ปุ.) ตาโล(ปุ.) โคกณฺโณ(ปุ.) วิทตฺถิ(อิตฺ.)

คุกเข่า         ชนฺนุเกหิ ฐตฺวา (สำนวน)

คุกคาม         สนฺตชฺเชสิ(อาข.)

คุณ         อานิสํโส(ปุ.) คุโณ(ปุ.)

คุณธรรม         สีลทิฏฺฐิ(อิตฺ.)

คุณประโยชน์         สาตฺถ(คุณ.) อตฺถชน(คุณ.)

คุ้นเคย         วิสฺสาโส(ปุ.) ปริจโย(ปุ.) สนฺถโว(ปุ.) วิสฺสสติ(อาข.) วิสฺสาเสติ(อาข.) ปฏิวิสฺสก(ปุ.) วิสาสมาปชฺชนฺติ (สำนวน) วิสฺสาสิก(ปุ.)

คุมกันเป็นพวก         วคฺคพนฺธ(ปุ.) วคฺคพนฺธนํ(นปุ.)

คุ้มครอง         โคโป(ปุ.) โคปนํ(ปุ.) อภิรกฺโข(ปุ.) อภิรกฺขา(อิตฺ.) อภิรกฺขํ(นปุ.) อนุรกฺขา(อิตฺ.) โคปิต(กิตก์) คุตฺต(กิตก์) โคปติ(อาข.) อารกฺขา(อิตฺ.) วรณํ(นปุ.) คุตฺติ(อิตฺ.)    ติกิจฺฉติ(อาข.) รกฺขติ(อาข.) โคเปติ(อาข.) อารกฺโข(ปุ.) รกฺขนํ(นปุ.) รกฺขิโต(กิตก์) เตกิจฺฉา(อิตฺ.) ติกิจฺฉนํ(นปุ.) รกฺขิต(กิตก์) ตาต(คุณ.) โคปายิต(คุณ.) อาวิต(กิตก์) ปาลิต(กิตก์)

คุ้ย         อุทฺธรนฺต(กิตก์) วิยูหิตฺวา(กิตก์)

คู้         สมฺมิญฺชติ(อาข.) สมฺมิญฺเชติ(อาข.)

คู        ปริขา(อิตฺ.)

คู่        ยุคํ(นปุ.) ยุคลํ(นปุ.) ทฺวนฺทํ(นปุ.) ยมกํ(นปุ.) ยมลํ(นปุ.) ยมํ(นปุ.)

คู่ควร         ภพฺโพ(คุณ.)

คูถ         วจฺจํ(นปุ.) มีฬฺหํ(นปุ.) ลณฺฑํ(นปุ.) มูลํ(นปุ.) กรีสํ(นปุ.)

คู่หญิงชาย        มิถุนํ(นปุ.)

เคยเป็นข้าราชการ         ราชปุริสภูตปุพฺพ(คุณ.)

เครา         ทาโฐ(ปุ.)

เคราแดง         ตมฺพทาฐิโก(ปุ.)

เคราะห์กรรม        ภาคฺยํ(นปุ.) นิยติ(อิตฺ.) ภาโค(ปุ.) ภาคเธยฺยํ(นปุ.) วิธิ(ปุ.)

เคราะห์ดี         ธญฺญ(คุณ.) สุกตี(คุณ.) ปุญฺญวนฺตุ(คุณ.)

เครือเขาหญ้านาง        หิริเวรํ(นปุ.) วาลํ(นปุ.)

เครื่องกั้น         อวหาริกา(อิตฺ.) อุทฺทามํ(นปุ.)

เครื่องข้าม        ตรณํ(นปุ.) ตรณี(อิตฺ.) ตรี(อิตฺ.)

เครื่องไขกุญแจ         อวาปุรณํ(นปุ.)

เครื่องจองจำ         พนฺธนํ(นปุ.) อุทฺทานํ(นปุ.)

เครื่องเซ่นสังเวย        หพฺยํ(นปุ.) หวิ(นปุ.)

เครื่องดีสีตีเป่า        อาโตชฺชํ(นปุ.) วาทิตฺตํ(นปุ.) วาทิตํ(นปุ.) วชฺชํ(นปุ.)

เครื่องดื่ม        ปานียํ(นปุ.) ปานํ(นปุ.)

เครื่องตักน้ำจากบ่อ        อุคฺฆาฏนํ(นปุ.) ฆฏียนฺตํ(นปุ.)

เครื่องแต่งช้าง        กปฺปโน(ปุ.)

เครื่องทา         วิเลปนํ(ปุ.) วณฺณกํ(ปุ.)

เครื่องแทงโคนหูช้าง        ตุตฺตํ(นปุ.)

เครื่องบิน         อากาสยานํ(นปุ.) เวหาสยานํ(นปุ.)

เครื่องบินไอพ่น         อุสุมเวหาสยานํ(นปุ.)

เครื่องประดับ         ปสาธนํ(นปุ.) มณฺฑนํ(นปุ.) มณฺฑนํ(นปุ.) วิภูสนํ(นปุ.) อาภรณํ(นปุ.) อลงฺกาโร(ปุ.) อาภรณ(นปุ.) ปิลนฺธนํ(นปุ.)

เครื่องประดับแขน        กงฺกณํ(นปุ.) กรภูสา(อิตฺ.)

เครื่องประดับคอ        กณฺฐภูสา(อิตฺ.) คีเวยฺยํ(นปุ.)

เครื่องประดับเท้า        ปาทงฺคทํ(นปุ.) มญฺชีโร(ปุ.) ปาทกฏโก(ปุ.) นูปุโร(ปุ.)

เครื่องประดับหู        กณฺณิกา(อิตฺ.) กณฺณปูโร(ปุ.) กณฺณวิภูสนํ(นปุ.)

เครื่องปรุงอาหาร         พฺยญฺชนํ(นปุ.)

เครื่องปลื้มใจ         วิตฺตุปกรณํ(นปุ.) วิตฺตูปกรณํ(นปุ.)

เครื่องผูก        อุทฺทานํ(นปุ.) พนฺธนํ(นปุ.)

เครื่องผูกเท้าช้าง        นิคโฬ(ปุ.)(นปุ.) อนฺทุโก(ปุ.) สํขลํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

เครื่องผูกสุนัข        สาพนฺธนํ(นปุ.) คทฺทูโล(ปุ.)

เครื่องลอย        วหโล(ปุ.)

เครื่องลูบไล้        วณฺณกํ(นปุ.) วิเลปนํ(นปุ.)

เครื่องหมาย         ลกฺขณํ(นปุ.) อภิญฺญาณํ(นปุ.) ฐานีโย(ปุ.) กลงฺโก(ปุ.) ลญฺฉนํ(นปุ.) ลกฺขํ(นปุ.) องฺโก(ปุ.) ภิญฺญาณํ(นปุ.) ลกฺขณํ(นปุ.) จิหนํ(นปุ.)

เครื่องหมายหัวใจนักรบ         โยธานํ(นปุ.) มโนหรนิมิตฺตํ(นปุ.)

เครื่องห้าม         ปฏิปกฺขภูต(คุณ.) ปฏิฆาตภูต(คุณ.)

เครื่องอบ        วาสนํ(นปุ.)

เคล้า         อาโลเฬตฺวา(กิตก์) อาโลเฬติ(อาข.)

เคล้าคลึง         อาลิงฺคติ(อาข.)

เคลื่อน         คลิตฺวา(กิตก์)

เคลื่อนได้        ชงฺคม(คุณ.) จร(คุณ.) ตส(คุณ.) จราจร(คุณ.)

เคารพ         สกฺกจฺจํ(อพฺยย.) สกฺกจฺเจน(ตติยา) คารโว(ปุ.) ครุกโรติ(อาข.)

เคารพนับถือ         ครุ(คุณ.) คารโว(ปุ.)

เคารพพระรัตนตรัยอย่างยิ่ง ติวตฺถุติพฺพคารว(คุณ.)

เคาะ         อาโกฏิต(กิตก์) อาโกเฏสิ(อาข.)

เคียงกัน         สํสนฺเธสิ(อาข.)

เคียงบ่าเคียงไหล่         สหจารี(คุณ.)

เคี่ยว         กฐติ(อาข.)

เคียว        ทาตฺตํ(นปุ.) ลวิตฺตํ(นปุ.) อสตํ(นปุ.)

เคือง         โรสติ(อาข.) โรเสติ(อาข.)

แคฝอย         ปาริจฺฉตฺตโก(ปุ.) จิตปาตลี(อิตฺ.) ปาฏลี(อิตฺ.) กณฺหวณฺฏา(อิตฺ.)

แคร่         อฏนิยํ(นปุ.) ปลฺลงฺโก(ปุ.) มญฺจโก(ปุ.)

โคกกระสุน        โคกณฺฏโก(ปุ.) สึฆาโฏ(ปุ.)

โคแก่        ชรคฺคโว(ปุ.)

โค้ง         นมิตฺวา(กิตก์) ปฏิกุฏติ(อาข.) โอภคฺค(กิตก์) วงฺก(คุณ.) ชิมฺห(คุณ.) กุฏิล(คุณ.) อภินมติ(อาข.) อภินต(กิตก์) โอณมติ(อาข.) โอนต(กิตก์)

โคงาน        ธุรวาหี(ปุ.) โธรยฺโห(ปุ.)

โคนแขน         พาหุมูลํ(นปุ.) กจฺฉา(อิตฺ.)

โคนม        เธนุ(อิตฺ.)

โคป่า        ควโช(ปุ.) ควโย(ปุ.)

โคผู้        อุสโภ(ปุ.) พลิวทฺโท(ปุ.) โคโณ(ปุ.) โค(ปุ.) วสโภ(ปุ.) วุโส(ปุ.)

โคแม่ลูกอ่อน        วจฺฉกามา(อิตฺ.) วจฺฉลา(อิตฺ.)

โครส ๕ อย่าง        ขีรํ(นปุ.)น้ำนม ทธิ(นปุ.)นมส้ม ฆตํ(นปุ.)เนยใส ตกฺกํ(นปุ.)เปรียง โนนีตํ(นปุ.)เนย

โคราช        นครราชสีมาปุรํ(นปุ.)

โคลง         กพฺพํ(นปุ.)  กาเวยฺยํ(นปุ.) กาพฺยํ(นปุ.)

โคลงเคลง        โลล(คุณ.) จญฺจล(คุณ.) จล(คุณ.) ตรล(คุณ.)

โคหนุ่ม        ทมฺโม(ปุ.) วจฺฉตโร(ปุ.)

ใคร่ขอความร่วมมือ         สมคฺคภาวํ อายาจิตุกาโม (สำนวน)

ใคร่ครวญ         อุปธาเรนฺโต(กิตก์) อาวชฺเชนฺโต(กิตก์)  นิสมฺม(กิตก์)

ใคร่ช่วยบำบัดทุกข์เขา         ปรทุกฺขาปนยนกามตา(อิตฺ.)

ฆ-อักษร

ฆราวาส         ฆราวาโส(ปุ.)

ฆ้อง         คณฺฑิ(อิตฺ.) กรตาล(ปุ.)(นปุ.) ตาโฬ(ปุ.)

ฆ้องไม้         กฏฺฐตาโฬ(ปุ.)

ฆ้อน         มุคฺคโร(ปุ.)

ฆ่า         วธิตฺวา(กิตก์) มาเรตฺวา(กิตก์) ฆาเตติ(อาข.) มาเรติ(อาข.) มาริโต(กิตก์) ฆาตติ (อาข.) ฆาโต(ปุ.) มารณํ(นปุ.) หนติ(อาข.) ฆาเตติ(อาข.) มารณํ(นปุ.) หนนํ (นปุ.) นาสนํ(นปุ.) นิสูทนํ(นปุ.) หึสนํ(นปุ.) สรณํ(นปุ.) หึสา(อิตฺ.) วโธ(ปุ.) สสนํ (นปุ.) ฆาตนํ(นปุ.) ฆาตนํ(นปุ.)

เฆี่ยน         โปเถตฺวา(กิตก์) ฑํสิตฺวา(กิตก์)

เฆี่ยนด้วยหวาย         ตสาหิ ปหริตฺวา(สำนวน)

โฆษณา        ฆุสนํ(นปุ.) โฆสนํ(นปุ.)

ง-อักษร

งงงัน        วิหตฺถ(คุณ.) พฺยากุล(คุณ.)

งดงาม         สุภางฺคี(คุณ.)

งดเว้น         วิรมติ(อาข.) ปฏิวิรต(กิตก์) อารติ(อิตฺ.) วิรติ(อิตฺ.) เวรมณี(อิตฺ.) อรติ(อิตฺ.)

ง่วง         ถีนมิทฺธ(คุณ.) นิทฺทาลุ(คุณ.) นิทฺทาปเรต(คุณ.)

งวงช้าง          โสณฺโฑ(ปุ.) โสณฺฑํ(นปุ.) โสณฺฑิ(อิตฺ.) หตฺถิโสณฺโฑ(ปุ.) หตฺโถ(ปุ.)

ง่วงเต็มที่         ถีนมิทฺธสมงฺคี(คุณ.)

ง้วนดิน         ปฐโวชํ(นปุ.)

งอ         นมิตฺวา(กิตก์) ปฏิกุฏติ(อาข.) โอภคฺค(กิตก์)

งอกขึ้น          รูหติ(อาข.) วิรูหติ(อาข.)

งอกงาม         พหุลีกต (สำนวน)

งอนไถ         รถสีสํ(นปุ.) อีสา(อิตฺ.)

งับ         ขาทติ(อาข.) ฑํสติ(อาข.)

งา         ติลํ(นปุ.)

ง้างปาก         มุขํ วิวริตฺวา (สำนวน)

งาช้าง         ทนฺต(ปุ.)

งาน         กมฺมนฺต(ปุ.) กิจฺจํ(นปุ.) กมฺมํ(นปุ.)

งานต่ำ         อวจกมฺมํ(นปุ.)

งานประจำ        กิจฺจ(นปุ.) กมฺม(นปุ.) กมฺมนฺต(ปุ.)

งานสมโภชกรุงเทพ        เทวมหานครสฺส มหามหกมฺมํ(นปุ.)

งาม        กนฺติ(อิตฺ.) โสภา(อิตฺ.) ชุติ(อิตฺ.) ฉวิ(อิตฺ.) โสภณ(คุณ.) รุจิร(คุณ.) สาธุ(คุณ.) มนุญฺญ(คุณ.) จารุ(คุณ.) สุนฺทร(นปุ.) วคฺคุ(คุณ.) มโนรม(คุณ.) กนฺต(คุณ.) หารี (คุณ.) มญฺชุ(คุณ.) เปสล(คุณ.) ภทฺท(คุณ.) วาม(คุณ.) กลฺยาณ(คุณ.) มนาปํ(คุณ.) สทฺธก(คุณ.) สุภ(คุณ.)

งามที่สุด        สุสมา(อิตฺ.)

งามไปทั่วพระวรกาย         สพฺพางฺคโสภณ(คุณ.)

ง่าย         สุข(คุณ.)

งิ้วบ้าน        ปิจฺฉิลา(ปุ.)(อิตฺ.) สิมฺพลี(ปุ.)(อิตฺ.)

งิ้วป่า        โรจโน(ปุ.) โกฏิสิมฺพลี(อิตฺ.)

งู        อาสีวิโส(ปุ.) ภุชงฺโค(ปุ.) อหิ(ปุ.) ภุชโค(ปุ.) ภุชงฺคโม(ปุ.) สิรึสโป(ปุ.) สปฺโป(ปุ.) อลคทฺโท(ปุ.) โภคิ(ปุ.) ปนฺนโค(ปุ.) ทฺวิชิวฺโห(ปุ.) อุรโค(ปุ.) วาโฬ (ปุ.) ทีโฆ(ปุ.) ทีฆปิฏฺฐิโก(ปุ.) ปาทูทโร(ปุ.) วิสธโร(ปุ.) จกฺกี(ปุ.) กุณฺฑลี(ปุ.) คุฬฺหปาโท(ปุ.) จกฺขุสฺสโว(ปุ.) กาโกทโร(ปุ.) ทพฺพิกาโร(ปุ.) พิลาสโย(ปุ.) ชิมฺหโค(ปุ.)    ปวนาสโน(ปุ.)

งูขว้างค้อน        โคนโส(ปุ.) ติลิจฺโฉ(ปุ.)

งูเขียว        นีลสปฺโป(ปุ.) สิลาภุ(ปุ.)

งูน้ำ        เทฑฺฑุโภ(ปุ.) ราชุโล(ปุ.)

งูเรือน        ธมฺมนี(ปุ.) สิลุตฺโต(ปุ.) ฆรสปฺโป(ปุ.)

งูเหลือม        วาหโส(ปุ.) อชคโร(ปุ.)

งูเห่า        โคนโส(ปุ.) ติลิจฺโฉ(ปุ.)

เงยหน้ามอง        อุลฺโลเกติ(อาข.)        

เงอะงะ         ชฬ(คุณ.)

เงา         ฉายา(อิตฺ.)

เง้า        กรหาฏํ(นปุ.) กนฺโท(ปุ.)

เงิน         ธนํ(นปุ.) หิรญฺ(นปุ.) สชฺฌุ(นปุ.) รูปิยํ(นปุ.) รชตํ(นปุ.) รูปิ(นปุ.) สชฺฌํ(นปุ.)

เงินทอง        รูปิยํ(นปุ.)         

เงือดเงื้อ         อุคฺคิรติ(อาข.)

เงื้อม         ปพฺภาโร(ปุ.)

เงื้อมเกิดเอง         อกตปพฺภาโร(ปุ.)

โง่         พาล(คุณ.) มนฺท(คุณ.) อวิญฺญู(ปุ.) พาลิส(ปุ.) โมเหนาภิภูต(กิตก์) ทนฺธ(คุณ.)

โงกง่วง        มิทฺธํ(นปุ.) ปจลายิกา(อิตฺ.)

โง่เขลา        พาโล(คุณ.) ทตฺตุ(คุณ.) ชฬ(คุณ.) มูฬฺห(คุณ.) มนฺท(คุณ.) วิญฺญู(คุณ.) พาลิส(คุณ.)

จงกรม        จงกมติ(อาข.) จงฺกมนํ(นปุ.)

จงกลนี        โสคนฺธิกํ(นปุ.) กลฺลหารํ(ปุ.) ทกสีตลิกํ(นปุ.)

จงยกไว้        เอตํ โหตุ(สำนวน) โหตุ(อาข.) ติฏฺฐตุ(อาข.)

จงรักภักดี         สมฺมานน(นปุ.) สมฺภตฺติ(อิตฺ.)

จ-อักษร

จด        อาหจฺจ(กิตก์)

จดหมาย        สาสนํ(นปุ.)

จตุชาติคันธ ๔ อย่าง        กุงฺกุมํ(นปุ.) ยวนปุปฺผํ(นปุ.) ตครํ(นปุ.) ตุรกฺโข(ปุ.)

จตุตถีวิภัตติ        จตุตถีวิภตฺติ(อิตฺ.) สมฺปทาน(นปุ.)        

จตุรังคเสนา        หตฺถี(ปุ.)ช้าง อสฺโส(ปุ.)ม้า รโถ(ปุ.)รถ ปตฺตี(ปุ.)พลเดินเท้า

จตุราศรม ๔        พฺรหฺมจารี(ปุ.)นวกะ คหฏฺโฐ(ปุ.)มีครอบครัว วานปตฺโถ(ปุ.)อยู่ป่า ภิกฺขุ(ปุ.)สละทั้งหมด

จบลง        สมตฺต(กิตก์) นิฏฺฐิต(กิตก์)

จมลง         นิมุชฺชิตฺวา(กิตก์)

จมูก        สวนํ(นปุ.) นตฺถุ(นปุ.) นาสา(อิตฺ.) นาสิกา(อิตฺ.) ฆานํ(นปุ.)

จระเข้         สุสุมาโร(ปุ.) กุมฺภีโล(ปุ.) สุสุมาโร(ปุ.) กุมฺภีโล(ปุ.) นกฺโก(ปุ.)

จราจล         โกลาหลํ(นปุ.)

จริง         ภูตํ(นปุ.)

จริงใจ         สจฺจุปฺปาทนํ(นปุ.)

จริงใจต่อตนเอง         อตฺตนิ สจฺจุปฺปาทนํ (สำนวน)

จริงแท้        สมฺมา(อพฺยย.) อวิตถํ(นปุ.) สจฺจํ(นปุ.) ตจฺฉํ(นปุ.) ยถาตถํ(นปุ.)

จริงหรือไม่        สจฺจํ(อพฺยย.)

จริงๆ        สมฺมา(อพฺยย.) อวิตถํ(นปุ.) สจฺจํ(นปุ.) ตจฺฉํ(นปุ.) ยถาตถํ(นปุ.)

จริยาวัตร         จริยา(อิตฺ.)

จวนแจ         อุปกฏฺฐา(กิตก์) วูปกฏฺฐา(กิตก์)

จอก         เสผาลีกา(อิตฺ.) นีลิกา(อิตฺ.) อาปานียกํโส(ปุ.)

จ้อง        อาโลกนํ(นปุ.) นิชฺฌานํ(นปุ.) อิกฺขนํ(นปุ.) ทสฺสนํ(นปุ.)        

จองจำ         พนฺธนํ(นปุ.)

จองเวร        อุปนาโห(ปุ.)

จอบ        ขณิตฺติ(อิตฺ.) อวทารณํ(นปุ.) กุทฺทาโล(ปุ.)

จอมคน         ปชาธิโป(ปุ.) นราธิโป(ปุ.) นริสฺสโร(ปุ.)

จอมปลวก         วมฺมิโก(ปุ.)(นปุ.)

จะแก้ทุกข์ต้องแก้ที่เหตุ         ทุกขสมุทยนิโรโธ(ปุ.) ทุกฺขนิโรโธ(ปุ.)

จะหลบหนีกละ         วิรมติ(อาข.) ปฏิวิรมติ(อาข.)

จักกรี         จกฺกิ(ปุ.)

จั๊กจั่น        จีรี(ปุ.) ฌลฺลิกา(อิตฺ.)

จักแบ่ง         สํวิภชิสฺสติ(อาข.) สํวิภาคํ กริสฺสติ (สำนวน) ภาเชสฺสติ(อาข.)

จักรพรรดิราช        สพฺพภุมฺโม(ปุ.) จกฺกวตฺติ(ปุ.)

จักรวาล         จกฺกวาฬ(นปุ.)

จักษุ         จกฺขุ(นปุ.)

จักษุบอด         จกฺขุกาณ(คุณ.)

จักษุแพทย์         จกฺขุเวชฺโช(ปุ.)

จัญไร        อีติ(อิตฺ.)

จัณฑาล        สปาโก(ปุ.) จณฺฑาโล(ปุ.) มาตงฺโค(ปุ.) สปโจ(ปุ.)

จัดการ         กโรติ(อาข.) สํวิทหติ(อาข.)

จัดแจง         สํวิทหิตฺวา(กิตก์) ปฏิยาทาเปตฺวา(กิตก์) สชฺเชตฺวา(กิตก์) สมฺปาเทตฺวา(กิตก์)   สํวิทหติ(อาข.) สํวิทหนํ(นปุ.) ปฏิยตฺต(กิตก์) ปฏิปาเทตพฺพ(กิตก์)

จัดแจงทาน         ทานสํวิภาโค(ปุ.) ทานสํวิธานํ(นปุ.) ทานวิสคฺค(นปุ.)

จัดพิมพ์         ปมุทฺทิตํ(กิตก์) มุทฺทิตํ(กิตก์)

จั่น        พนฺธนํ(นปุ.) คณฺฐิปาโส(ปุ.)

จันทน์แดง        ติลปณฺณี(ปุ.) ปตฺตงฺคํ(นปุ.) รญฺชนํ(นปุ.) รตฺตจนฺทนํ(นปุ.)

จันทน์เหลือง        โคสีสํ(นปุ.) เตลปณฺณิกํ(นปุ.) หริจนฺทนํ(ปุ.)(นปุ.)

จันทร์เพ็ญ         ปุณฺณจนฺโท(ปุ.) ปุณฺณมาโส(ปุ.)

จับ         คเหตฺวา(กิตก์)

จับกลุ่ม         สนฺนิปาต(ปุ.)

จับกัง        กมฺมกโร(ปุ.) เวตนิโก(ปุ.) ภตโก(ปุ.)

จาง         กพร(คุณ.)

จ้าง         ภติ(อิตฺ.) ภตฺวา(กิตก์) ภติตฺวา(กิตก์)

จาน         กํสํ(นปุ.) ถาวิกา(อิตฺ.) กํโส(ปุ.)

จ่าฝูง         ยูถปติ(ปุ.) ยูถเชฏฺโฐ(ปุ.) ยูถโป(ปุ.)

จาม         อุกาสิตํ(นปุ.) กาโส(ปุ.) ขิปิตฺวา(กิตก์) กาสิตฺวา(กิตก์)

จ่าย         วลญฺเชสิ(อาข.)

จารชน        จโร(ปุ.) คูฬฺหปุริโส(ปุ.) จารปุริส(ปุ.)

จารีตประเพณี         จาริตฺตํ(นปุ.)

จารึก         เลขนํ(นปุ.)

จารึกพระธรรม         พุทฺธมฺมเลขนํ(นปุ.)

จำ         ธารณํ(นปุ.) ธาริต(กิตก์)

จำได้แม่น         สุจตาภิธมฺมธร(ปุ.)

จำนวนน้อย         อปฺป(คุณ.)

จำนำ        นฺยาโส(ปุ.) อุปณิธิ(ปุ.)

จำแนก         สํวิภาค(ปุ.)

จำแนกกรรม         กมฺมโวสฺสคฺโค(ปุ.)

จำปา         อิงฺคุที(อิตฺ.) จมฺเปยฺย(ปุ.) จมฺป(ปุ.)

จำพรรษา         วสฺสาวาสํ อุปวสติ(สำนวน)

จำหน่าย        วิสฺสชฺชิ(อาข.) วิกฺกีนาติ(อาข.)

จิ้งจก         สรพู(อิตฺ.)  ฆรโคลิกา(อิตฺ.)

จิงจ้อ        ติวุตา(อิตฺ.) ติปุฏา(อิตฺ.)

จิงจ้อดำ        สามา(อิตฺ.) กาลา(อิตฺ.)

จิ้งหรีด        จีรี(ปุ.) ฌลฺลิกา(อิตฺ.)

จิตใจไม่เหมือนกัน         นานชฺฌาสย(คุณ.) นานจฺฉนฺ(คุณ.) นานารุจิก(คุณ.)

จิตเป็นนาย        มโนปุพฺพงฺคโม โหติ มโนเสฏโฐ มโนมโย(สำนวน)

จิตอ่อนโยนยินดี         จิตฺตํ มุทุกํ โหติ อาโมทิตปฺปโมทิตํ(สำนวน)

จี้ด้วยนิ้วมือ         องฺคุลิปโตทกํ(นปุ.) อจฺฉราย ทสฺเสสติ(สำนวน)

จีวร         อรหทฺธโช(ปุ.) กาสายํ(นปุ.) กาสาวํ(นปุ.) จีวร(นปุ.)

จุก         จูฬ(นปุ.)

จุกเสียดแน่น        สูลา(อิตฺ.)

จุณอบหอม        วาสจุณฺณํ(นปุ.) วาสโยโค(ปุ.)

จุดไฟ        อคฺคึ ททมาโน(สำนวน) อคฺคึ ชาเลติ(สำนวน)  ทีปํ ชาเลติ(สำนวน)

จุฬามหาวิทยาลัย ฯ        จุฬาลงฺกรณมหาวิชฺชาลโย(ปุ.)

จูงมือ         หตฺเถสุ คเหตฺวา(สำนวน)

จู่โจม         อพฺภาหนติ(อาข.)

จูบ         จุมฺพิตฺวา(กิตก์) ปริมชฺชิตฺวา(กิตก์)

เจดีย์        เจติยํ(นปุ.) ถูโป(ปุ.)

เจดีย์พระศรีสรรเพชร        สิริสพฺพวิชตาญาณํ(นปุ.)

เจตมูลเพลิง        จิตฺตโก(ปุ.) อคฺคิสญฺญิโต(ปุ.)

เจนใจ         โยนิโสมนสิกาเรน สูปธาริโต (สำนวน)

เจ็บออดๆ แอดๆ         พฺยาธินาภิภูโต โหติ พาฬฺหคิลาโน (สำนวน)

เจรจา        สลฺลเปติ(อาข.) สลฺลปนํ(นปุ.) อาลปนํ(นปุ.)

เจริญ         ภทฺทก(คุณ.) ภทฺร(คุณ.) ผาติ(อิตฺ.) วุทฺธิ(อิตฺ.) วฑฺเฒติ(อาข.) วฑฺโฒ(คุณ.)วฑฺฒิต(กิตก์) วุฑฺฒ(กิตก์) วฑฺฒก(คุณ.)

เจริญยิ่ง         อภิวฑฺฒติ(อาข.) ปวฑฺฒติ(อาข.)

เจริญรอยตาม         อนุปายี(คุณ.)

เจริญวัย         วโยนุค(คุณ.) วยปฺปตฺต(คุณ.) วโยวุฑฒ(คุณ.) วโยนฺค(คุณ.)

เจ้าของโค        โคโม(ปุ.) โคมิโก(ปุ.)

เจ้าคณะจังหวัด        มณฺฑลิสฺสรภิกฺขุ(ปุ.) รฏฺฐิสฺสรภิกฺขุ(ปุ.)

เจ้าลิจฉวี        ลิจฺฉวิ(ปุ.) วชฺชี(ปุ.)

เจ้าศากยะ        สกฺโก(ปุ.) สากิโย(ปุ.) สากฺโย(ปุ.) สกฺก(ปุ.)

เจ้าหนี้        อุตฺตมณฺโณ(ปุ.) ธนิโก(ปุ.)

เจาะ         ฉินฺเทติ(อาข.) ฉิทฺทยติ(อาข.) วิชฺฌิตฺวา(กิตก์) วิทฺธ(คุณ.) ฉิทฺทิต(คุณ.) เวธิโต(คุณ.)

เจาะหู         กณฺณวิชฺฌนํ(นปุ.)

เจือ         สมฺมิสฺเสตฺวา(กิตก์) สมฺมิสฺสติ(อาข.)

เจือกัน         สมฺเภท(ปุ.)

เจือปน         มิสฺสก(คุณ.) อุปเสจน(คุณ.)

แจ่มแจ้ง         ปฏุ(คุณ.) พฺยตฺต(คุณ.) อาวิภูต(คุณ.)(กิตก์)

แจ่มใส         ปสาโท(ปุ.) ปสนฺนตา(อิตฺ.)

โจงกระเบน         กจฺฉํ พนฺธติ (สำนวน)

โจทย์         โจเทติ(อาข.) โจทยติ(อาข.) ปุจฺฉติ(อาข.)

โจร        ตกฺกโร(ปุ.) โมสโก(ปุ.) โจโร(ปุ.) เถโน(ปุ.) เอกาคาริโก(ปุ.)

ใจ        จิตฺตํ(นปุ.) เจโต(ปุ.) มโน(ปุ.)(นปุ.) วิญญาณํ(นปุ.) หทยํ(นปุ.) มานสํ(นปุ.)

ใจกว้าง         มหาสย(คุณ.) มหชฺฌาสย(คุณ.)

ใจดี         สุมน(คุณ.) สุจิตฺต(คุณ.) หทยี(คุณ.) หทยาลุ(คุณ.)

ใจบุญ         วทญฺญู(คุณ.) วทานีย(คุณ.)

ใจยุ่ง         พฺยากุล(คุณ.) วิหตฺถ(คุณ.)

ใจเยือกเย็น         สนฺต(คุณ.)

ใจสงบ         สนฺตจิตฺต(คุณ.) สนฺตมน(คุณ.)

ฉ-อักษร

ฉลาด         เฉก(คุณ.) กุสล(คุณ.) โกวิท(คุณ.) ปณฺฑิต(คุณ.) พฺยตฺต(คุณ.) ปฏุ(คุณ.)  

ฉลาด(ใช้ชีวิต)        ปณฺฑิต(คุณ.)                        

ฉลาด(ในธรรมะ)        โกวิท(คุณ.)

ฉลาด(ในเล่ห์กล)         เฉก(คุณ.)

ฉลาด(ในไหวพริบ)        พฺยตฺต(คุณ.)

ฉลาด(ในอุบาย)        กุสล(คุณ.)

ฉลาดรู้ทางเจริญ         อายโกสลฺลํ(นปุ.)

ฉลาดรู้ทางปฏิบัติ         อุปายโกสลฺลํ(นปุ.)

ฉลาดรู้ทางเสื่อม         อปายโกสลฺลํ(นปุ.)

ฉัฏฐีวิภัตติ        ฉฏฺฐีวิภตฺติ(อิตฺ.) สามิ(ปุ.)                                                

ฉัตร         ฉตฺตํ(นปุ.)

ฉัตรขาว        เสตฉตฺตํ(นปุ.)

ฉันใด        ยถา(นิปาต)

ฉันท์        ฉนฺทํ(นปุ.) คาถา(อิตฺ.) วุตฺติ(อิตฺ.) วตฺตํ(น.)

ฉับพลัน        ตาวเทว(นิปาต)        

ฉาง         โกฏฺฐ(ปุ.)(นปุ.) กุสูโล(ปุ.)

ฉาบ        โปตฺถํ(นปุ.) ลิมฺปติ(อาข.)

ฉาบทา         อุปลิมฺปติ(อาข.) โอปุณาติ(อาข.) วิลิมฺปติ(อาข.)

ฉิบหาย         นสฺสติ(อาข.) วินฏฺฐ(กิตก์) นฏฺฐ(กิตก์) วินาโส(ปุ.)

ฉีก         ผาเลตฺวา(กิตก์) ผาเลติ(อาข.) ฉิชฺชติ(อาข.)

ฉีกออก         อนุคฺฆาเฏติ(อาข.) โอปาเฏติ(อาข.)

ฉุด         อจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์) อากณฺฑิตฺวา(กิตก์) อากฑฺฒติ(อาข.)

เฉียบแหลม        พฺยตฺต(คุณ.) ปุฏ(คุณ.)

เฉื่อยชา        ทีฆสุตฺต(คุณ.) จิรกฺริย(คุณ.) จิรายติ(อาข.)

โฉบลง         ภสฺสิ(อาข.)

ไฉนหนอ        ยนฺนูน(นิปาต)

ช-อักษร

ชกกัน        นิพฺพุทฺธํ(นปุ.) ยุญฺชติ(อาข.)

ชกมวย        นิพฺพุทฺธํ(นปุ.) ภินฺทนํ(นปุ.) ภินฺทนํ(นปุ.)

ชฎาผม        ชฏา(อิตฺ.)

ชฎิล        ชฏิโล(ปุ.) ชฏาธโร(ปุ.)

ชนทุกชาติทุกชั้น         นานาโคตฺตา(อิตฺ.) นานานชฺชา(อิตฺ.)

ชนม์ชีพ         ชีวิตํ(นปุ.)

ชนะ         ชโย(ปุ.) วิชโย(ปุ.) ชินิ(อาข.) โอชินาติ(อาข.) ชินาติ(อาข.)

ชบา         โอฬปุปฺผํ(นปุ.) ชปา(อิตฺ.) ชีวสุมนํ(นปุ.) พนฺธุโก(ปุ.) ชยสุมนํ(นปุ.) ภณฺฑิโก(ปุ.) พนฺธุชีวโก(ปุ.)

ชม        ปสตฺถ(คุณ.) วณฺณิต(คุณ.) ถุต(คุณ.)

ชมเชย         อกฺกยติ(อาข.) อภิตฺถวติ(อาข.) อภินนฺทิตฺวา(กิตก์) ถุนิตฺวา(กิตก์) อภิตฺถวิตฺวา(กิตก์) นุติ(อิตฺ.) ถุติ(อิตฺ.) โถมนํ(อิตฺ.) ปสํสา(อิตฺ.)

ชมพู่        ชมฺพู(อิตฺ.) ชมฺพวํ(นปุ.) ชมฺพุ(นปุ.)

ชมศิษย์ที่ควรชม         วากฺเยน ปคฺคณฺหติ(สำนวน)

ชลอปีก         ปกฺเข วิสฺสชฺเชตฺวา(สำนวน)

ชลาลัยในนรก        เวตรณี(อิตฺ.) โลหกุมฺภี(อิตฺ.)

ช่วยถาวร         ถาวรตฺถสาธก(คุณ.)

ช่วยเหลือ         หิตานุหิตํ(นปุ.)

ช่วยเหลือคนทั่วไป         สงฺคเหตา ชเนตานํ(สำนวน)

ช่อ         ถพโก(ปุ.) โคจฺฉโก(ปุ.)

ชอกช้ำ         กิลมิตฺวา(กิตก์) กิลมติ(อาข.) กิลนฺต(กิตก์)

ช่อง        รนฺธํ(นปุ.) วิวรํ(นปุ.) ฉิทฺทํ(นปุ.) กุหรํ(นปุ.) สุสิรํ(นปุ.) พิลํ(นปุ.) สุสิ(อิตฺ.) ฉิคฺคลํ(นปุ.) โสพฺภํ(นปุ.)

ช่องกุญแจ         กุญฺจิกาวิวรํ(นปุ.) ตาฬจฺฉิคฺคโล(ปุ.)

ช่องดาล        กุญฺจิกาวิวรํ(นปุ.) ตาฬจฺฉิคฺคโล(ปุ.)

ช่องทาง         วิวรํ(นปุ.) โอกาโส(ปุ.)

ช้องผม        เวณิ(อิตฺ.) ปเวณิ(อิตฺ.)

ช่องพิณ        โปกฺขโร(ปุ.)

ช่องหู         กณฺณโสตํ(นปุ.)

ช่อดอกไม้        วลฺลรี(อิตฺ.) มญฺชรี(อิตฺ.)

ช้อน        กฏจฺฉุ(ปุ.) ทพฺพิ(อิตฺ.)

ชอบใจ         รุจิ(อิตฺ.) รุจิต(กิตก์) รุจฺจติ(อาข.)

ชอบบ้าง        สาวชฺชกมฺมํ(นปุ.)

ชอบพอกัน         อญฺญมญฺญสฺส มิตฺตภูตา โหนฺติ สหายภูตา(สำนวน)

ช่อฟ้า        กูฏํ(นปุ.) กณฺณิกา(อิตฺ.)

ชะนี         โคนงฺคลี(อิตฺ.) กณฺหตุณฺโฑ(ปุ.) โคนงฺคุโล(ปุ.)

ชะมด        กตฺถูริกา(อิตฺ.) มิคมโท(ปุ.) ปิยโก(ปุ.) จมุรุ(ปุ.) กทลิมิโค(ปุ.)

ชะเอม         อติวิสา(อิตฺ.) มุณฺฑา(อิตฺ.) มธุรสา(อิตฺ.)

ชะเอมเกลือ        ลฏฺฐิมธุกํ(นปุ.)

ชะเอมเครือ        มธุกํ(นปุ.) ยฏฺฐิมธุกา(อิตฺ.) มธุลฏฺฐิกา(อิตฺ.)

ชะเอมต้น        มโหสธํ(นปุ.) อติวิสา(อิตฺ.)

ชัก          อาวิญฺชติ(อาข.) อาวิญฺชนํ(นปุ.)

ชักชวน         สมาทเปตฺวา(กิตก์) สมาทเปติ(อาข.)

ชักดาบ         อสึ นิกฺกฑฺฒิ (สำนวน)

ชักมา         อากณฺฑิตฺวา(กิตก์) อาหริตฺวา(กิตก์)

ชัฏ        สณฺฑํ(ปุ.)(นปุ.)

ชัฏภูเขา         วนสณฺโฑ(ปุ.) ปพฺพตคหนํ(นปุ.)

ชัน         ตุรุกฺโข(ปุ.) ปิณฺฑโก(ปุ.) ยกฺขธูโป(ปุ.)

ชั้น        ภูมิ(อิตฺ.)

ชั้นดี         ปณีตา(คุณ.)

ชัยชนะ        ชโย(ปุ.) วิชโย(ปุ.)

ชัยพฤกษ์         ชยสุวณฺณปุปฺผํ(นปุ.)

ชัยมงคล         ชยมงฺคโล(ปุ.)

ชั่ว         ทุจฺจริต(คุณ.)

ชั่วครู่         อิตฺตร(คุณ.)

ชั่วโมง         ฆฏิกา(อิตฺ.)

ชั่วร้าย         จณฺฑ(คุณ.)

ช่างกลึง        จุนฺทกาโร(ปุ.) ภมกาโร(ปุ.)

ช่างก่ออิฐ         อิฏฺฐิกาวฑฺฒกี(ปุ.)

ช่างกัลบก        กปฺปโก(ปุ.) นหาปิโต(ปุ.)

ช้างแก่        ชิณฺณหตฺถี(ปุ.)

ช่างขุดร่องน้ำ        เนตฺติโก(ปุ.) อุทหารโก(ปุ.)

ช่างเขียน        รงฺคาชีโว(ปุ.) จิตฺตกาโร(ปุ.)

ช่างดอกไม้        มาลากาโร(ปุ.) มาลิโก(ปุ.)

ช้างตกมัน        ปภินฺโน(ปุ.) มตฺโต(ปุ.) คชฺชิโต(ปุ.) มตฺตหตฺถี(ปุ.)

ช่างตัดผม         กปฺปโก(ปุ.) นหาปิโต(ปุ.) เกโสหารโก(ปุ.)

ช้างตัวประเสริฐ        วรวารโณ(ปุ.)

ช้างตัวผู้         หตฺถี(ปุ.) มาตงฺโค(ปุ.) กรี(ปุ.) กุญฺชโร(ปุ.) นาโค(ปุ.) คโช(ปุ.) วารโณ(ปุ.)

ช้างตัวเมีย         หตฺถินี(อิตฺ.) กเรณุกา(อิตฺ.)

ช้างแต่งเสร็จสัพ        สชฺชิโต(ปุ.) กปฺปิโต(ปุ.)

ช่างถาก         ตจฺฉก(ปุ.)

ช่างทอง          สุวณฺณกาโร(ปุ.) นาฬินฺธโม(ปุ.) กมฺมาโร(ปุ.)

ช้างน้อย        หตฺถิจฺฉาโป(ปุ.)

ช่างปั้น         ปฏิมากโร(ปุ.) ปฏิพิมฺพกาโร(ปุ.)

ช้างพระที่นั่ง        อุปวยฺโห(ปุ.) ราชวยฺโห(ปุ.)

ช้างพระอินทร์        เวราวโณ(ปุ.)

ช้างพลาย        กุญฺชโร(ปุ.) วารโณ(ปุ.) หตฺถี(ปุ.) มาตงฺโค(ปุ.) ทฺวิรโท(ปุ.) คโช(ปุ.) นาโค(ปุ.) ทฺวิโป(ปุ.) อิโภ(ปุ.) ทนฺตี(ปุ.)

ช้างพัง (ตัวเมีย)        หตฺถินี(อิตฺ.) กเณรุกา(อิตฺ.)

ช่างฟอก        นินฺเนชโก(ปุ.) รชโก(ปุ.)

ช้างมาร        คิริเมขโล(ปุ.)

ช่างไม้        ตจฺฉโก(ปุ.) วฑฺฒกี(ปุ.) ผลคณฺโฑ(ปุ.) ถปติ(ปุ.) รถกาโร(ปุ.)

ช่างเย็บ        ตุนฺนวาโย(ปุ.) โสจิโก(ปุ.)

ช้างรุ่น        กฬโภ(ปุ.) ภึโก(ปุ.) ภิงฺโค(ปุ.)

ช่างโลหะ        กมฺมาโร(ปุ.) โลหการโก(ปุ.)

ช่างศร        อุสุกาโร(ปุ.) อุสุวฑฺฒกี(ปุ.)

ช่างศิลป์ ๕ กลุ่ม        ตจฺฉโก(ปุ.)ช่างไม้ ตนฺตวาโย(ปุ.)ช่างหูก รชโก(ปุ.)ช่างย้อม นหาปิโต(ปุ.)ช่างกัลบก จมฺมกาโร(ปุ.)ช่างหนัง

ช้างสะเทิน        หตฺถิถลโภ(ปุ.)

ช่างสาน         วิลีวกาโร(ปุ.) เวโน(ปุ.) วิลีวกาโร(ปุ.) นฬกาโร(ปุ.)

ช่างหนัง        จมฺมกาโร(ปุ.) รถกาโร(ปุ.)

ช้างหนุ่ม        ตรุณหตฺถี(ปุ.)

ช่างหม้อ        กุมฺภกาโร(ปุ.) กุลาโล(ปุ.)

ช่างหล่อ         ปฏิมากโร(ปุ.) ปฏิพิมฺพกาโร(ปุ.)

ช่างหูก        ตนฺตวาโย(ปุ.) เปสกาโร(ปุ.)

ช่างเหอะ        โหตุ(อาข.)

ชาติไทย         ทยฺยชาติ(อิตฺ.) ภุชิสฺสตา(อิตฺ.)

ชาติหน้า        สมฺปราโย(ปุ.)          

ชานเมือง        ปริสโร(ปุ.)

ชาม         ถาวิกา(อิตฺ.) อารญฺชํ(นปุ.) สราโว(ปุ.) มลฺลโก(ปุ.)

ชาย         นโร(ปุ.) มนุสฺโส(ปุ.) ปุริโส(ปุ.)

ชายคา         นิพฺพ(นปุ.) นิมฺพํ(นปุ.) นิมฺพโกส(ปุ.)

ชายชู้         อุปปติ(ปุ.) ชาโร(ปุ.)

ชายทะเล         สมุทฺทปฺปเทโส(ปุ.)

ชายผ้า         ทส(นปุ.) วตฺถทส(นปุ.)

ชายผ้านุ่ง         นิวาสนกณฺโณ(ปุ.) ทุสฺสนฺตํ(นปุ.)

ชายฝั่ง         ตีรํ(นปุ.)

ชายพก        อุจฺฉงฺโค(ปุ.) องฺโก(ปุ.)

ชายหนุ่ม        ทหโร(ปุ.) ยุวา(ปุ.) ตรุโณ(ปุ.)

ชายาพระอินทร์        สุชาตา(อิตฺ.)

ชาวกุสินารา         กุสินารวาสี(ปุ.)

ชาวเขา        ปพฺพตวาสี(คุณ.) คิริวาสี(คุณ.)

ชาวชนบท        ชานปทา(ปุ.)

ชาวตลาด         อาปณิโก(ปุ.)

ชาวนา        เขตฺตาชีโว(ปุ.) กสฺสโก(ปุ.) กสโก(ปุ.)

ชาวบ้าน         คามวาสี(ปุ.)

ชาวประมง        ธีวโร(ปุ.) มจฺฉิโก(ปุ.) มจฺฉพนฺธุ(ปุ.) เกวฏฺโฏ(ปุ.) ชาลิโก(ปุ.) มจฺฉพนฺโธ(ปุ.)

ชาวป่า         วนวาสี(ปุ.) วนจรโก(ปุ.)

ชาวพระนคร          นครวาสี(ปุ.) นาคโร(ปุ.)

ชาวพุทธ         พุทฺธามามก(ปุ.) พุทฺธสาสนิก(ปุ.)

ชาวเมือง         นาคโร(ปุ.) นาคริโก(ปุ.) นครวาสี(ปุ.)

ชำนาญการ         กตหตฺถ(คุณ.) ทกฺข(คุณ.) นิปุณ(คุณ.) ปวีณ(คุณ.) วสี(คุณ.) ปคุณ(คุณ.) อุปค(คุณ.) กตหตฺถ (คุณ.) กุสล(คุณ.) อภิญฺญ(คุณ.) สิกฺขิต(คุณ.) ปฏุ(คุณ.) เฉก(คุณ.) จตุร(คุณ.) เปสล(คุณ.)

ชำนาญการเล่นดนตรี         คิโตปค(คุณ.)

ชำระ (หนังสือ)         วลญฺชิต(กิตก์) โธวิตฺวา(กิตก์) มุทฺทิต(กิตก์) สุชฺฌติ(อาข.) วิโสเธตฺวา(กิตก์)

ชำระคัมภีร์         โสธนํ(นปุ.) ปโสธิต(กิตก์) โสธิต(กิตก์)

ชำระวิหาร         วิหารปฏิชฺชคก(คุณ.)

ชำแรก         ปทาเลตฺวา(กิตก์)

ชำแหละ         อุพฺพตฺเตตฺวา(กิตก์)

ชิง         อจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์) วิลุมฺปติ(อาข.)

ชิงชี่        ฌาวุโก(ปุ.) ปิจุโล(ปุ.)

ชิด        นิรนฺตร(คุณ.)

ชิ้น         กพโล(ปุ.)

ชิ้นน้อย         โจลก(นปุ.)

ชิ้นเนื้อ         มํสเปสิ(อิตฺ.)

ชิ้นเล็กชิ้นน้อย         หิราหิรํ(นปุ.)

ชี้         องฺคุลิยา ทสฺสิยมานา(สำนวน) องฺคุลิยา นิทฺทิสนฺโต(สำนวน)

ชี้แจง         ปฏินิเวเทตฺวา(กิตก์) ทสฺเสติ(อาข.) นิทฺเทเสติ(อาข.)

ชีต้น         กุลุปโก(ปุ.)        

ชีวิต        ปาโณ(ปุ.) อสุ(ปุ.) ชีวิตํ(นปุ.)

ชีวิตินทรีย์        อายุ(นปุ.) ชีวิตํ(นปุ.)

ชื่นชม        ปีต(คุณ.) ปมุทิต(คุณ.) หฏฺฐ(คุณ.) ปหฏฺฐ(คุณ.) มตฺต(คุณ.) ตุฏฺฐ(คุณ.)

ชื่อ        สญฺญา(อิตฺ.) อาขฺยา(อิตฺ.) อวฺหา(อิตฺ.) สมญฺญา(อิตฺ.) อภิธานํ(นปุ.) นามํ(นปุ.) อวฺหโย(ปุ.) นามเธยฺยํ(นปุ.) อธิวจนํ(นปุ.)

ชื่อของสาธนะ ๗        ปจฺจตฺต(ปฐมาวิภตฺติ) กมฺมตฺถ(ทุติยาวิภตฺติ) อุปโยค(ทุติยาวิภตฺติ), กรณ(ตติยาวิภตฺติ), สมฺปทาน(จตุตฺถีวิภตฺติ), อปาทาน(ปญฺจมีวิภตฺติ) นิสฺสกฺก(ปญฺจมีวิภตฺติ), สามิ(ฉฏฺฐีวิภตฺติ), ภุมฺม(สตฺตมีวิภตฺติ) อาธาร(สตฺตมีวิภตฺติ)        

ชื่อว่าพระยสะ         ยสวฺหโย(ปุ.)  

ชื่อสรรพสิ่ง         สพฺพนามํ(นปุ.)

ชื่อเสียง         กิตฺตสทฺโท(ปุ.)

ชื่อเสียง         กิตฺติ(อิตฺ.) กิตฺตี(อิตฺ.) กิตฺติคุณ(คุณ.) กิตฺติสทฺท(คุณ.)

ชุ่มชื่น         ตินฺต(กิตก์) ตมติ(อาข.)

ชุมทาง        สนฺธิ(อิตฺ.) สงฺฆฏนํ(นปุ.)

ชุ่มเปียก          ตินฺต(กิตก์) กิลินฺน(กิตก์)

ชุมเห็ด        ปปุนฺนาโฏ(ปุ.) เอฬคโล(ปุ.)

ชูงวง         โสณฺฑํ อุกฺขิปิตฺวา (สำนวน)

เช็ด         ปญฺฉนํ(นปุ.) ปุญฺฉิตฺวา(กิตก์)

เช็ดธุลี         รโชหรณํ(นปุ.)

เชลย        วนฺทิ(อิตฺ.) กรมโร(ปุ.)

เช้า        ปภาตํ(นปุ.) วิภาตํ(นปุ.) ปจฺจูโส(ปุ.) กลฺลํ(นปุ.) ปาโต(นิปาต)

เช้าตรู่        ปาโต(นปุ.) อรุณุคฺคมน(นปุ.) สุริยุคฺคมน(นปุ.) ปุพฺพณฺหสมย(ปุ.)                

เช้ามืด        พลวปจฺจูสสมย(ปุ.) ปจฺจูสกาล(ปุ.)

เชิงตะกอน        จิตโก(ปุ.) จิตา(อิตฺ.)

เชิงเทิน        อุทฺทาโป(ปุ.) อุปการิกา(อิตฺ.)

เชิญ        นิมนฺเตติ(อาข.) นิมนฺตนํ(นปุ.)

เชิญเถิด        หนฺท(นิปาต) อิงฺฆ(นิปาต)

เชียงใหม่        พิงฺคนครํ(นปุ.) ชมฺมยฺย(นปุ.)

เชือก        โยตฺตํ(นปุ.) รชฺชุ(อิตฺ.) รสฺมิ(อิตฺ.)

เชือกเกลียว        วฏากาโร(ปุ.)

เชือกผูกตัวช้าง        กจฺฉา(อิตฺ.)

เชือกผูกวัว        สนฺทานํ(นปุ.) ทามํ(นปุ.)

เชือกรัดจมูก        กุสา(อิตฺ.)

เชือกหนัง        วรตฺตา(อิตฺ.) วฏฺฏิกา(อิตฺ.) นทฺธี(อิตฺ.)

เชื้อเชิญ         อชฺเฌสนา(อิตฺ.) นิมนฺตนํ(นปุ.)

เชื้อไฟเชื้อเพลิง        สมิธา(อิตฺ.) อิธุมํ(นปุ.) เอโธ(ปุ.) อุปาทานํ(นปุ.) อินฺธนํ(นปุ.)

เชื้อเหล้า        กิณฺณํ(นปุ.)

แช่ง         อกฺโกโส(ปุ.) อกฺโกสิ(อาข.) อกฺกุฏฺโฐ(กิตก์) อภิสปิตฺวา(กิตก์) สโป(ปุ.)

โชติช่วง         ปชฺชลติ(อาข.) ปชฺชลิต(กิตก์)

ใช้สอย         ปริโภเชตฺวา(กิตก์)  ปริโภโค(ปุ.)

ซ-อักษร

ซวนแซ         อุกฺกุฏิก(คุณ.) ปริพฺภมิ(อาข.)

ซอก         กณฺทโร(ปุ.)

ซอกเขา        ทรี(อิตฺ.) กนฺทร(ปุ.)(อิตฺ.)

ซองมือ        ปสโต(ปุ.)

ซ่อน         ปริคุยฺหนฺติ(อาข.) ปฏิจฺฉาเทติ(อาข.) คุฬฺห(คุณ.) คุตฺต(คุณ.)

ซ้อม         ทมิตฺวา(กิตก์)

ซ้อมมวย         ยุทฺธํ ยุชฺเฌตฺวา นิลีโน(สำนวน)

ซัก         โธต(กิตก์) โธวิต(กิตก์) ปยต(กิตก์) โธวติ(อาข.)

ซักผ้า         โธวิ(อาข.)

ซัด        ขิตฺต(กิตก์) วิทฺธ(กิตก์) ขิปิต(กิตก์) ขิตฺต(กิตก์) นุนฺน(คุณ.) นุตฺต(คุณ.) อตฺต (คุณ.) ขิตฺต(คุณ.) อิริต(คุณ.) อาวิทฺธ(คุณ.)

ซัดไป         วิสฺสชฺเชติ(อาข.) วิสฺสชฺชติ(อาข.)

ซากงู         อหิกุณปํ(นปุ.)

ซากศพ        กุณโป(ปุ.)(นปุ.) ฉโว(ปุ.)(นปุ.)

ซ่านออก         นิกฺขนฺต(กิตก์) นิสฺสรนฺต(กิตก์)

ซาบซ่านจิตและตา        อพฺยาเสก(คุณ.) อเสจน(คุณ.)

ซ้าย         วามโต(อพฺยย.)

ซี่โครง        ผาสุลิกา(อิตฺ.) ผาสุกา(อิตฺ.)

ซี่เหล็ก         อยสลากา(อิตฺ.)

ซึ่งกันและกัน        อญฺญมญฺญ(นปุ.)

ซึมซาบ         ลิปฺปติ(อาข.)

ซื้อ         กโย(ปุ.) กีณนฺต(กิตก์) กีนาติ(อาข.) กีณิต(กิตก์) กีต(กิตก์) กีณาติ(อาข.) มูเลน คณฺหาติ(สำนวน)        

ซื่อตรง         ปคุณ(คุณ.) อชินมฺห(คุณ.) อุชุ(คุณ.)

ซุ้มประตู         โกฏฺฐกํ(นปุ.) โคปุรํ(นปุ.) ทฺวารโกฏฺฐโก(ปุ.)

ซูบผอม         ลูข(คุณ.) กีส(คุณ.) ทุพฺพณฺณ(คุณ.) สุสฺสิตฺวา(กิตก์) มิลายิ(อาข.)

เซ่นสรวง        อจฺจนา(อิตฺ.) ยญฺโญ(ปุ.)

ไซ        กุเวณี(อิตฺ.) กุมินํ(นปุ.)

ญ-อักษร

ญาณจักษุ          ญาณโลจโน(ปุ.)

ญาติ         ญาติ(ปุ.) ญาตโก(ปุ.) ญาติโก(ปุ.) พนฺธุ(ปุ.) สาโลหิต(ปุ.) พนฺธโว(ปุ.) สชโน (ปุ.) สโคตฺโต(ปุ.) ญาติ(ปุ.)

ญาติพี่น้อง         ญาติสาโลหิต(ปุ.)

ญาติสายโลหิต        สาโลหิโต(ปุ.) สปิณฺโฑ(ปุ.)

ฎ-อักษร

ฎีกา         ทีปนี(อิตฺ.) ฏีกา(อิตฺ.)

ฐ-อักษร

ฐานะน่านับถือ         ครุฏฺฐานียฏฐานํ(นปุ.)

ฒ-อักษร

เฒ่า         มหลฺลก(คุณ.) วุฑฺฒ(คุณ.) ชิณฺณ(คุณ.)

ด-อักษร

ดง        มหารญฺญํ(นปุ.) อรญฺญํ(นปุ.)

ดงไม้         อฏวี(อิตฺ.)

ดนตรี         คีต(นปุ.) สงฺคีต(นปุ.)

ดรรชนี        ตชฺชนี(อิตฺ.)

ด้วง         กากรุโก(ปุ.)

ดวงจันทร์        อินฺทุ(ปุ.) จนฺโท(ปุ.) นกฺขตฺตราชา(ปุ.) โสโม(ปุ.) นิสากโร(ปุ.) โอสธีโส(ปุ.)  หิมรํสิ(ปุ.) สสํโก(ปุ.) จนฺทิมา(ปุ.) สสี(ปุ.) นิสานาโถ(ปุ.) อุฬุราชา(ปุ.) มา(ปุ.) จนฺทิมา(ปุ.) สสี(ปุ.)

ดวงอาทิตย์        อาทิจฺโจ(ปุ.) สุริโย(ปุ.) สูโร(ปุ.) สตรํสิ(ปุ.) ทิวากโร(ปุ.) เวโรจโน(ปุ.) ทินกโร (ปุ.) อุณฺหรํสิ(ปุ.) ปภากโร(ปุ.) อํสุมาลี(ปุ.) ทินปติ(ปุ.) ตปโน(ปุ.) รวิ(ปุ.)     ภานุมา(ปุ.) รํสิมา(ปุ.) อาภากโร(ปุ.) ภานุ(ปุ.) อกฺโก(ปุ.) สหสฺสรํสิ(ปุ.)

ดวงอาทิตย์ทรงกลด        ปริธี(ปุ.) ปริเวโส(ปุ.) ปภงฺกโร(ปุ.)

ด่วน        สีฆํ(นิปาต) ตุริตํ(นิปาต) ลหุ(นปุ.) อาสุ(นิปาต) ตุณฺณํ(นิปาต) อรํ(นิปาต)อวิลมฺพิตํ(นิปาต) ตุวฏํ(นิปาต) สีฆสีฆํ(นิปาต) ขิปฺปํ(นิปาต) ตุริตตุริตํ(นิปาต)

ด้วยการบูชาอย่างเต็มที่         ปูเรติ(อาข.) ปรมปูชา(อิตฺ.)

ด้วยความรู้         สุคฺคหิตพุทฺธิยา(ตติยา)

ดอกคำ        กุสุมฺภํ(นปุ.)

ดอกบัว         กมลํ(นปุ.) อุปลํ(นปุ.) ปทุมํ(นปุ.) ปทุโม(ปุ.) โปกฺขรํ(นปุ.) อุปฺปลํ(นปุ.) กุวลยํ(นปุ.)

ดอกมะลิ        สุมนปุปฺผํ(นปุ.) สุมนา(อิตฺ.) ชาติสุมนา(อิตฺ.) มาลตี(อิตฺ.) ชาติ(อิตฺ.) วสฺสิกี (อิตฺ.) วสฺสิกา(อิตฺ.)

ดอกไม้        ปสโว(ปุ.) กุสุมํ(นปุ.) ปุปฺผํ(นปุ.) ปุปฺผ(นปุ.) มาลา(อิตฺ.)        

ดองดึง        กรีโร(ปุ.) กกโจ(ปุ.)

ดังก้อง        ปฏิโฆโส(ปุ.) ปฏิรโว(ปุ.)

ดับ         ปรินิพฺพุต(กิตก์) นิพฺพุต(กิตก์)

ดับวูบ         วิชฺฌายึสุ(อาข.)

ดับอย่างสนิท         อเสสวิราคนิโรโธ(ปุ.)

ด่า        อกฺโกสนํ(นปุ.) อภิสฺสงฺโค(ปุ.) อกฺโกโส(ปุ.) อกฺโกสิ(อาข.) อกฺกุฏฺโฐ(กิตก์)

ด่างพร้อย        กมฺมาโส(ปุ.) สพโล(ปุ.) จิตฺโต(ปุ.)

ดาบ        มณฺฑลคฺโค(ปุ.) เนตฺตึโส(ปุ.) อสิ(ปุ.) ขคฺโค(ปุ.) สายโก(ปุ.) อิลฺลี(อิตฺ.)       กรปาลิกา(อิตฺ.)

ดาบส         ตาปโส(ปุ.) อิสิ(ปุ.)

ด้าม         ถรุ(ปุ.)

ด้าย        สุตฺตํ(นปุ.) ตนฺตุ(ปุ.) ตนฺตํ(นปุ.) ตนฺติ(อิตฺ.)

ดาลกุญแจ         อปาปุรณํ(นปุ.) อปาปุรนํ(นปุ.)

ดาว        นกฺขตฺตํ(นปุ.) โชติ(นปุ.) ภํ(นปุ.) ตารา(อิตฺ.) ตารโก(ปุ.) อุฬุ(นปุ.)

ดาวนพเคราะห์        สูโร(ปุ.)จนฺโท(ปุ.) องฺคาโร(ปุ.) พุโธ(ปุ.) สุกฺโก(ปุ.) อสิโต(ปุ.) ราหุ(ปุ.) เกตุ(ปุ.)

ดาวฤกษ์        อสฺสยุโช(ปุ.) ภรณี(อิตฺ.) กตฺติกา(อิตฺ.) โรหิณี(อิตฺ.) มิคสิรํ(นปุ.) อทฺทา(อิตฺ.)   ปุนพฺพสุ(ปุ.) ปุสฺโส (ปุ.)อสิเลสา(อิตฺ.) มฆา(อิตฺ.) ผคฺคุณี(อิตฺ.) หตฺโถ(ปุ.) จิตฺตา(อิตฺ.) สาติ(อิตฺ.) วิสาขา(อิตฺ.) อนุราธา(อิตฺ.) เชฏฺฐา(อิตฺ.) มูลา(อิตฺ.) อาสาฬฺหา(อิตฺ.) สวโณ(ปุ.) ธนิฏฺฐา(อิตฺ.) สตภิสโช(ปุ.) ปุพฺพํ(นปุ.) อุตฺตรํ(นปุ.) ภทฺทปทา(อิตฺ.) เรวติ(อิตฺ.)

ดาษดื่น           อาพทฺธ(กิตก์)

ดำ         กาฬ(คุณ.) กาก(คุณ.) นีล(คุณ.) กณฺห(คุณ.) อสิต(คุณ.) กาฬ(คุณ.) เมจก(คุณ.)  สาโม(ปุ.) สามโล(ปุ.)

ดำเนินตามมรรค         อริยํ อฏฺฐงฺคิกํ มคฺคํ ภาเวติ อาเสวติ พหุลีกโรติ(สำนวน)

ดำเนินไป         คจฺฉติ(อาข.) คมิ(อาข.) ยาติ(อาข.) นิยฺยานํ(นปุ.) คมนํ(นปุ.) ยาตฺตรา(อิตฺ.)  ปฏฺฐานํ(นปุ.) คโม(ปุ.) คติ(อิตฺ.) อคมาสิ(อาข.) ปายาสิ(อาข.) ปฏิปชฺชิ(อาข.) คต(กิตก์) ปชฺชนฺต(กิตก์) จรมาน(กิตก์) จรติ(อาข.)

ดำรง         ฐตฺวา(กิตก์) ติฏฺฐติ(อาข.) ฐาติ(อาข.)

ดำรงชีพ        ชีวติ(อาข.) วาสํ กปฺเปสิ(สำนวน)  ชีวตึ กปฺเปสิ(สำนวน) ฐิติ(อิตฺ.) ชีวนํ(นปุ.) ฐานํ(นปุ.)                

ดำรงอยู่         ปติฏฺฐาติ(อาข.) ปติฏฺฐหติ(อาข.)

ดำเหลือง        กฬาโร(ปุ.) กปิโล(ปุ.) สาโว(ปุ.)

ดิถี        ติถิ(ปุ.)(อิตฺ.)

ดิถีดับ        อมาวสี(อิตฺ.) อมาวาสี(อิตฺ.)

ดิถีที่ ๑๕        ปณฺณรสี(อิตฺ.) ปญฺจทสี(อิตฺ.)

ดิถีเพ็ญ        ปุณฺณมาสี(อิตฺ.) ปุณฺณมา(อิตฺ.)

ดิน         มตฺติกา(อิตฺ.) ปฐวี(อิตฺ.)  ภูมิ(อิตฺ.)

ดินเค็ม        โอโส(ปุ.)

ดิ้นรน        ตณฺหา(อิตฺ.) โปโนพฺภวิกา(อิตฺ.) นนฺทิราคสหคตา(อิตฺ.) ตตฺราภินนฺทินี(อิตฺ.) นนฺทิ (อิตฺ.) ราโค(ปุ.) สาราโค(ปุ.)

ดินสอ         อพฺภกเลขนี(อิตฺ.)

ดินเหนียว         มตฺติกา(อิตฺ.)

ดิลก        ติลกํ(นปุ.)

ดี        ภทฺท(คุณ.) เสยฺย(คุณ.) สุภ(คุณ.) เขม(คุณ.)กลฺยาณ(คุณ.) มงฺคล(นปุ.) สุกฏ(คุณ.) สุกฺก(คุณ.) สาธุ(คุณ.) สุข(คุณ.) สิวํ(นปุ.)

ดีใจ         ปสนฺนมานส(คุณ.) หฏฺฐปฺปฏฺฐ(คุณ.) ตุฏฺฐจิตฺต(คุณ.) สุมน(คุณ.) ปสนฺนจิตฺต(คุณ.) วิปฺปสนฺน(คุณ.) อุทคฺคุทุคฺค(คุณ.) ลคฺคจิตฺต(คุณ.) ตุฏฺฐมานส(คุณ.)  สุมน(คุณ.) หฏฺฐจิตฺต(คุณ.)

ดีดนิ้วมือ         องฺคลิโปฐํ(นปุ.) อจฺฉราสงฺฆาโต(ปุ.)

ดีบุก        กาฬติปุ(นปุ.) สีสํ(นปุ.)

ดีปลี        ปิปฺปลี(อิตฺ.) มาคธี(อิตฺ.) กฏุกผลํ(นปุ.)

ดีปลีใหญ่        โกลวลฺลี(อิตฺ.) อิภปิปฺผลี(อิตฺ.)

ดึกดำบรรพ์         โปราณกาโล(ปุ.)

ดึงมา         อากฑฺฒิตฺวา(กิตก์) อากฑฺฒติ(อาข.) อากฑฺฒนํ(นปุ.)  

ดื่ม         ปิวติ(อาข.) ปาติ(อาข.) ปิวนฺต(กิตก์) ปิวมาน(กิตก์) ปีต(กิตก์) ปิวิต(กิตก์)     ปิวิตฺวา(กิตก์) ปิวิตพฺพ(กิตก์) ปานํ(นปุ.) ปิวนํ(นปุ.) ปีติ(อิตฺ.)

ดื่มฉลองชัย         ชยปานํ(นปุ.)

ดุ         ขุเสติ(อาข.) ขุสติ(อาข.)        

ดุม        นาภิ(อิตฺ.)

ดุร้าย         กกฺกส(คุณ.) กกฺขฏ(คุณ.) กกฺขฬ(คุณ.) จณฺฑ(คุณ.) อุคฺค(คุณ.) ขร(คุณ.)

ดูแลอย่างดี         สเมน ธมฺเมน รกฺขิตํ โหติ โคปิตํ(สำนวน)

ดูหมิ่น        อวมานํ(นปุ.) อวมานิต(กิตก์)  อวมญฺญิต(กิตก์) อปริภูต(กิตก์) อวมาเนติ  (อาข.) หีเฬติ(อาข.) อวมญฺญิ(อาข.) ปริภวิ(อาข.) ติรกฺกาโร(ปุ.) ปริภโว(ปุ.) อนาทโร(ปุ.) ปราภโว(ปุ.) อวญฺญา(อิตฺ.)

ดูเหมือนจะมีแต่ความสุข         สุขสญฺญี โหติ สุขทสฺสาวี (สำนวน)

เด็กชาย        กุมาโร(ปุ.) กุมารโก(ปุ.) ทารโก(ปุ.)

เด็กยังดื่มนม        อุตฺตานสย(คุณ.) อุตฺตานเสยฺยก(คุณ.) ถนป(คุณ.)

เด็กหญิง        กุมารี(อิตฺ.) กุมาริกา(อิตฺ.) ทาริกา(อิตฺ.)

เดรัจฉาน         ติรจฺฉาโน(ปุ.) ติรจฺฉานคโต(ปุ.)

เดิน         ปาเทหิ คโต(สำนวน)

เดินช้า        มนฺทคามี(คุณ.) มนฺถร(คุณ.)

เดินทาง         มคฺคปฏิปนฺน(คุณ.)

เดินเร็ว        ชวน(คุณ.) ตุริ(คุณ.) เวคี(คุณ.)

เดินสมาธิ         จงฺกมติ(อาข.)

เดินสำรวจ         จงฺกมติ(อาข.)

เดี๋ยวนี้         อิทานิ(นิปาต)

เดือดดาล         ปติตฺถีน(คุณ.)

เดือดร้อน         วิเหเฐติ(อาข.)

เดือน        มาโส(ปุ.)

เดือนกรกฎาคม         อาสาฬฺหมาโส(ปุ.) เสฏฺโฐ(ปุ.)

เดือนกันยายน         โปฏฺฐมาโส(ปุ.) สาวโณ(ปุ.) นิกฺขมนีโย(ปุ.)

เดือนกุมภาพันธ์        ปุสฺโส(ปุ.) มาฆมาโส(ปุ.)

เดือนตุลาคม        โปฏฺฐปาโท(ปุ.) อสฺสยุชมาโส(ปุ.)

เดือนธันวาคม        กตฺติโก(ปุ.) ปจฺฉิมกตฺติโก(ปุ.) มาคสิรมาโส(ปุ.)

เดือนพฤศจิกายน        อสฺสยุโช(ปุ.) ปุพฺพกตฺติโก(ปุ.) กตฺติกมาโส(ปุ.) ปฐมมาโส(ปุ.)

เดือนพฤษภาคม         จิตฺตมาโส(ปุ.) วิสาขมาโส(ปุ.) เวสาขมาโส(ปุ.) รมฺมโก(ปุ.)

เดือนมกราคม         ผุสฺสมาโส(ปุ.) ปุสฺสมาโส(ปุ.) มิคสิโร(ปุ.)

เดือนมิถุนายน         เชฏฺฐมาโส(ปุ.) วิสาโข(ปุ.)

เดือนมีนาคม         ผคฺคมาโส(ปุ.) มาโฆ(ปุ.)

เดือนเมษายน         จิตฺตมาโส(ปุ.) ผคฺคุโณ(ปุ.)

เดือนสิงหาคม         สาวณมาโส(ปุ.) อาสาฬฺโห(ปุ.)

แดง         โสโณ(ปุ.) โลหิโต(ปุ.) รตฺโต(ปุ.) ตมฺโพ(ปุ.) มญฺเชฏฺโฐ(ปุ.) โรหิโต(ปุ.)

แดงจาง ชมพู        ปาฏโล(ปุ.)

แดงอ่อน        อรุโณ(ปุ.)

แดนบ้าน         คามุปจาโร(ปุ.)

แดนประหาร        อาฆาตนํ(นปุ.)

โด่งดัง        ขฺยาต(คุณ.) ปตีต(คุณ.) ปญฺญาต(คุณ.) อภิญฺญาต(คุณ.) ปถิต(คุณ.) สุต(คุณ.) วิสฺสุต(คุณ.) วิทิต(คุณ.) ปสิทฺธ(คุณ.) ปากฏ(คุณ.)

โดยเคารพ         สกฺกจฺจํ(นิปาต)

โดยชอบ        สมฺมา(นิปาต)

โดยดี        สุฏฺฐุ(นิปาต)

โดยลำดับ         อนุปุพฺเพน(นปุ.)  อนุกฺกเมน(ปุ.) ปฏิปาฏิยา(อิตฺ.)

โดยลำดับก่อนหลัง        อนุปุพฺเพน(นปุ.)        

โดยลำดับสถานที่เวลา        อนุกฺกเมน(ปุ.)        

โดยสวัสดี        โสตฺถิภาเวน(ปุ.)

โดยอำนาจ        วเสน(นปุ.)        

ได้          ลทฺธ(คุณ.) ปตฺต(คุณ.) คต(คุณ.) ลาโภ(ปุ.) ลภนํ(นปุ.)

ได้เป็นนักปราชญ์         พฺยตฺตา อเหสุ ปฏิพลา ปณฺฑิตา(สำนวน)

ได้ผลไพบูลย์         มหปฺผลํ โหติ มหานิสํสํ(สำนวน)

ได้เฝ้าแทน         ทสฺสนาทิกิจฺจํ ปฏิลภึสุ(สำนวน)

ได้ยินแค่สองคน        จตุกฺกณฺโณ(ปุ.)

ได้ยินแค่สามคน        ฉกฺกณฺโณ(ปุ.)

ได้ยินมา        กิร(นิปาต) อนุสฺสวนํ(นปุ.) สุณาติ(อาข.)

ได้รับ          นิคจฺฉติ(อาข.) วินฺทติ(อาข.) ปฏิลภติ(อาข.)

ได้รับความวิบัติ        วิปตฺตึ อาปนฺน(สำนวน)

ได้รับเชิญ         ลทฺธชฺเฌชน(คุณ.)

ต-อักษร

ตก        ภฏฺฐ(คุณ.) คลิต(คุณ.) ปนฺน(คุณ.) จุต(คุณ.) ธํสิต(คุณ.) อตฺถงฺคเมติ(อาข.)  ปตติ(อาข.) ปปตติ(อาข.) ภสฺสติ(อาข.)

ตกกระ        ติลโก(ปุ.) ติลกาฬโก(ปุ.)

ตกไข่         อณฺฑานิ วิชายิ (สำนวน)

ตกแต่ง         ปฏิยาเทติ(อาข.) มณฺเฑติ(อาข.) ปิลนฺธติ(อาข.) ปฏิปาเทสิ(อาข.) อลงฺกโรติ(อาข.) มณฺฑยติ(อาข.) ปสาเธติ(อาข.) ปิลนฺธติ(อาข.)  อภิสงฺขโรติ        

ตกเป็นเมืองขึ้น         วสํ คตา(สำนวน) หตฺถคตํ อโหสิ(สำนวน)

ตกลง         ปฏิชานาติ(อาข.)

ตกอยู่ในอำนาจ         วสํ อนุวตฺตติ(สำนวน)

ตติยาวิภัตติ        ตติยาวิภตฺติ(อิตฺ.) กรณ(นปุ.)        

ต้น        ตาว(นิปาต) ปฐม(นิปาต)

ต้นกาแฟ         กทมฺโพ(ปุ.) การกิณี(ปุ.) กาฬกณฺณิ(ปุ.) กาผิคจฺโฉ(ปุ.)

ต้นการเกด         เกตโก(ปุ.) เกตกี(อิตฺ.)

ต้นกุ่ม         กรญฺโช(ปุ.) กเรริ(ปุ.) วรุณรุกฺโข(ปุ.) อชฺชุโน(ปุ.) กกุโธ(ปุ.)

ต้นเกด        ขิกา(อิตฺ.) ราชายตนํ(นปุ.)

ต้นขี้เหล็ก        ผคฺคโว(ปุ.)

ต้นคอ         คีวา(อิตฺ.) กณฺธรา(อิตฺ.) สิโรธรา(อิตฺ.)

ต้นคัดเค้า        ยูถิกา(อิตฺ.) มาคธี(อิตฺ.)

ต้นคูน        ตาปิญฺโช(ปุ.) ตมาโล(ปุ.)

ต้นจิก        นิจุโล(ปุ.) มุจลินฺโท(ปุ.) นีโป(ปุ.)

ต้นซึก        สิรีโส(ปุ.) ภณฺฑิโก(ปุ.)

ต้นตะโหนด        โคลีโส(ปุ.) ฌาฏโล(ปุ.)

ต้นเต็ง        ตินีโส(ปุ.) อติมุตฺตโก(ปุ.)

ต้นทุน        มูลํ(นปุ.) ปาภตํ(นปุ.)

ต้นไทร         นิโคฺรโธ(ปุ.) วโฏ(ปุ.)

ต้นเป้ง        คโล(ปุ.) กาโส(ปุ.)(นปุ.)

ต้นพุทรา        โกลี(อิตฺ.) พทรี(อิตฺ.)

ต้นโพธิ์         อสฺสตฺโต(ปุ.) โพธิรุกฺโข(ปุ.)

ต้นไม้        ปาทโป(ปุ.) วิฏปี(ปุ.) รุกฺโข(ปุ.) อโค(ปุ.) สาโล(ปุ.) มหีรุโห(ปุ.) ทุโม(ปุ.) ตรุ(ปุ.) กุโช(ปุ.) สาขี(ปุ.)

ต้นไม้เจ้าป่า         วนปฺปติ(ปุ.)

ต้นไม้ทิพย์        กปฺปรุกฺโข(ปุ.) สนฺตาโน(ปุ.) มนฺทาโร(ปุ.) ปาริชาตโก(ปุ.) หริจนฺทนํ(นปุ.)

ต้นไม้สวรรค์        โกวิฬาโร(ปุ.) ปาริจฺฉตฺตโก(ปุ.) ปาริชาตโก(ปุ.)

ต้นรกฟ้า         อชฺชุนรุกฺโข(ปุ.)

ต้นรัก        อกฺโก(ปุ.) วิกิรโณ(ปุ.)

ต้นรักดอกขาว        อฬกฺโก(ปุ.)

ต้นรัง         สาลรุกฺโข(ปุ.)

ต้นลาน        ตาฬี(อิตฺ.)

ต้นลำดวน        วาสนฺตี(อิตฺ.) อติมุตฺโต(ปุ.)

ต้นสน        สรโล(ปุ.) ปูติกฏฺฐํ(นปุ.)

ต้นเสม็ด        ภุชปตฺโต(ปุ.) อาภุชี(อิตฺ.)

ต้นโสก        วญฺชุโล(ปุ.) เวตโส(ปุ.)

ต้นหน         นิยามโก(ปุ.) โปตวาโห(ปุ.) มหานาวิโก(ปุ.)

ต้นหนาด        เรณุโก(ปุ.) กปิลา(อิตฺ.)

ต้นหางช้าง        มญฺชิฏฺฐา(อิตฺ.) วิกสา(อิตฺ.)

ต้นเหตุ         สมุฏฺฐานํ(นปุ.) อตฺถุปฺปตฺติ(อิตฺ.)

ตรง        อชิมฺห(คุณ.) ปคุณ(คุณ.) อุชุ(คุณ.)

ตรงกันข้าม         ตพฺพิปริโย(คุณ.) ตพฺพิปรีโต(คุณ.) พฺยตฺตโย(ปุ.) วิปริยโย(ปุ.) วิปริยาโส(ปุ.) อติกฺกโม(ปุ.) อติปาโต(ปุ.) อุปจฺจโย(ปุ.)

ตรวจชำระ         ปโสธิต(คุณ.) โสธิต(คุณ.)

ตรวจดู         วิโลเกติ(อาข.) โวโลเกติ(อาข.) วิโลกนํ(นปุ.)

ตรวจตรา         สมฺมสิตฺวา(กิตก์)

ตรวจปรู๊ฟ         วณฺณโสธก(คุณ.)

ตรอก         รจฺฉา(อิตฺ.) รถิกา(อิตฺ.)

ตระกูล         กุลํ(นปุ.)

ตระกูลช้างสิบตระกูล        กาฬาวโก(ปุ.) คงฺเคยฺโย(ปุ.) ปณฺฑโร(ปุ.) ตมฺโพ(ปุ.) ปิงฺคโล(ปุ.) คนฺโธ(ปุ.)  มงฺคโล(ปุ.) เหโม(ปุ.) อุโปสโถ(ปุ.) ฉทฺทนฺโต(ปุ.)

ตระเตรียม         สํวิทหิตฺวา(กิตก์) ปฏิยชฺเชตฺวา(กิตก์) สํวิทหิตฺวา(กิตก์) ปฏิยาทาเปตฺวา(กิตก์) สชฺเชตฺวา(กิตก์) สมฺปาเทตฺวา(กิตก์)

ตระพังน้ำ        ขาตํ(นปุ.) โปกฺขรณี(อิตฺ.)

ตระพังหิน        สิลาโปกฺขรณี(อิตฺ.) โสณฺที(อิตฺ.)

ตระหนี่         กทริย(นปุ.) กปณ(ปุ.) ถทฺธมจฺฉรี(ปุ.) มจฺฉรํ(นปุ.) มจฺเฉรํ(นปุ.)

ตระหนี่ถี่เหนียว         มจฺฉรี อโหสิ (สำนวน) น ทานสํวิภาครโต (สำนวน)

ตรัสรู้         ปพุชฺฌติ(อาข.) พุทฺธ(กิตก์) พุชฺฌิตฺวา(กิตก์)

ตรัสรู้ตาม         อนุวิชฺฌติ(อาข.) อนุพุชฺฌติ(อาข.)

ตลอดชีวิต         ยาวชีวํ(นิปาต)

ตลอดมา         กาเลน กาลํ (สำนวน)

ตลาด         อาปาณํ(นปุ.) อาปโณ(ปุ.) ปณฺยวีถิกา(อิตฺ.)

ตลิ่ง        ตีรํ(นปุ.) กูลํ(นปุ.) โรธํ(นปุ.) ปตีรํ(นปุ.) ตฏํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ตอ        สํกุ(ปุ.) ขาณุ(ปุ.)(นปุ.)

ตอก         ลาโช(ปุ.)

ต้องการ         ปตฺถติ(อาข.) ปฏฺฐติ(อาข.) อิจฺฉติ(อาข.) อตฺโถ(ปุ.)

ต้องการอยู่ครองเรือน         ฆรวาสนตฺถิโก(คุณ.)

ต้องการอะไร         กิมตฺถํ (สพฺพนาม)(จตุตฺถีวิภัตติ)

ตองแตก        ภิงฺคราโช(ปุ.) มากฺกโว(ปุ.)

ต้องโทษ        อชฺฌาปตฺติ(อิตฺ.)

ต้องอาบัติ         อาปตฺตึ อาปชฺชติ(สำนวน)

ต้อนไป         วิจาเรติ(อาข.) ปาเชติ(อาข.)

ต้อนรับ         ปจฺจุคฺคนฺตฺวา(กิตก์) ปจฺจุคฺคมนํ กตฺวา(สำนวน) ปจฺจุคฺคมนํ กุรุมาน(สำนวน) กตปจฺจุคฺคมน(คุณ.)

ต้อนรับปีใหม่         ปุพฺพสํวจฺฉเร วีติวตฺเต(สำนวน)

ต่อเนื่อง        สาต(คุณ.) สาตต(คุณ.)

ตอบ         วิสฺสชฺชนํ(นปุ.) วิสฺสชฺเชติ(อาข.)

ต่อย        ภินฺทติ(อาข.)

ต่อหน้า        สมฺมุขา(นิปาต)

ตะกละ         อจฺโจทร(คุณ.)

ตะกั่ว        กาฬติปุ(นปุ.) สีสํ(นปุ.)

ตะเกียง         ทีปิกา(อิตฺ.) ปทีปํ(นปุ.)

ตะโกน         มหาสทฺทํ นิจฺฉาเรสิ(สำนวน) สทฺทํ กโรติ(สำนวน) มหาสทฺทํ กโรติ(สำนวน)  อุจฺจาสทฺทํ กโรติ(สำนวน)

ตะไกร        ปิปฺผลํ(นปุ.)

ตะขาบ        กณฺณชลูกา(อิตฺ.) สตปที(อิตฺ.)

ตะเคียน        ขทิโร(ปุ.) ทนฺตธาวโน(ปุ.)

ตะไคร้        สมีรโณ(ปุ.) ผณิชฺชโก(ปุ.) ภูติณกํ(นปุ.) ภูตินกํ(นปุ.) ภูติณํ(นปุ.)

ตะบันไฟ        อรณิโก(ปุ.)

ตะโพก         อานิสทํ(นปุ.) กฏิปเทโส(ปุ.)

ตะโพน        มุทิงฺโค(ปุ.) มุรโค(ปุ.)

ตะแลงแกง        อาฆาตนํ(นปุ.) อาฆาตํ(นปุ.) วธฏฺฐานํ(นปุ.)

ตัก         อุจฺฉงฺคํ(นปุ.) องฺโก(ปุ.)

ตักเตือน         โจทยติ(อาข.) โอวทติ(อาข.) โอวาทํ ทตฺวา(สำนวน) โจเทติ(อาข.)

ตั๊กแตน         สลภํ(นปุ.) ปฏงฺคํ(นปุ.) ปฏงฺโค(ปุ.) สลโภ(ปุ.)

ตั่ง        ปีฐิกา(อิตฺ.) ปีฐํ(นปุ.) อาสนํ(นปุ.)

ตั้งครรภ์         ตสฺสา คพฺโภ ปติฏฺฐาสิ (สำนวน)

ตั้งใจ        จิตฺตาโภโค(ปุ.) มนกฺกาโร(ปุ.)

ตั้งใจทำ         สญฺจิจฺจ กตํ(สำนวน)

ตั่งชนิดหนึ่ง         อาสนฺทิ(อิตฺ.)

ตั้งตน         อตฺตสมฺมาปณิธิ(คุณ.)

ตั้งปณิธาน        อิจฺฉติ(อาข.) ปตฺเถติ(อาข.) ปตฺถนํ ฐเปติ(สำนวน) ปตฺถติ(อาข.) ตณฺหา(อิตฺ.) ปตฺถนา(อิตฺ.) ปณิธานํ(นปุ.) ปณิธิ(ปุ.)

ตั้งมั่น         ปติฏฺาสิ(อาข.)        

ตั้งมั่นมานาน         จิรสฺสํ ปติฏฺฐิตํ (สำนวน)

ตั้งไว้        เปตฺวา(กิตก์) เปสิ(อาข.)  ปติฏฺเปติ(อาข.)

ตั้งสำนัก         ปฏิวสติ(อาข.)

ตัชชารี (๓๖ อณู)        ตชฺชารี(อิตฺ.)

ตัณหา         ตณฺหา(อิตฺ.) ตสินา(อิตฺ.) เอชา(อิตฺ.) ชาลินี(อิตฺ.) วิสตฺติกา(อิตฺ.) ฉนฺโท(ปุ.) ชฏา(อิตฺ.) นิกนฺติ(อิตฺ.) อาสา(อิตฺ.) สิพฺพนี(อิตฺ.) ภวเนตฺติ(อิตฺ.) อภิชฺฌา(อิตฺ.) วนโถ(ปุ.) วานํ(นปุ.) โลโภ(ปุ.) ราโค(ปุ.) อาลโย(ปุ.) ปิหา(อิตฺ.) มโนรโถ(ปุ.) อิจฺฉา(อิตฺ.) อภิลาโส(ปุ.) กาโม(ปุ.) โทหโฬ(ปุ.)  อากงฺขา(อิตฺ.) ริจิ(อิตฺ.)

ตัณหาจัด        อติตณฺห(คุณ.) โลลุป(คุณ.)

ตัณหาแรงกล้า        ลาลสา(ปุ.)(อิตฺ.)

ตัด         ฉินฺทติ(อาข.) ฉินฺทิตฺวา(กิตก์) เฉตฺวา(กิตก์) อจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์) ฉินฺทนํ(นปุ.)  เฉโท(ปุ.) กนฺทิต(กิตก์) สญฺฉนฺนํ(นปุ.) ฉินฺทิ(อาข.) ฉินฺทติ(อาข.) กปฺปติ(อาข.) อวขณฺฑติ(อาข.) เฉตฺวา(กิตก์) ฉินฺทิตฺวา(กิตก์) อจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์) ปจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์)

ตัดรอน         วินาสํ อุปฺปาเทสิ(สำนวน)

ตัดสิน         นิจฺฉิต(กิตก์) วินิจฺฉิต(กิตก์)

ตัดสิน         นิจฺเฉติ(อาข.) นิจฺฉยติ(อาข.)

ตับ        ยกน(นปุ.)  

ตัวยา        โอสธํ(นปุ.)

ตัวหมัด         อุปฺปาทโก(ปุ.)

ตัวอย่าง         นิทสฺสนญฺเจตฺถ ทฏฺฐพฺพํ(สำนวน)

ตา (ใช้ดู)         เนตฺโต(ปุ.) จกฺขุ(นปุ.) นยนํ(นปุ.) เนตฺตํ(นปุ.) อกฺขิ(นปุ.)

ตา (พ่อของพ่อ)        อยฺยโก(ปุ.) ปิตามโห(ปุ.) เอยฺยโก(ปุ.)

ต่างกัน         วิเสส(คุณ.)

ต่างประเทศ         วิเทโส(ปุ.)

ต่างๆนานา        พหุวิธ(คุณ.) นานารูป(คุณ.) วิวิธ(คุณ.)

ตาดำ         เนตฺตตารา(อิตฺ.) กนีนิกา(อิตฺ.)

ตาบอด         อนฺธจกฺขุ(คุณ.)

ตาผ้าขาว         ปณฺฑรงฺคปพฺพชิโต(ปุ.)

ตามกระบวนเหตุผล         ธมฺมตฺถนิยาเมน(สำนวน)

ตามกำลัง        ยถาพลํ(นปุ.) ยถาสตฺติยา(อิตฺ.) ยถาสตฺติ(อิตฺ.)

ตามความสามารถ         ยถาพลํ(นปุ.) ยถาสตฺติยา(อิตฺ.) ยถาสตฺติ(อิตฺ.)

ตามใจตนเอง         สเก วเส วตฺตติ (สำนวน) อตฺตาธิปเตยฺยํ(นปุ.)

ตามต้องการ        กามํ(นปุ.) อิฏฺฐํ(นปุ.) นิกามํ(นปุ.) ปริยตฺตํ(นปุ.) ยถิจฺฉิตํ(นปุ.)

ตามประทีป         ทีปํ ชาเลตฺวา(สำนวน)

ตามไป        อนุคมนํ(นปุ.) อนุคจฺฉติ(อาข.)

ตามลำดับ         อนุปุพฺเพน(นปุ.) อนุกฺกเมน(ปุ.) ปฏิปาฏิยา(อิตฺ.)

ตามสบาย         ยถาสุขํ(อพฺยย.) ยถาผาสุกํ(อพฺยย.)

ตามโอกาส         กทาจิ(อพฺยย.) กรหจิ(อพฺยย.)

ตามัว         จกฺขุทุพฺพล(คุณ.)

ตาย         กาลํ กโรติ(สำนวน) ชีวิตกฺขยํ ปาปุณาติ(สำนวน) มรณํ(นปุ.) กาลกิริยา(อิตฺ.) มรติ(อาข.) มต(กิตก์)  มริตพฺพ(กิตก์) กาลกต(กิตก์) ปลโย(ปุ.) มจฺจุ(ปุ.)  อจฺจโย(ปุ.) นิธโน(ปุ.)(นปุ.) นาโส(ปุ.) กาโล(ปุ.) อนฺโต (ปุ.) จวนํ(นปุ.) ชีวิตกฺขโย(ปุ.)

ตายไปเกิดบนสวรรค์        สุคตึ สคฺคํ โลกํ อุปปชฺชติ(สำนวน)

ตาล        ตาโล(ปุ.) วิเภทิกา(อิตฺ.)

ตาลปัตร         ตาลวณฺฏํ(นปุ.)

ตาเสือ        กุนฺทํ(นปุ.) มาฆฺยํ(นปุ.)

ต่ำ         นีจ(คุณ.) หีน(คุณ.) นีจ(คุณ.) รสฺส(คุณ.) วามน(คุณ.)

ต่ำช้า        นิหีน(ปุ.) หีน(ปุ.) ลามก(คุณ.) ปติกิฏฺฐ(คุณ.) นิกิฏฺฐ(คุณ.) อิตฺตร(คุณ.) อวชฺช(คุณ.) กุจฺฉิต(คุณ.) อธม(คุณ.) โอมก(คุณ.) คารยฺห(คุณ.) โอมก(คุณ.) อิตฺตร(คุณ.) อาวชฺช(คุณ.)

ตำนาน         นิธานวตฺถุ(นปุ.)

ตำบล         ชนปทคาโม(ปุ.) คามนิคโม(ปุ.) คาม(ปุ.)

ตำรวจ         ราชปุริโส(ปุ.) ราชภโฏ(ปุ.)

ตำรา        ปิฏกํ(นปุ.) คมฺภีโร(ปุ.) ปณฺณํ(นปุ.) คนฺโถ(ปุ.)

ตำลึง        รตฺตผลา(อิตฺ.) พิมฺพิกา(อิตฺ.)

ตำหนิ          ครหา(อิตฺ.) นินฺทา(อิตฺ.) ครหติ(อาข.) ครหิต(กิตก์) วิครหติ(อาข.) ครเหติ(อาข.) อุชฺฌายึสุ(อาข.)

ตำหนิต่อหน้า        ปริภาสนํ(นปุ.) ปริภาสติ(อาข.)

ติด         อลฺลียติ(อาข.) ลิมฺปติ(อาข.) อุปลิมฺปติ(อาข.) ลิปฺปติ(อาข.)

ติดต่อ         อุปจรติ(อาข.)

ติดตาม         อนุพนฺธ(กิตก์) อนุพทฺธ(กิตก์) อนุพนฺธมาน(กิตก์) อนุปายินี(อิตฺ.) อนุวตฺตติ(อาข.) อนุคจฺฉติ(อาข.)

ติดตาม        อนุสโย(ปุ.) อนุพนฺโธ(ปุ.) อนุคจฺฉติ(อาข.) อนุคมนํ(นปุ.)

ติดไฟ         อาหิต(กิตก์)

ติเตียน         นินฺทติ(อาข.) ครหติ(อาข.) นินฺทา(อิตฺ.) ครหา(อิตฺ.) ชิคุจฺฉา(อิตฺ.) เขโป(ปุ.)  กุจฺฉา(อิตฺ.) กุจฺฉิต(กิตก์)

ตี         ปหริตฺวา(กิตก์) ภินฺทิตฺวา(กิตก์) อคฺฆาเปติ(อาข.) อาโกเฏติ(อาข.) ปหรติ(อาข.        

ตี(ราคา)        อคฺฆติ(อาข.)        

ตีน         ปาโท(ปุ.) ปโท(ปุ.) จรณํ(ปุ.)(นปุ.)

ตีนเป็ด        สตฺตปณฺณี(ปุ.) ฉตฺตปณฺโณ(ปุ.)

ตีราคา         อคฺฆาปนํ(นปุ.)

ตึก        ปาสาโท(ปุ.) ยูโป(ปุ.)

ตึกบนหลังช้าง        หตฺถินโข(ปุ.)

ตื่น         ชาคโร(ปุ.) ชาคริยา(อิตฺ.) ปพุทฺธ(กิตก์) ปพุชฺฌิต(กิตก์)

ตื้น        อุตฺตาน(คุณ.)

ตื่นแต่ดึก         ปจฺจุฏฺฐาย(กิตก์)

ตุ๊กแก        สรพู(อิตฺ.) ฆรโคลิกา(อิตฺ.)

ตุ๊กตา         ธีตลิกา(อิตฺ.) ธีติกา(อิตฺ.) ปญฺจาลิกา(อิตฺ.) โปตฺถลิกา(อิตฺ.)

ตุมกาเครือ        อมฺพฏฐา(อิตฺ.) ปาฐา(อิตฺ.)

ตุ่มน้ำ         อุทกจาฏิ(อิตฺ.)

ตุ้มหู         วลฺลิกา(อิตฺ.) กุณฺฑลํ(นปุ.) กณฺณเวฐนํ(นปุ.)

ตุลา        ตุลา(อิตฺ.)

ตูม        มกุลํ(ปุ.)(นปุ.)(คุณ.) กุฑุมโล(ปุ.)(นปุ.)(คุณ.)

เต็ม         ปริปูริ(อิตฺ.) ปุณฺณ(กิตก์) ปูริต(กิตก์) ปูริต(คุณ.)

เตรียมต่อสู้         ยุทฺธปกรณสํวิทหนํ(นปุ.)

เต่า        กุมฺโม(ปุ.) กจฺฉโป(ปุ.)

เต้า        สํฆาโฏ(ปุ.)

เต้านม         ถโน(ปุ.) กุโจ(ปุ.) ปโยธโร(ปุ.)

เต้านมคน        ถน(นปุ.)

เตาไฟ        อุทฺธนํ(นปุ.) จุลฺลิ(นปุ.)

เต่ารั้ง        กจฺฉุผลํ(นปุ.) หินฺตาโล(ปุ.)

เติบโต        วฑฺฒติ(อาข.) วฑฺฒ(กิตก์) วฑฺฒิต(กิตก์) วุฑฺฒ(กิตก์)        

เตี้ย          นีจ(คุณ.) รสฺส(คุณ.) วามน(คุณ.)

เตียง         มญฺจํ(นปุ.)

เตียงมีขาดังปู        กุฬีรปาโท(ปุ.)

เตียงมีขาดังแม่แคร่        อาหจฺจปาโท(ปุ.)

เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา        มสารโก(ปุ.)

เตียงร่วมแม่แคร่        พุนฺทิกาพทฺโธ(ปุ.)

แตก         ภิชฺชติ(อาข.) ภินฺน(กิตก์) ผลิต(กิตก์) ทาลิต(กิตก์) เภทิต(กิตก์) ภิชฺชิ(อาข.)  ทาริต(คุณ.)

แตกฉาน         ปภินฺนญาณ(คุณ.)

แตกตื่น         สงฺขุภติ(อาข.) โกตูหฬํ(นปุ.) กุตูหฬํ(นปุ.)

แตกตื่นร้องก้อง        สงฺขุภติ(อาข.)        

แตกร้าว         ภณฺฑนํ(นปุ.)

แตกหัก        ภิชฺชติ(อาข.)

แต่ง(ไทยธรรม)        ปฏิปาเทติ(อาข.)  ปฏิยาเทติ(อาข.)        

แตงกวา         อินฺทวารุณี(อิตฺ.) กกฺการี(อิตฺ.) วิสาลา(อิตฺ.)

แต่งงาน        อาวาโห(ปุ.) วิวาโห(ปุ.) สามิกสฺส กุลํ คตา(สำนวน) อุปยโม(ปุ.) ปาณิคฺคโห(ปุ.) ปริณโย(ปุ.)

แต่งตั้ง         ปญฺญาปโก(คุณ.) ปญฺญาเปติ(อาข.)

แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง         ฐานนฺตเร ฐเปตฺวา(สำนวน)

แต่งตัว         อลงฺกโรติ(อาข.) ปสาเธติ(อาข.) ปฏิยาเทติ(อาข.) ปิลนฺธติ(อาข.) อภิสงฺขโรติ(อาข.)

แตงโม         ติปุสํ(นปุ.) วลฺลิโภ(ปุ.)

แตงหนู         นาคลตา(อิตฺ.) ฌสา(อิตฺ.) กุมฺภี(อิตฺ.) กุมุทิกา(อิตฺ.)

แต่หน้า         วาสนํ(นปุ.)

แตะต้อง         อามสิตฺวา(กิตก์) อาหจฺจ(กิตก์)

โต         มหนฺต(คุณ.) ถูล(คุณ.)

โต้เถียง        ทิฏฺฐิปฏิธานํ(นปุ.)

โต้แย้ง         วิวาโท(ปุ.) อุปารมฺภติ(อาข.)

โต๊ะ        อาสนฺทิ(ปุ.)                 

โต๊ะอาหาร        โภชนผลก(นปุ.)

ไต          วกฺก(นปุ.)

ไตรเพท        อิรุ(อิตฺ.) ยชุ(นปุ.) อสฺสามํ(นปุ.)

ถ-อักษร

ถกเถียง         ภณฺฑนํ(นปุ.) วิวาโท(ปุ.) วิคฺคโห(ปุ.) กลโห(ปุ.) เมธโค(ปุ.)        

ถนนชั่วคราว        พฺยูโห(ปุ.)

ถนนถาวร        ปถทฺธิ(อิตฺ.)        

ถ่ม         นิฏฺฐภติ(อาข.) ธิมฺเหติ(อาข.) นิฏฺฐหติ(อาข.)

ถลุง (เหล็ก)         วิลียาเปตฺวา(กิตก์)

ถ้วย         กํสํ(นปุ.) ถาวิกา(อิตฺ.)

ถวายทาน         ทานํ(นปุ.) ททาติ(อาข.) นิยฺยาเทติ(อาข.)

ถวายพระพรชัยมงคล         ททาติ ชยมงฺคลํ(สำนวน)

ถวายพระราชกุศล         ปตฺติทานํ(นปุ.)

ถ่อ        อริตฺตํ(นปุ.) เกนิปาโต(ปุ.)

ถอน         วิสฺสชฺเชติ(อาข.) นีหรติ(อาข.)

ถอย        ปฏิกฺกมนํ(นปุ.)

ถอยกลับ         ปฏิกมนํ(นปุ.) ปฏิกฺกมนํ(นปุ.) ปฏิปกฺกโม(ปุ.) ปฏิกโม(ปุ.) ปฏิกฺกโม(ปุ.)   ปฏิกนฺต(กิตก์) ปฏิกฺกนฺโต(กิตก์) ปจฺจาคมนํ(นปุ.)

ถ้อยคำ        ภาสิตํ(นปุ.) ลปิตํ(นปุ.) ภาสา(อิตฺ.) โวหาโร(ปุ.) วจนํ(นปุ.) วโจ(ปุ.) อุตฺติ(อิตฺ.) วาจา(อิตฺ.) คิรา(อิตฺ.) วาณี(อิตฺ.) ภารตี(อิตฺ.) วจี(อิตฺ.) วาโท(ปุ.)

ถัน         ถโน(ปุ.) กุโจ(ปุ.) ปโยธโร(ปุ.)

ถั่ว         ติล(นปุ.)

ถั่วดำ        จณโก(ปุ.) กฬาโย(ปุ.)

ถั่วราชมาส         กฬาโย(ปุ.)

ถาก        ตจฺฉิต(คุณ.) ตนุกต(คุณ.)

ถาด        ปาตี(อิตฺ.)

ถาดหิน         กปลฺลปาฏิ(อิตฺ.) กปลฺลํ(นปุ.) กปลฺลกํ(นปุ.)

ถ่าน        องฺคาโร(ปุ.)

ถ้าเป็นไปได้        สาธุ(นิปาต)

ถาม        ปุจฺฉิต(กิตก์) ปุฏฺ(กิตก์) ปุจฺฉติ(อาข.) ปุจฺฉก(ปุ.) ปุจฺฉา(อิตฺ.) ปุจฺฉวจนํ(นปุ.) อาปุจฺฉนํ(นปุ.) อานนฺทโน(ปุ.)(นปุ.) สภาชนํ(นปุ.)

ถ้าว่า        สเจ(นิปาต) ยทิ(นิปาต) เจ(นิปาต)

ถ้าอย่างนั้น        เอวํ สนฺเต(สำนวน) เอวํ ภาเว(สำนวน) อถ สนฺเต(สำนวน)

ถ้ำ        เลณํ(นปุ.) คพฺภรํ(นปุ.) คุหา(อิตฺ.)

ถึง          ลทฺธ(กิตก์) ปตฺต(กิตก์) คต(กิตก์) อธิคต(กิตก์) อธิคจฺฉติ(อาข.) สมฺปาปุณาติ(อาข.) ปาปุณาติ(อาข.) อาปชฺชติ(อาข.) ปปฺโปติ(อาข.)

ถึงการเจริญวัย         วยวุฑฺฒิปฺปตฺต(คุณ.)

ถึงความพินาศ         วินาสโมปค(คุณ.)

ถึงความสำเร็จ         นิปฺผตฺตึ ปตฺโต(สำนวน) ปารํ ปตฺต(สำนวน)

ถือตน         อตฺตานุทิฏฺฐิ(อิตฺ.)

ถือตัว         อติมาโน(ปุ.) มาโน(ปุ.) วิธา(อิตฺ.) อุนฺนติ(อิตฺ.) มมายิตฺตํ(นปุ.)

ถือเป็นแบบอย่าง         ทิฏฐานุคติกา(อิตฺ.)

ถือเอาแล้ว        คหิต(กิตก์) คณฺหิต(กิตก์) คณฺหาติ(อาข.) อาทิยติ(อาข.)

ถุงเท้า        ภสฺตา(อิตฺ.) จมฺมปสิพฺพกํ(นปุ.)

ถู         อภิมนฺถติ(อาข.) อภิมนฺเถติ(อาข.)

ถูกฆาตกรรม         ฆาติตา(กิตก์)

ถูกต้อง         ผุสติ(อาข.) ปรามสติ(อาข.) ปริมชฺชติ(อาข.) สเมติ(อาข.) อาผุสติ(อาข.)    โอตรติ(อาข.) สเมติ(อาข.)

ถูกต้องยุติธรรม         ยุตฺติธมฺโม(ปุ.)

ถูกทอดทิ้ง         วิญฺญูนํ ฉฑฺทนียญฺเจว ชิคุจฺฉนียญฺจ ปตฺโต(สำนวน)

ถูตัว         อุพฺพฏฺฏนํ(นปุ.) อุมฺมชฺชนํ(นปุ.)

เถ้า        ภสฺมํ(นปุ.) เสฏฺฐิ(อิตฺ.) ฉาริกา(อิตฺ.)

เถาย่างทราย         มาลุวา(อิตฺ.)

เถ้าร้อน        กุกฺกุโล(ปุ.)

เถาวัลย์        วลฺลี(อิตฺ.) ลตา(อิตฺ.)

เถาวัลย์ใบงอกดี        วิรู(อิตฺ.)

เถาหัวด้วน        ปูติลตา(อิตฺ.) คโฬจี(อิตฺ.)

แถว        ปนฺติ(อิตฺ.) วีถิ(อิตฺ.) อาวลิ(อิตฺ.) เสณิ(อิตฺ.) ปาฬิ(อิตฺ.)

ไถ        นงฺคลํ(นปุ.) หลํ(นปุ.) สีโร(ปุ.) สิโร(ปุ.)

ท-อักษร

ทดลอง        วีมํสติ(อาข.) อุปธาเรนฺต(กิตก์) อาวชฺเชนฺต(กิตก์)

ทรงทศพิธราชธรรม         ทสธมฺมธารี(คุณ.)

ทรงประกอบพระปรีชา         วีมํสาปฏิสํยุตฺต(สำนวน)

ทรงพระคุณอย่างเยี่ยม         อนุตฺตรคุเณหิ สมปฺปิต(สำนวน)

ทรมาน         การณา(อิตฺ.) ยาตนา(อิตฺ.) คหิต(กิตก์) คณฺหิต(กิตก์) ทมฺม(กิตก์) ทโม(ปุ.)   ทมโถ(ปุ.) ทนฺติ(อิตฺ.)        

ทรวดทรง        สนฺนิเวโส(ปุ.) สณฺฐานํ(นปุ.)

ทรวดทรงงาม         อากปฺโป(ปุ.) เวโส(ปุ.) เนปจฺฉํ(นปุ.)

ทรัพย์         ธนํ(นปุ.) วิตฺตํ(นปุ.) สาปเตยฺยํ(นปุ.) สมฺปตฺติ(อิตฺ.) วิภโว(ปุ.) ทายชฺช(นปุ.) มหาโภค(ปุ.) มหาวิภว(ปุ.) สมฺปตฺติ(อิตฺ.) สมฺปทา(อิตฺ.)

ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ         วิตฺตุปกรณํ(นปุ.)

ทรัพย์มีเงินเป็นต้น         หิรญฺญาทิกํ(นปุ.)

ทราย        ปุฬินํ(นปุ.) วาลุกา(อิตฺ.) วณฺณุ(อิตฺ.) มรุ(อิตฺ.) อุรุ(อิตฺ.) สิกตา(อิตฺ.)

ท่วมทับ         อชฺโฌตฺถต(กิตก์) โอตฺถต(กิตก์)

ทวารหนัก         ปายุ(ปุ.) คุทํ(นปุ.)

ทหาร        โยโธ(ปุ.) ภโฏ(ปุ.)

ทหารขับรถ        รถาโรโห(ปุ.) รถิโก(ปุ.) รถี(ปุ.)

ทหารในชุดเครื่องแบบ        อามุตฺต(คุณ.) ปฏิมุกฺก(คุณ.)

ทหารบก        ปทาติ(ปุ.) ปตฺติ(ปุ.) ปทโค(ปุ.) ปทิโก(ปุ.)

ทหารใส่เสื้อเกราะ        สนฺนทฺธ(คุณ.) สชฺโช(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) วมฺมิต(คุณ.)

ท้อง         กุจฺฉิ(อิตฺ.) คหณี(อิตฺ.) อุทรํ(นปุ.) คพฺโภ(ปุ.)

ทองกวาว        กึสุโก(ปุ.) ปาลิภทฺโท(ปุ.)

ท้องคน        กุจฺฉิ(อิตฺ.)(นปุ.) อุทร(นปุ.)

ทองคำ        สุวณฺณํ(ปุ.) กนกํ(นปุ.) ชาตรูปํ(นปุ.) โสณฺณํ(นปุ.) กญฺจนํ(นปุ.) สตฺถุวณฺโณ(ปุ.) หริ(ปุ.) กมฺพุ(ปุ.) จารุ(นปุ.) เหมํ(นปุ.) หาฏกํ(นปุ.) ตปนียํ(นปุ.) หิรญฺญํ(นปุ.)

ท่องจำ          ธารณํ(นปุ.)

ทองชนิดต่างๆ        จามีกรํ(นปุ.) สาตกุมฺภํ(นปุ.) ชมฺพูนทํ(นปุ.) สิงฺคี(อิตฺ.)

ทองต้นแขน        เกยูรํ(นปุ.) องฺคทํ(นปุ.) พาหุมูลวิภูสนํ(นปุ.)

ท่องเที่ยว         อฏนํ(นปุ.) สํสรนฺติ(อาข.) สญฺจรติ(อาข.)

ท่องเที่ยวไป         อาหิณฺฑติ(อาข.) วิจรติ(อาข.)

ท้องน้อย         วตฺถิ(ปุ.)(อิตฺ.)

ท้องฟ้า        อนฺตลิกขํ(นปุ.) ขํ(นปุ.) อาทิจฺจปโถ(ปุ.) อพฺภํ(นปุ.) คคนํ(นปุ.) อมฺพรํ(นปุ.) อมฺพรํ(นปุ.) เวหาโส(ปุ.) อนิลปโถ(ปุ.) อากาโส(ปุ.) นภํ(นปุ.) เทโว(ปุ.)     เวหายโส(ปุ.) ตาราปโถ(ปุ.) สุรปโถ(ปุ.) อฆํ(นปุ.)

ท้องภายใน        กุจฺฉิ(อิตฺ.)(นปุ.)

ท้องภูเขา        กุจฺฉิ(อิตฺ.)(นปุ.)

ท้องภูเขาเต็มด้วยเถาวัลย์        กุญฺชํ(ปุ.)(นปุ.) นิกุญฺชํ(ปุ.)(นปุ.)

ท้องแม่น้ำ        กุจฺฉิ(อิตฺ.)(นปุ.)

ทองรูปพรรณ        โกโส(ปุ.) หิรญฺญํ(นปุ.)

ท้องสัตว์        อุทร(นปุ.)  

ทองหลาง        โกวิฬาโร(ปุ.) ยุคปตฺโต(ปุ.) กึสุโก(ปุ.) ปลาโส(ปุ.)

ทองหลางน้ำ        โรหิ(ปุ.) โรหิตโก(ปุ.)

ทองเหลือง        ริริ(อิตฺ.) อารกุโฏ(ปุ.)(นปุ.)

ท่อนไม้        ทณฺฑ(ปุ.) ทารุ(ปุ.) กฏฺฐ(นปุ.)

ท่อน้ำ        ภโม(ปุ.) ปนาฬี(ปุ.) ปนวฬิกา(อิตฺ.)

ทะนงตัว         อติมานภาโว(ปุ.)

ทะเยอะทะยาน         ตณฺหา(อิตฺ.) โปโนพฺภวิกา(อิตฺ.) นนฺทิราคสหคตา(อิตฺ.) ตตฺราภินนฺทินี(อิตฺ.) นนฺทิ(อิตฺ.) ราโค(ปุ.) สาราโค(ปุ.) ปิหยติ(อาข.) ปิเหติ(อาข.)

ทะเล         สาคโร(ปุ.) สมุทฺโท(ปุ.) รตนากโร(ปุ.) ชลนิธิ(ปุ.) อุทธิ(ปุ.) อณฺณโว(ปุ.)    สินฺธุ(ปุ.)

ทะเลสาบ        ชลาสโย(ปุ.) ชลาธาโร(ปุ.)

ทะเลาะ         ภณฺฑนํ(นปุ.) วิวาโท(ปุ.) วิคฺคโห(ปุ.) กลโห(ปุ.) เมธโค(ปุ.)

ทักทาย        อาโลโป(ปุ.) สลฺลาโป(ปุ.)

ทั่ง        มุฏฺฐิ(อิตฺ.) อธิกรณี(อิตฺ.)

ทั้งปวง         สพฺพ(คุณ.) สกล(คุณ.) นิสฺเสน(คุณ.) สมตฺต(คุณ.)

ทั้งสอง        อุภ(สังขยา) อุภย(สัพพ.)

ทั้งสิ้น         สพฺพ(คุณ.) สกล(คุณ.) นิสฺเสน(คุณ.) สมตฺต(คุณ.)

ทั้งหมด        สพฺพ(คุณ.) สมตฺต(คุณ.) นิสฺเสส(คุณ.) อขิล(คุณ.) อเสส(คุณ.) สมคฺค(คุณ.) อนูนก(คุณ.) นิขิล(คุณ.) สกล(คุณ.) กสิณ(คุณ.)

ทันเหตุการณ์        การณิก(ปุ.) ปริกฺขก(ปุ.)

ทับทิม        โลหิตงฺโก(ปุ.) ปทุมราโค(ปุ.) รตฺตมณิ(ปุ.)(อิตฺ.) กรโก(ปุ.) ทาลิโม(ปุ.)

ทัพช้าง        หตฺถาณีกํ(นปุ.)

ทัพเดินเท้า        ปตฺตาณีกํ(นปุ.)

ทัพเป็นหมื่นแสน        อกฺโขหิณี(อิตฺ.)

ทัพพี        กฏจฺฉุ(ปุ.) ทพฺพิ(อิตฺ.)

ทัพพีตักอาหารบูชา        สุชา(อิตฺ.)

ทัพม้า        หยาณีกํ(นปุ.)

ทัพรถ        รถาณีกํ(นปุ.)

ทั่วทุกจังหวัด         สพฺพธานีสุ(อิตฺ.)

ทั่วไป        สาธารณ(คุณ.) สามญฺญ(นปุ.)        

ทา         วิลิมฺปติ(อาข.) มกฺเขติ(อาข.) มกฺขติ(อาข.) ลิตฺต(กิตก์) ทิทฺธ(กิตก์) โปตฺถํ(นปุ.)อุปตฺต(กิตก์) ลิตฺต(คุณ.) ทิทฺธ(คุณ.)

ทาง         มคฺโค(ปุ.) ปนฺโถ(ปุ.) ปโถ(ปุ.) อทฺธานํ(นปุ.) อทฺธา(ปุ.) อญฺชสํ(นปุ.) วฏุมํ(นปุ.) ปชฺโช(ปุ.) อยนํ(นปุ.) ปทวี(อิตฺ.) วตฺตนี(อิตฺ.) ปทฺธติ(อิตฺ.)

ทางกลับ        ปฏิมคฺโค(ปุ.) ปฏิปโถ(ปุ.)

ทางไกล         อทฺธานํ(นปุ.)

ทางแคบ         เอกปที(ปุ.)

ทางดี        สุปฺปโถ(ปุ.) สุปนฺโถ(ปุ.) .

ทางเดิน        รจฺฉา(อิตฺ.) วิสิขา(อิตฺ.) รถิกา(อิตฺ.) วีถิ(อิตฺ.)

ทางน้ำไหล        วาริมคฺโค(ปุ.) ปนาลี(อิตฺ.) ปณาฬี(อิตฺ.)

ทางเปลี่ยว        กนฺตารทฺธานมคฺโค(ปุ.)

ทางผิด        อุปฺปถํ(นปุ.) อปถํ(นปุ.)

ทางพงศาวดาร         วํสาวตาราปเทโส(ปุ.)

ทางวิชาการ         ญตฺตนุสาโร(ปุ.) ญตฺตานุสาโร(ปุ.)

ทางสามแยก        สิงฺฆาฏก(นปุ.)

ทางสี่แพร่ง        จตุกฺกํ(นปุ.)

ทางสี่แยก        จตุกฺก(นปุ.) จจฺจร(นปุ.)

ทางหลากหลาย        ชงฺโฆ(ปุ.)        

ทาตัว         องฺคราโค(ปุ.)

ท่าทาง        องฺคหาโร(ปุ.) องฺควิกฺเขโป(ปุ.) อากปฺโป(ปุ.) กิริยา(อิตฺ.) อากาโร(ปุ.) อากาโร(ปุ.) อิงฺคิตํ(นปุ.) อิงฺโค(ปุ.)

ท่าน         ตุมฺห(ปุ.)(อิตฺ.)

ทาน         ทานํ(นปุ.) ยญฺโญ(ปุ.)

ทานวัตถุ ๑๐ อย่าง        อนฺนํ(นปุ.) ปานํ(นปุ.) ฆรํ(นปุ.) วตฺถํ(นปุ.) ยานํ(นปุ.) มาลา(อิตฺ.) วิเลปนํ(นปุ.) คนฺโธ(ปุ.) เสยฺยา(อิตฺ.) ปทีเปยฺยํ(นปุ.)

ทานให้ผู้ตายวันตาย        อุทฺธเทหิกํ(นปุ.)

ทานอุทิศบิดา        นีวาโป(ปุ.)

ท่าน้ำ         อาสาโร(ปุ.) ติตฺถํ(นปุ.)

ท่ามกลาง        มชฺฌํ(นปุ.) เวมชฺฌํ(นปุ.)

ทารุณ         อภินิหต(กิตก์)

ท่าเรือ         นาวาติตฺถํ(นปุ.) นาวาปติฏฐานํ(นปุ.) ติตฺถํ(นปุ.) สุปฏฺฏนํ(นปุ.)

ท้าวกุเวร        ยกฺยาธิโป(ปุ.) เวสฺสวโณ(ปุ.) กุเวโร(ปุ.) นรวาหโน(ปุ.)

ท้าวธตรฐ        ธตรฏฺโฐ(ปุ.) คนฺธพฺพาธิโป(ปุ.)

ท้าววิรูปปักษ์        วิรูปกฺโข(ปุ.) นาคาธิปติ(ปุ.)

ท้าววิรูฬหกะ        วิรุฬฺหโก(ปุ.) กุมฺภณฺฑสามิ(ปุ.)

ทาส ๔ จำพวก        อนฺโตชาโต(ปุ.)ลูกของทาส ธนกฺกีโต(ปุ.)ทาสที่ซื้อมา ทาสพฺยุปคโต(ปุ.)ยอมตัวเป็นทาส กรมรานีโต(ปุ.)ทาสเชลยศึก

ทาส        ทาโส(ปุ.) เจฏโก(ปุ.) เปสฺโส(ปุ.) กึกาโร(ปุ.) ปริจาริโก(ปุ.)(คุณ.)

ทาสี (สีทนได้)        ทาสี(อิตฺ.) เจฏี(อิตฺ.) กุฏธาริกา(อิตฺ.)

ท่าอาบน้ำ         นหานติตฺถํ(นปุ.)

ทำความเดือดร้อนผิดวิสัย         กตากรณีย(คุณ.) กตาปราธ(คุณ.)

ทำชั่ว         ทุกฺกฏกมฺมมการี(ปุ.)

ทำตามอำเภอใจ        ยทิจฺฉา(อิตฺ.)

ทำบ่อยๆ         พหุลีกต(คุณ.)

ทำเพื่อคนอื่น         ปรหิเตสี(คุณ.)

ทำลาย         ทาลิต(กิตก์) ภินฺน(กิตก์) เภทิต(กิตก์) ภินฺทติ(อาข.) ปทาเลติ(อาข.)

ทำลายกองมืดในสันดานชน ชนสนฺตานตมสนฺตานเภทิน(คุณ.)

ทำเสียงกริ๋งๆ         กิณกิณายติ(อาข.) กึกิณายติ(อาข.)

ทำให้โกรธ         กุชฺฌาปนํ(นปุ.)

ทำให้แจ้ง         สจฺฉิกริตฺวา(กิตก์) อาวิกริตฺวา(กิตก์)

ทำให้เมืองไทยมีอำนาจ         ทยฺยมกาสิ อิทฺธิกํ (สำนวน)

ทำให้ลำบาก        ทุกฺข(คุณ.)

ทิ้ง        ฉฑฺฑิต(กิตก์) ฉุฑฺฑ(กิตก์) ฉฑฺเฑติ(อาข.) ฉฑฺฑยติ(อาข.)

ทิศเฉียง         อนุทิสา(อิตฺ.) วิทิสา(อิตฺ.)

ทิศตะวันตก         ปตีจิ(อิตฺ.) ปจฺฉิมทิสา(อิตฺ.)

ทิศตะวันออก         ปุรตฺถิมทิสา(อิตฺ.) ปุพฺพทิสา(อิตฺ.) ปาจี(อิตฺ.)

ทิศใต้         อปาจี(อิตฺ.) ทกฺขิณทิสา(อิตฺ.)

ทิศน้อย        วิทิสา(อิตฺ.) อนุทิสา(อิตฺ.)

ทิศเหนือ         อุทีจี(อิตฺ.) อุตฺตรทิสา(อิตฺ.)

ทิศอาคเนย์         ปุพฺพทกฺขิณาทิสา(อิตฺ.)

ทิศอีสาน         ปุพฺพุตฺตรทิสา(อิตฺ.)

ที่เกิดกับตน         อตฺรช(คุณ.)

ที่ใกล้         มูล(นปุ.) สนฺติก(นปุ.) สมีป(นปุ.) สมนฺตา(นิปาต) สมนฺต(นิปาต) สามนฺต     (นิปาต) อวิทูร(คุณ.) อุป(อุปสรรค)

ที่ขัดกัน         ตพฺพิปริย(คุณ.)

ที่ข้าม        ติตฺถํ(นปุ.) สุปฏฺฏนํ(นปุ.)

ที่เขียวชุ่มด้วยหญ้า        สทฺทโล(ปุ.)

ที่จงกรม        จงฺกมนํ(นปุ.) จงฺกโม(ปุ.)        

ที่ชุมชน        สภายํ(นปุ.) สภา(อิตฺ.)

ที่ชุ่มชื้น        อนโป(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) กจฺฉํ(ปุ.)(นปุ.)

ที่ตั้งบ้าน        วตฺถุ(ปุ.)

ที่นอน         เสยฺยา(อิตฺ.) สยนํ(นปุ.) เสนํ(นปุ.)

ที่นั่ง         นิสีทนํ(นปุ.) อาสนํ(นปุ.)

ที่นั่งบนคอช้าง        อาสนํ(นปุ.)

ที่บูชายัญ        เวที(อิตฺ.)

ที่ประชุมบริษัท        สภา(อิตฺ.) สมชฺชา(อิตฺ.) ปริสา(อิตฺ.) สมิติ(อิตฺ.) สํสโท(ปุ.)

ที่ประทับ         ปณฺฑุกมฺพลสิลาสนํ(นปุ.)

ที่พักอาศัย        อาวสถํ(นปุ.) วสนฏฺฐานํ(นปุ.)

ที่พึ่ง         นาถ(คุณ.) ปติฏฺฐา(อิตฺ.) สรณํ(นปุ.) อวสฺสโย(ปุ.) คติ(อิตฺ.)

ที่มีดินเค็ม        โอสโว(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อูสโร(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ที่วังเวง        วิวิตฺต(คุณ.) วิชนํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ที่สุด         มตฺถก(นปุ.) ปริโยสาน(ปุ.) ปริยนฺต(นปุ.) อนฺต(ปุ.) อคฺค(นปุ.)

ที่สุดแห่งบั้นเอว         กฏิปริโยสานํ(นปุ.)

ที่อยู่         วิหาโร(ปุ.) อาวาโส(ปุ.) อาราโม(ปุ.) อุปสฺสโย(ปุ.) วสนฏฺฐานํ(นปุ.)

ที่อยู่ของผู้ถือศีล        อาวาส(ปุ.) อาราม(ปุ.)

ที่อยู่อาศัย         อุปสฺสโย(ปุ.) เสนาสนํ(นปุ.)

ทุกข์        ทุกฺขํ(นปุ.) กสิรํ(นปุ.) กิจฺฉํ(นปุ.) นีโฆ(ปุ.) พฺยสนํ(นปุ.) อฆํ(นปุ.)

ทุกข์ครอบงำ         ทุกฺขปเรต(คุณ.)

ทุกข์จร         ปกิณฺณกทุกฺขํ(นปุ.) เจตสิกทุกฺขํ(นปุ.)

ทุกข์มาคู่กับสุขเสมอ         สุขสญฺญี โหติ ทุกฺขสญฺญี(สำนวน)

ทุกข์ระทมใจ         ทุกฺขโทมนสฺสํ(นปุ.)

ทุกข์เหลือทน         อติสยฺหทุกฺขํ(นปุ.)

ทุกเดือน         มาเส มาเส (สตฺตมี) อนุมาเส(สตฺตมี)

ทุกที่         สพฺพตฺถ(นิปาต)

ทุกปักษ์         อนฺวฑฺฒมาโส(ปุ.)

ทุกปี         อนุสํวจฺฉรํ(ปุ.)(นปุ.)

ทุกวัน         ทิวเส ทิวเส(สตฺตมี) ทิเน ทิเน(สตฺตมี)เทวสิกํ(นปุ.)                        

ทุกเวลา        สพฺพทา(นิปาต) สพฺพกาล(ปุ.)

ทุติยาวิภัตติ        ทุติยาวิภตฺติ(อิตฺ.) กมฺมตฺถ(ปุ.)(นปุ.) อุปโยค(ปุ.)(นปุ.)

ทุเรียน        ปนสวิเสส(ปุ.)

ทูต        ทูโต(ปุ.) สนฺเทสหโร(ปุ.)

ทูบ        กุพฺพโร(ปุ.) ยุคนฺธโร(ปุ.)

เทพทาโร        เทวทารุ(ปุ.) ภทฺททารุ(ปุ.)

เทพผู้ขับร้อง        ปญฺสิโข(ปุ.)

เทพวิมาน        วิมาน(ปุ.)(นปุ.) พฺยมฺหํ(นปุ.)

เทริด        อณฺฑูปกํ(นปุ.) จุมฺพฏกํ(นปุ.)

เทลง         โอตาเรติ(อาข.) โอปีเฬติ(อาข.)

เทวดา        ติทโส(ปุ.) อมโร(ปุ.) เทโว(ปุ.) วิพุโธ(ปุ.) สุธาสี(ปุ.) สุโร(ปุ.) มรุ(ปุ.) ทิโวโก(ปุ.) อมตโป(ปุ.) สคฺควาสี(ปุ.) นิชฺชโร(ปุ.) อนิมิโล(ปุ.) ทิพฺโพ(ปุ.) เทวตา(อิตฺ.)

เทวาลัย        เจติยา(อิตฺ.) อายตนํ(นปุ.)

เทา        ธูสโร(ปุ.)

เท้าแตก        ปาทโผโฏ(ปุ.) วิปาทิกา(อิตฺ.)

เที่ยง        ธุว(คุณ.) สสฺสต(คุณ.) นิจฺจ(คุณ.) สทาตน(คุณ.) สนนฺตน(คุณ.) สตตํ(นปุ.) นิจฺจํ(นปุ.) อวิรตํ(นปุ.) อนารตํ(นปุ.) สนฺตตํ(นปุ.) อนวรตํ(นปุ.) ธุวํ(นปุ.)

เที่ยงคืน        นิสีโถ(ปุ.) อฑฺฒรตฺโต(ปุ.) มหานิสา(อิตฺ.)

เที่ยงวัน        มชฺฌนฺติก(คุณ.) มชฺฌณฺโห(ปุ.) อุทฺทิน(นปุ.)(ปุ.)

เทียบ         สํสนฺเธติ(อาข.)

เทียบกับต่างประเทศ         วิเทเสหิ สทฺธึ สํสนฺเทนฺโต(สำนวน)

เทียบเคียง         สํสนฺเธติ(อาข.)

เทียม (พาหนะ)         โยเชติ(อาข.) ยูชติ(อาข.) ยุญฺเชติ(อาข.) ยุตฺต(กิตก์)

เที่ยว        จรติ(อาข.) อาหิณฺฑนติ(อาข.) สํสรนฺติ(อาข.) สญฺจรติ(อาข.)

เที่ยวไป         วิจรติ(อาข.) อาหิณฺฑติ(อาข.) จรติ(อาข.) สํสรติ(อาข.) วิจริตฺวา(กิตก์)   อาหิณฺฑิตฺวา(กิตก์) จาริกํ จรมาโน(สำนวน)

แทง         วิทฺธ(กิตก์) นิพฺพิทฺธ(กิตก์) เวธิต(กิตก์) วิชฺฌติ(อาข.)

โทณะ        โทโณ(ปุ.)

โทษ        อาทีนว(ปุ.) โทส(ปุ.) ขลิตํ(นปุ.) อปราธ(ปุ.) อจฺจย(ปุ.) วชฺช(นปุ.) อวณฺณํ(นปุ.) อวชฺชํ(นปุ.)

โทษของกาม        อาทีนโว(ปุ.)        

โทษที่เป็นความผิด         โทโส(ปุ.)

โทษที่ไม่น่าสรรเสริญ        อวณฺณํ(นปุ.)

โทษที่ล่วงเกินกัน        อจฺจโย(ปุ.)

ไท        อทาโส(ปุ.) ภุชิสฺโส(ปุ.) อิสฺสโร(ปุ.)

ไทร        นิโคฺรโธ(ปุ.) วโฏ(ปุ.)

ธ-อักษร

ธง        เกตุ(ปุ.) ธโช(ปุ.) ปตากา(อิตฺ.) กทลี(อิตฺ.) เกตนํ(นปุ.)

ธงชัยเฉลิมพล         ธชคฺโค(ปุ.)

ธตรฐ        ธตรฏฺโฐ(ปุ.)

ธนบุรี        ธนปุร(นปุ.)

ธนู        อิสฺสาโส(ปุ.) ธนุ(นปุ.) โกทณฺฑํ(นปุ.) จาโป(ปุ.) สราสนํ(นปุ.)

ธรณีประตู        อุมฺมาโร(ปุ.) เทหนี(อิตฺ.) เอฬโก(ปุ.) อินฺทขีโล(ปุ.)

ธรรมาสน์         ธมฺมาสนํ(นปุ.) ธมฺมปลฺลงฺโก(ปุ.)

ธัญญชาติ ๗ ชนิด        สาลิ(ปุ.)ข้าวสาลี วีหิ(ปุ.)ข้าวเปลือก กุทฺรูโส(ปุ.)หญ้ากับแก้ โคธุโม(ปุ.)ข้าวละมาน วรโก(ปุ.)ลูกเดือย ยโว(ปุ.)ข้าวเหนียว กงฺคุ(อิตฺ.)ข้าวฟ่าง

ธัญญมาส (๗ อูกา)        ธญฺญมาโส(ปุ.)

ธาตุดิน        ปฐวีธาตุ(อิตฺ.)

ธาตุน้ำ         อาโปธาตุ(อิตฺ.)

ธาตุไฟ        เตโชธาตุ(อิตฺ.)

ธาตุลม        วาโยธาตุ(อิตฺ.)

ธิดา        ทุหิตา(อิตฺ.) ธีตุ(อิตฺ.)

ธิดามาร        ตณฺหา(อิตฺ.) อรตี(อิตฺ.) รคา(อิตฺ.)

ธุระ         ธุรํ(นปุ.) กิจฺจํ(นปุ.) ภาโร(ปุ.)

น-อักษร

นก         สกุณี(อิตฺ.) อณฺฑโช(ปุ.) วิหโค(ปุ.) วิหงฺโค(ปุ.) ปกฺขี(ปุ.) วิหงฺคโม(ปุ.) ขโค(ปุ.) อณฺฑโช(ปุ.) สกุโณ(ปุ.) สกุนฺโต(ปุ.) ปตงฺโค(ปุ.) ทฺวิโช(ปุ.) วิกฺกงฺโค(ปุ.) ปตฺตยาโน(ปุ.) ปตนฺโต(ปุ.) นีฬโช(ปุ.)

นกกรวิก        กรวีโก(ปุ.)

นกกระจอก         กามี(ปุ.) กลวิงฺโก(ปุ.) จฏโก(ปุ.)

นกกระจาบ        วฏฺฏกา(อิตฺ.)

นกกระเต็น        สารงฺโค(ปุ.) จาตโก(ปุ.)

นกกระทา        ติตฺติโร(ปุ.)

นกกระเรียน        โกญฺจา(อิตฺ.) กุนฺตนี(อิตฺ.) โกญฺโจ(ปุ.)

นกกระแวน        ธูมฺยาโฏ(ปุ.) กลิงฺโค(ปุ.)

นกกวัก        กุกุตฺถโก(ปุ.)

นกกา        กาโก(ปุ.) อริฏฺโฐ(ปุ.) ธํโก(ปุ.) พลิปุฏฺโฐ(ปุ.) วายโส(ปุ.)

นกกางเขน         องฺคเหตุโก(ปุ.) ขญฺชนํ(นปุ.)

นกกาน้ำ         กาทมฺโพ(ปุ.)

นกกาเหว่า        ปรปุฏฺโฐ(ปุ.) ปรภโต(ปุ.) กุณาโล(ปุ.) โกกิโล(ปุ.) ปิโก(ปุ.)

นกแก้ว        สุโว(ปุ.) กีโร(ปุ.) สุโภ(ปุ.) สุโก(ปุ.)

นกเขา        อุกฺกุโส(ปุ.) กุรโร(ปุ.) กุกฺกุโห(ปุ.)

นกเขาไฟ        จโกโร(ปุ.)

นกแขกเต้า        สุโว(ปุ.) กีโร(ปุ.) สุโภ(ปุ.) สุโก(ปุ.)

นกค้อนหอย        การณฺฑโว(ปุ.)

นกเค้า         อุลูโก(ปุ.)

นกเค้าแมว        ตุลิโย(ปุ.) ปกฺขพิฬาโล(ปุ.)

นกเงือก        อาโฏ(ปุ.) ทพฺพิมุขทฺวิโช(ปุ.)

นกจากพราก        จกฺกวาโก(ปุ.) จกฺกวฺโห(ปุ.)

นกแซงแซว        สกุนฺโต(ปุ.) ภาสปกฺขินิ(ปุ.)

นกดุเหว่า         โกลิกา(อิตฺ.) โอกฺกจโร(ปุ.)

นกตระไน        สตปตฺโต(ปุ.) สารโส(ปุ.)

นกต้อยตีวิด        ทินฺทิโภ(ปุ.) กิกี(อิตฺ.)

นกตะกรุม        พลากา(อิตฺ.) วิสกณฺฐิกา(อิตฺ.)

นกนางนวล        ปิลโว(ปุ.) โปกฺขรสาตโก(ปุ.)

นกนางไส้        ลาโป(ปุ.) ลฏุกิกา(อิตฺ.) ลฑุกิกา(อิตฺ.)

นกเป็ดน้ำ         การณฺฑโว(ปุ.) รวิหํโส(ปุ.)

นกพิราบ         กโปโต(ปุ.) กกุโฏ(ปุ.) ปาราวโต(ปุ.) กโปโต(ปุ.) กกุโฏ(ปุ.) ปาเรวโต(ปุ.)

นกโพระดก        ชีวญฺชีโว(ปุ.)

นกยาง         ผโก(ปุ.) ผลากา(อิตฺ.) พโก(ปุ.) สุกฺกกาโก(ปุ.)

นกยูง        มยุโร(ปุ.) โมโร(ปุ.) มยูโร(ปุ.) พริหิ(ปุ.) นีลคีโว(ปุ.) สิขณฺฑิ(ปุ.) กลาปี(ปุ.) สิขี(ปุ.) เกกี(ปุ.) วรหิ(ปุ.)

นกสาลิกา        สาลิกา(อิตฺ.)

นกหัสดีลิงค์        วารโณ(ปุ.) หตฺถิลิงฺโค(ปุ.) หตฺถิโสณฺฑวิหงฺคโม(ปุ.)

นกอีลุ้ม        ทาตฺยุโห(ปุ.) กาฬกณฺฐโฏ(ปุ.) กาฬกณฺฏโก(ปุ.) โลหปิฏฺโฐ(ปุ.) กงฺโก(ปุ.)

นกฮูก        อุหุกาโร(ปุ.) อุลูโก(ปุ.) โกสิโย(ปุ.) วายสาริ(ปุ.)

นครพาราณสี        พาราณสี(อิตฺ.)

นครราชคฤห์        ราชคโห(ปุ.)

นครเวสาลี        เวสาลี(อิตฺ.)

นครศรีธรรมราช        นครสิริธมฺมนครํ(นปุ.)

นครสาวัตถี        สาวตฺถี(อิตฺ.)

นม(ดื่ม)        ขีรํ(นปุ.) ทุทฺธํ(นปุ.) ปโย(ปุ.) ถญฺญํ(นปุ.)

นม(เต้า)        ถโน(ปุ.) กุโจ(ปุ.) ปโยธโร(ปุ.)

นมส้ม         ทธิ(นปุ.)

นมัสการ        วนฺทา(อิตฺ.) อภิวาโท(ปุ.) นมสฺสกาโร(ปุ.)

นรก        นิรโย(ปุ.) ทุคฺคติ(อิตฺ.) นรโก(ปุ.)

นรกใหญ่ ๘ ขุม        สญฺชีโว(ปุ.) กาฬสุตฺโต(ปุ.) มหาโรรุโว(ปุ.) โรรุโว(ปุ.) ปตาปโน(ปุ.) อจีวิ(อิตฺ.) สํฆาโต(ปุ.) ตาปโน(ปุ.)

นระ        ชโน(ปุ.) มนุสฺโส(ปุ.) นโร(ปุ.)

นวด         สมฺพาหนํ(นปุ.) มทฺทนํ(นปุ.)

นอกธรรมวินัย         อุทธมฺโม(ปุ.) อุพฺพินโย(ปุ.)

นอกนี้        อิตร(คุณ.) อญฺญตร(คุณ.) เอก(คุณ.) อญฺญ(คุณ.)

น้อง        กนิฏฺฐ(คุณ.) กนิย(คุณ.) อนุช(คุณ.)

น้องชาย        กนิฏฺฐ(ปุ.) กนิฏฺฐภาตุ(ปุ.) อนุช(ปุ.)

น้องสาว        กนิฏฺฐา(อิตฺ.) กนิฏฺฐภคินี(อิตฺ.)

นอน         นิปชฺชติ(ปุ.) สยติ(ปุ.) เสติ(ปุ.) สุปติ(ปุ.) นิทฺทํ โอกฺกมติ(สำนวน) สีหเสยฺยํ   กปฺเปติ(สำนวน) สยนฺต(กิตก์) สยมาน(กิตก์) สยิต(กิตก์) สยิตฺวา(กิตก์) สยิตพฺพ(กิตก์) นิทฺทายติ(อาข.)

นอนคิดวางแผน         อุปายํ จินฺเตนฺโต นิปชฺชติ(สำนวน)  อุปายํ จินฺเตติ(สำนวน)

นอนตาไม่หลับ         ภีรุ(ปุ.) ฉมฺภี(ปุ.)

นอนนาน         ทีฆโสตฺติยํ(นปุ.)

น้อมใจไป         อธิมุตฺตมานส(คุณ.)

น้อมไปพระนิพพาน         นินฺนหทย(คุณ.)

น้อมลงกราบ         สิรสา นิปติ(สำนวน) อุเรน นิสีทติ(สำนวน)

น้อย        ปริตฺต(คุณ.) สุขุม(คุณ.) ขุทฺท(คุณ.) โถก(คุณ.) กิสํ(คุณ.) ตนุ(คุณ.) จุลฺล(คุณ.) มตฺต(คุณ.) เลส(ปุ.) ลโว(ปุ.) อณุ(ปุ.) กโณ(ปุ.) อปฺป(คุณ.) ขุทฺทก(คุณ.) จูฬ(คุณ.) อณุ(คุณ.)

น้อยใจ         โสสทติ(อาข.) โอสาเทติ(อาข.)

นักกลอน         กวิวิทู(ปุ.) กวิ(ปุ.)

นักเทศน์         ธมฺมกถิโก(ปุ.)

นักบวช         ปพฺพชิโต(ปุ.) ปริพฺพาชโก(ปุ.)

นักโบราณคดี         โปราณคติก(ปุ.)

นักประพันธ์         ปพนฺธวิญฺญู(ปุ.)

นักพรต        ยติ(ปุ.) วสิ(ปุ.)

นักมวย        มลฺลมุฏฺฐิก(ปุ.)

นักมวยมืออาชีพ        มุฏฺฐิกยุทฺธก(ปุ.)

นักแม่นธนู         ธนุคฺคห(ปุ.)

นักเรียน         โสตุ(ปุ.) สิปฺปุคฺคณฺหก(ปุ.) สิสฺส(ปุ.)

นักเลง        ธุตฺโต(ปุ.) อกฺขธุตฺโต(ปุ.) กิตโว(ปุ.) ชูตกาโร(ปุ.) อกฺขเทวี(ปุ.)

นักสืบ          จรปุริโส(ปุ.) จารปุริโส(ปุ.) คุยฺหปุริโส(ปุ.) คุตฺตปุริโส(ปุ.)

นั่ง        นิสีทนํ(นปุ.) นิสชฺชํ(นปุ.) นิสชฺชา(อิตฺ.) สชฺชา(อิตฺ.) นิสินฺนํ(กิตก์) นิสีทิ(อาข.)  นิสชฺชํ กปฺเปติ(อาข.) นิสีทติ(อาข.) สนฺนิสีทิ(อาข.) นิสินฺโน(กิตก์) นิสีทิตฺวา  (กิตก์)

นั่งก้มหน้า         อโธ โอโลเกตฺวา นิสีทติ(สำนวน) อโธมุโข นิสีทติ(สำนวน)

นั่งใกล้         ปริยุปาสนํ(นปุ.) ปริยุปาสติ(อาข.)

นั่งขัดสมาธิ         ปลฺลงฺกํ อาภุชิตฺวา นิสีทติ(สำนวน)

นั่งจับเข่าคุย         อุปนิสินฺนกถํ กเถตฺวา นิสีทติ(สำนวน)

นั่งซาวข้าว         นิสินฺนา ตณฺฑุเล โธวติ(สำนวน)

นั่งถอนใจ         นิตฺถุนนฺโต นิสีทติ(สำนวน)

นั่งรอคอย         เวลํ อาคมยมาโน นิสีทติ(สำนวน)

นั่งล้อม        ปริวาเรตฺวา นิสีทติ(สำนวน)

นั่งสงบ         สนฺนิสีทติ(อาข.)

นั่งสมาธิ         ปลฺลงฺเกน นิสีทนํ(สำนวน)

นั่งหลับตา         อกฺขีนิ นิมฺมิเลตฺวา นิสีทติ(สำนวน)

นั่งหันหลังให้         ปิฏฺฐึ ทตฺวา นิสีทติ(สำนวน) พหิมุโข นิสีทติ(สำนวน)

นับ        สงฺขฺยาต(คุณ.) คณิต(คุณ.) มิต(คุณ.)

นับถือ         อปจายติ(อาข.)

นับถือกันมาอย่างมั่นคง         สกฺกตา โหติ ครุกตา มานิตา ปูชิตา อปจิตา(สำนวน)

นับว่าเป็นพุทธศาสนิกชน         สาสนิโกติ สงฺขํ คจฺฉติ(สำนวน)

นัย        นโย(ปุ.)

นัยน์ตา        นยนํ(นปุ.) อกฺขิ(นปุ.) เนตฺตํ(นปุ.) โลจนํ(นปุ.) อจฺฉิ(นปุ.) จกฺขุ(นปุ.)

นา        เขตฺตํ(นปุ.) เกทารํ(นปุ.)

น้า        มาตุลานี(อิตฺ.)

น้า(น้องสาวแม่)        มาตุจฺฉา(อิตฺ.)

นาก        ปาสาณมจฺโฉ(ปุ.) ปาฐีโน(ปุ.)

น่าเกลียด        กุจฺฉิต(คุณ.) วิรูป(คุณ.)

นาค         นาโค(ปุ.)

นาคที่อยู่เชิงเขาสิเนรุ        กมฺพโล(ปุ.) อสฺสตรโร(ปุ.)

นาคพิภพ        อโธภุวนํ(นปุ.) ปาตาลํ(นปุ.) นาคโลโก(ปุ.) รสาตลํ(นปุ.)

นาคราช         นาคราชา(ปุ.) สปฺปราชา(ปุ.) วาสุกี(ปุ.)

นางกษัตริย์        ขตฺติยานี(อิตฺ.) ขตฺติยา(อิตฺ.)

นางนม        อุปมาตา(อิตฺ.) ธาตี(อิตฺ.)

นางพยาบาล          คิลานุปฏฺฐายิกา(อิตฺ.) สปฺปายการิกา(อิตฺ.)

นางยโสธรา        ภทฺทกจฺจานา(อิตฺ.) ราหุลมาตา(อิตฺ.) พิมฺพา(อิตฺ.) ยโสธรา(อิตฺ.)

นางวิสาขา        วิสาขา(อิตฺ.) มิคารมาตา(อิตฺ.)

นางอัปสร        อจฺฉรา(อิตฺ.) รมฺภา(อิตฺ.) ลมฺพุสา(อิตฺ.)

นาฏยะ        นาฏยํ(นปุ.)

นาฏรส        สิงฺคาโร(ปุ.)รัก กรุโณ(ปุ.)เอ็นดู วีโร(ปุ.)กล้าหาญ อพฺภูโต(ปุ.)อัศจรรย์ หสฺโส(ปุ.)ร่าเริง ภยานโก(ปุ.)น่ากลัว สนฺโต(ปุ.)สงบ วิภจฺฉํ(นปุ.)น่าเกลียด รุทฺทํ(นปุ.)โกรธ

น่าดู         ปาสาทิก(คุณ.) อภิรูป(คุณ.) ลาวญฺญ(นปุ.)

นาที         ขณ(ปุ.)(นปุ.)

นาน         จิรํ(คุณ.) อทฺธาน(คุณ.)

น่าพึงใจ        อิฏฺฐ(คุณ.) สุภค(คุณ.) หชฺช(คุณ.) ทยิต(คุณ.) วลฺลภ(คุณ.) ปิย(คุณ.)

นายกรัฐมนตรี         มนฺตีปริณายก(คุณ.)

นายกรัฐมนตรีไทย         ทยฺยรฏฺฐมนฺตีนํ นายโก(ปุ.) ทยฺยรฏฺฐมนฺตีนํ นายิกา(อิตฺ.)

นายเงิน         ทาสสามิก(ปุ.)

นายท้ายเรือ        โปตวาโห(ปุ.) นยามโก(ปุ.)

นายนิรยบาล        การณโก(ปุ.) นิรยโป(ปุ.) นิรยปาโล(ปุ.)

นายประกัน          ปาฏิโภโค(ปุ.) ปฏิภู(ปุ.)

นายพราน         เนสาโท(ปุ.) ลุทฺทโก(ปุ.)

นายอำเภอ        อนฺตรโภคิก(ปุ.) มณฺฑลิสฺสโร(ปุ.)

น่ารัก         มนุญฺญ(คุณ.) ทสฺสนีย(คุณ.) ปาสาทิก(คุณ.) อภิรูป(คุณ.) ปาสาทิก(คุณ.) ลาวญฺญ(นปุ.) สินิทฺธ(คุณ.) วจฺฉล(คุณ.)

นารายณ์         วาสุเทโว(ปุ.) หริ(ปุ.) กโณฺโห(ปุ.) เกสโว(ปุ.) จกฺกปาณิ(ปุ.)

น่าสะพรึงกลัว         เภรวํ(นปุ.) ภึสนํ(นปุ.) ภีม(คุณ.) ทารุณ(คุณ.) ภยานก(คุณ.) โฆร(คุณ.) ปฏิภย(คุณ.) เภสฺม(คุณ.) ภยงฺกร(คุณ.)

นาฬิกา         โหราโลจนํ(นปุ.) ฆฏิกายตนํ(นปุ.) ฆฏี(อิตฺ.)

น่าอัศจรรย์        อจฺฉริยํ(คุณ.) อพฺภุตํ(คุณ.) วิมฺหย(ปุ.)

น้ำ        อาโป(ปุ.) ปโย(ปุ.) ชลํ(นปุ.) วาริ(นปุ.) ปานียํ(นปุ.) สลิลํ(นปุ.) ทกํ(นปุ.)    อณฺโณ(ปุ.) นีรํ(นปุ.) วนํ(นปุ.) วาลํ(นปุ.) โตยํ(นปุ.) อมฺพุ(ปุ.) อุทกํ(นปุ.) กํ (นปุ.) ปานํ(นปุ.)

น้ำกรด        ขาโรทกํ(นปุ.)

น้ำค้าง        หิมํ(นปุ.) อตุหหินํ(นปุ.) อุสฺสาโว(ปุ.) นีหาโร(ปุ.) มหิกา(อิตฺ.)

น้ำจัณฑ์         อาปานํ(นปุ.)

น้ำชา         จาหา(อิตฺ.)

นำชื่อเสียงมาให้         กิตฺยาวห(คุณ.)

น้ำเชี่ยว         จณฺฑโสต(นปุ.)

น้ำใช้         ปริโภชนียํ(นปุ.) อุทกํ(นปุ.)

น้ำซุบ        ปฏิจฺฉาทนิยํ(นปุ.)

น้ำดี         มาธุ(ปุ.) มายุ(ปุ.) ปิตฺตํ(นปุ.)        

น้ำดื่ม        ปานีย(นปุ.) ปานํ(นปุ.)

น้ำดื่มฉลองชัย        ชยปานํ(นปุ.)

น้ำตก        นิชฺฌโร(ปุ.)

น้ำตา         อสฺสุ(นปุ.) เนตฺตชลํ (นปุ.) พปฺโป(ปุ.)

น้ำตามลำธาร        ชลํ(นปุ.)        

น้ำเต้า        ตุมฺพี(ปุ.) อลาพุ(อิตฺ.) ลาพุ(อิตฺ.)

น้ำเต้าทอง        ภิงฺกาโร(ปุ.) ชลทายโก(ปุ.)

น้ำท่วม         อุจฺโจทกํ(นปุ.)

น้ำทั่วไป        อุทกํ(นปุ.) ทกํ(นปุ.)        

น้ำนม        ขีร(นปุ.) ถน(นปุ.) ถญฺ(นปุ.) ปโย(ปุ.)                                

น้ำนมมารดา        ถญฺ(นปุ.)

นำไป         เนติ(อาข.) เนตฺวา(อาข.) หรติ(อาข.) นีหรติ(อาข.) อภิหรติ(อาข.) หริตฺวา (อาข.) วหติ(อาข.) วิเนติ(อาข.)

น้ำผึ้ง        ขุทฺทํ(นปุ.) มธุ(นปุ.)

น้ำฝน        วาริ(อิตฺ.)        

น้ำฝาดมูกมัน        กุฏชกสาโว(ปุ.)

น้ำมันข้น        เมโท(ปุ.) วปา(อิตฺ.)

น้ำมันช้าง        ทานํ(นปุ.)

น้ำมันเหลว        วสา(อิตฺ.) วิลีนสฺเนโห(ปุ.)        

นำมา        อาเนติ(อาข.) อาเนตฺวา(กิตก์) อาหรติ(อาข.) อาหริตฺวา(กิตก์) อานีต(กิตก์)  อาภต(กิตก์)  อาหฏ(กิตก์)  อาวหติ(อาข.)

น้ำมูก        สึฆานิกา(อิตฺ.)

น้ำลาย        เขฬ(ปุ.) ลาลา(อิตฺ.) เอฬา(อิตฺ.) เขโฬ(ปุ.) เอลา(อิตฺ.)

น้ำลายไหล        ลาลา(อิตฺ.)                                

น้ำวน        อาวฏฺโฏ(ปุ.) สลิลพฺภโม(ปุ.)

น้ำส้ม        โสวีร(นปุ.) กญฺชิย(นปุ.) อารนาฬ(นปุ.) ถุโสทก(นปุ.) ธญฺญมฺพิล(นปุ.) พิลงฺค(ปุ.)

น้ำสัมภวะ        อสุจิ(ปุ.) สมฺภโว(ปุ.) สุกฺกํ(นปุ.)

นำสืบต่อกันมา         ปรมฺปรภตา(อิตฺ.)

นำหน้า         ปเรตา(อิตฺ.)

น้ำเหลือง        ปุพฺโพ(ปุ.) ปูโย(ปุ.)

น้ำอสุจิ        อสุจิ(ปุ.) สมฺภโว(ปุ.) สุกฺกํ(นปุ.)

นำออก        นีหรติ(อาข.)

น้ำอ้อย         อุจฺฉุ(ปุ.) ยฏฺฐิ(อิตฺ.) คุโฬ(ปุ.) ผาณิต(นปุ.)                        

น้ำอ้อยงบ        วิสกณฺฏกํ(นปุ.)

นิกขะ        นิกฺขํ(นปุ.)

นิคม        นิคโม(ปุ.) นิคมนํ(นปุ.)

นิครนถ์        ทิคมฺพโร(ปุ.) อเจลโก(ปุ.) นิคณฺโฐ(ปุ.)

นิโครธ        นิคฺโรโธ(ปุ.) นิคฺ

นิฆัณฑุศาสตร์        นิฆณฺฑุ(ปุ.)

นิ่ง        โมนํ(นปุ.) อภาสนํ(นปุ.) ตุณฺหีภาโว(ปุ.)        

นิตย์        สตตํ(กิริยาวิเสส) นิจฺจํ(กิริยาวิเสส)(คุณ.) อวิรตํ(นปุ.) อนารตํ(นปุ.) สนฺตตํ(นปุ.) อนวรตํ(นปุ.) ธุวํ(นปุ.) นิจฺจกาลํ(นปุ.) สทา(นิปาต)

นิทาน         นิทานํ(นปุ.) อตีตวตฺถุ(นปุ.)

นิพพาน        โมกฺโข(ปุ.) นิโรโธ(ปุ.) นิพฺพานํ(นปุ.) ทีโป(ปุ.) ตณฺหกฺขโย(ปุ.) ปรํ(นปุ.) ตาณํ(ปุ.) เลณํ(นปุ.) อรูปํ(นปุ.) สนฺตํ(นปุ.) สจฺจํ(นปุ.) อนาลยํ(นปุ.) อสงฺขตํ(นปุ.) สิวํ(นปุ.) อมตํ(นปุ.) สุทุทฺทสํ(นปุ.) ปรายนํ(นปุ.) สรณํ(นปุ.) อนีติกํ(นปุ.) อนาสวํ(นปุ.) ธุวํ(นปุ.) อนิทสฺสนํ(นปุ.) อกตํ(นปุ.) อปโลกิตํ(นปุ.) นิปุณํ(นปุ.) อนนฺตํ(นปุ.) อกฺขรํ(นปุ.) ทุกฺขกฺขโย(ปุ.) อพฺยาปชฺฌํ(นปุ.) วิวฏฺฏํ(นปุ.) เขมํ(นปุ.) เกวลํ(นปุ.) อปวคฺโค(ปุ.) วิราโค(ปุ.)ปณีตํ(นปุ.)อจฺจุตํ(นปุ.) ปทํ(นปุ.) โยคกฺเขโม(ปุ.) ปารํ(นปุ.) มุตฺติ(อิตฺ.) สนฺติ(อิตฺ.) วิสุทฺธิ(อิตฺ.) วิมุตฺติ(อิตฺ.) อสงฺขตธาตุ(อิตฺ.) สุทฺธิ(อิตฺ.) นิพฺพุติ(อิตฺ.)

นิมนต์         อชเฌสนา(อิตฺ.) นิมนฺตนํ(นปุ.)

นิมิต        นิมิตฺตํ(นปุ.) วรงฺคํ(นปุ.) พีชํ(นปุ.) ผลํ(นปุ.) ลิงฺคํ(นปุ.)

นิมิตสตรี        โยนิ(ปุ.) ภคํ(นปุ.)

นิมิตหญิงชาย        องฺคชาตํ(นปุ.) รหสฺสงฺคํ(นปุ.) วตฺถคุยฺหํ(นปุ.) เมหนํ(นปุ.) นิมิตฺตํ(นปุ.) วรงฺคํ (นปุ.) พีชํ(นปุ.) ผลํ(นปุ.) ลิงฺคํ(นปุ.)

นิยาย         อาขฺยายิโก(ปุ.)

นิรันดร์         นิรนฺตรํ(กิริยาวิเสส)

นิโรธ        นิโรโธ(ปุ.)

นิ้ว         กรสาขา(อิตฺ.) อจฺฉรา(อิตฺ.) ปาณิ(ปุ.) องฺคุลิ(อิตฺ.) องฺคุลี(อิตฺ.)

นิ่ว        เมโห(ปุ.)

นิ้วกลาง        มชฺฌิมา(อิตฺ.)

นิ้วก้อย        กนิฏฺฐา(อิตฺ.)

นิ้วชี้        ตชฺชนี(อิตฺ.)

นิ้วนาง        อนามิกา(อิตฺ.)

นิ้วโป้ง        องฺคุฏฺโฐ(ปุ.)

นิ้วมือ        กรสาขา(อิตฺ.) อจฺฉรา(อิตฺ.) ปาณิ(อิตฺ.) องฺคุลี(อิตฺ.)

นิ้วหัวแม่มือ         องฺคุฏฺโฐ(ปุ.)

นึ่ง         เสทติ(อาข.) เสทิต(กิตก์)

นุ่งผ้า         นิวาเสตฺวา(กิตก์) ปารุปิตฺวา(กิตก์) ปริทหิตฺวา(กิตก์)

นุ่งห่ม         ปฏิจฺฉาเทตฺวา(กิตก์) นิคูหิตฺวา(กิตก์) อจฺฉาทนํ(นปุ.) ปริทหติ(อาข.) อจฺฉาเทติ(อาข.) ปริทหิตฺวา(กิตก์)        

เนยข้น        โนนีตํ(นปุ.)

เนยใส        สปฺปิ(นปุ.) ฆตํ(นปุ.)

เนยเหลว        มตฺถุ(นปุ.) ทธิมณฺฑํ(นปุ.)

เนรมิต         นิมฺมิต(กิตก์) มาปิต(กิตก์)

เนื้อ         มิโค(ปุ.)

เนื้อ (ที่เป็นสัตว์)        หริโณ(ปุ.) มิโค(ปุ.) สารงฺโค(ปุ.) มโค(ปุ.) อชินโยนิ(ปุ.) โครโม(ปุ.)

เนื้อ (สำหรับกิน)        มํสํ(นปุ.) อามิสํ(นปุ.) ปิสิตํ(นปุ.)

เนื้อเค็ม         วลฺลูโร(ปุ.)(อิตฺ.) อุตฺตตฺตํ(นปุ.)

เนืองๆ        สตตํ(นปุ.) นิจฺจํ(นปุ.) อวิรตํ(นปุ.) อนารตํ(นปุ.) สนฺตตํ(นปุ.) อนวรตํ(นปุ.) ธุวํ(คุณ.) อภิณฺหํ(นปุ.) อภิกฺขณํ(นปุ.) นิพทฺธํ(นิปาต) สทา(นิปาต)

เนื้อต่าง        จมโร(ปุ.)จามรี ปสโท(ปุ.)เนื้อฟาน กุรงฺโค(ปุ.)กวาง มิคมาตุกา(อิตฺ.) รุรุ(ปุ.)   รงฺกุ(ปุ.) นิงฺโก(ปุ.) สรโภ(ปุ.)

เนื้อทราย         อชินโยนิ(อิตฺ.)

เนื้อทราย        เอเณยฺโย(ปุ.) เอณิมิโค(ปุ.)

เนื้อสมัน        วาตมิโค(ปุ.) จลนี(ปุ.)

เนื้อแห้ง        วลฺลูรํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อุตฺตตฺตํ(นปุ.)

แน่ใจ        อธิโมกฺโข(ปุ.) นิจฺฉโย(ปุ.) นิณฺณโย(ปุ.)

แน่น         กุฏฺกุญฺจก(คุณ.)

แนว        ปนฺติ(อิตฺ.) วีถิ(อิตฺ.) อาวลิ(อิตฺ.) เสณิ(อิตฺ.) ปาฬิ(อิตฺ.)

แนวความคิด         อภินิเวสธมฺโม(ปุ.)

แนวความคิดที่แตกต่างกัน         นานาภินิเวโส(ปุ.)

แนวทาง         เลขา(อิตฺ.) อุปาโย(ปุ.)

แนะนำ         วิเนติ(อาข.) โอวทติ(อาข.) อนุสาสติ(อาข.) อชฺฌาปนํ(นปุ.)

แนะอาชีพสุจริต         สมฺมาอาชีวโยควิธึ วิเนติ(สำนวน)

โน้ม         อวนติ(อิตฺ.) โอณมนํ(นปุ.) โอนมนํ(นปุ.)

ในกาลก่อน         ปุพฺเพ(นิปาต)

ในระหว่าง         อนฺตรา(นิปาต) อนฺตเร(นิปาต)

บ-อักษร

บก        ถลํ(นปุ.) ถลี(อิตฺ.)

บกพร่องไม่สมบูรณ์         อปฺปโหนกานิ โหนฺติ อปริปุณฺณานิ(สำนวน)

บด         ฆํสติ(อาข.) ปึสติ(อาข.) ปิสติ(อาข.)

บทกลอน        กพฺพํ(นปุ.) กาเวยฺยํ(นปุ.) กาพฺยํ(นปุ.)

บรรจุจนเต็ม         ปูเรติ(อาข.) ปูรยติ(อาข.) ปูเรตฺวา(กิตก์)

บรรจุพระธาตุ         ธาตุ นิธาเนตฺวา(สำนวน)

บรรณาการ        อุปาทา(อิตฺ.) ปาภตํ(นปุ.) อุปายนํ(นปุ.) อุกฺโกโจ(ปุ.) ปณฺณากาโร(ปุ.) ปเหณกํ(นปุ.)

บรรทม         นิปชฺชติ(อาข.) นิปนฺน(กิตก์)

บรรเทา         วิโนเทติ(อาข.) นุทติ(อาข.)

บรรเทาให้หายไป         วูปสเมติ(อาข.) พยนฺตีกโรนฺติ(อาข.)

บรรลุ         อชฺฌุปคมนํ(นปุ.) อธิคต(กิตก์) อธิคจฺฉติ(อาข.) สมฺปาปุณาติ(อาข.) ปาปุณาติ(อาข.) ปตฺต(กิตก์) ลทฺธ(กิตก์) ปตฺต(กิตก์) คต(กิตก์)

บรรลุพระอรหัต         อรหตฺตสญฺญิตํ ผลคฺคํ ปตฺโต(สำนวน) อรหตฺตปฺปตฺโต(สำนวน)

บริการ         อชฺฌาวโร(ปุ.)

บริขาร ๘ อย่าง        ปตฺโต(ปุ.)บาตร ติจีวรํ(นปุ.)ไตรจีวร กายพนฺธนํ(นปุ.)ประคตเอว วาสิ(อิตฺ.)มีดน้อย สูจิ(อิตฺ.)เข็มเย็บผ้า ปริสฺสาวนํ(นปุ.)ผ้ากรองน้ำ

บริจาค         ปริจฺจชติ(อาข.) ปริจฺจาโค(ปุ.) ทานํ(นปุ.) เทติ(อาข.)

บริบูรณ์         ปริปุณฺณ(กิตก์)

บริภาษ        ปริภาสนํ(นปุ.) ปริภาสติ(อาข.)

บริโภค         อนุภุญฺชติ(อาข.) ปิวติ(อาข.) ขาทติ(อาข.) ปริภุญฺชติ(อาข.) ภุญฺชติ(อาข.)

บริษัท ๔ พวก        ภิกฺขุ(ปุ.) ภิกฺขุนี(อิตฺ.) อุปาสโก(ปุ.) อุปาสิกา(อิตฺ.)

บริษัทมีจำนวนมากขึ้น         อุสฺสนฺนา(อิตฺ.) ปริสา(อิตฺ.)

บริสุทธิ์         นิมฺมล(คุณ.) สุทฺธ(คุณ.) ปริสุทฺธํ(คุณ.) วิโสธติ(อาข.) วิสุชฺฌติ(อาข.)

บริหาร         ปริหรติ(อาข.)

บ่วง         ราหุลํ(นปุ.) พนฺธนํ(นปุ.) คณฺฐิปาโส(ปุ.) ปาโส(ปุ.)

บวช        ปพฺพชฺชา(อิตฺ.)  ปพฺพชิต(กิตก์) ปพฺพชติ(อาข.) อุปสมฺปทา(อิตฺ.)

บวชด้วยศรัทธา         สทฺธาปพฺพชิโต(คุณ.)

บวชถวายอกในศาสนา         สาสเน อุรํ ทตฺวา ปพฺพชติ(สำนวน)

บวชเป็นสามเณร         สามเณรปพฺพชฺชํ ปพฺพชติ(สำนวน)

บวม        โสโผ(ปุ.) สยถุ(ปุ.)

บ่อ        กาสุ(อิตฺ.) อาวาโฏ(ปุ.)

บอก         อาจิกฺขติ(อาข.) กเถติ(อาข.) วทติ(อาข.) อาโรเจสิ(อาข.) อาโรเจสิ(อาข.)

บอด         อนฺธ(คุณ.) อนฺธก(คุณ.)

บ่อน้ำ         อุทปานํ(นปุ.) ปานกูปํ(นปุ.) กูโป(ปุ.) อุทปาโน(ปุ.) ปานกูโป(ปุ.)

บ่อน้ำครำ        จนฺทนิกา(อิตฺ.) ชมฺพาลี(อิตฺ.) โอฬิคลฺโล(ปุ.)

บ่อยๆ        สาตตํ(กิริยาวิเสส) สาตจฺจํ(กิริยาวิเสส) นิจฺจํ(คุณ.) อภิณฺหํ(กิริยาวิเสส)อภิกฺขณํ(กิริยาวิเสส)

บอระเพ็ด        ผคฺคโว(ปุ.)

บัง         ฉนฺน(กิตก์) ฉาทิต(กิตก์)

บังเกิด         นิพฺพตฺตติ(อาข.) อุปฺปชฺชติ(อาข.) อุปฺปนฺน(กิตก์) อุทปาทิ(อาข.)

บังโกรยตัวผู้        สาลปณฺณี(อิตฺ.) ถิรา(อิตฺ.)

บังโกรยตัวเมีย        สีหปุจฺฉิ(อิตฺ.) ปณฺหิปณฺณี(อิตฺ.)

บังเหียนม้า        มุขาธานํ(นปุ.) ขลีโน(ปุ.)(นปุ.)

บัดนี้        อิทานิ(นิปาต) เอตรหิ(นิปาต)

บัดนี้ภพใหม่ไม่มี         นตฺถิ ทานิ ปุนพฺภโว(สำนวน)

บันได        โสปาโน(ปุ.) อาโรหณํ(นปุ.) นิสฺเสณี(อิตฺ.) อธิโรหิณี(อิตฺ.)

บันเทิง         อาโมทติ(อาข.) มุทิตา(กิตก์)

บันเทิงเบิกบาน         อาโมทิตปฺปปโมทิตํ(กิตก์)(สำนวน)

บันลือ        นทนฺโต(กิตก์) นทติ(อาข.) นาโท(ปุ.)

บันลือลั่น        มหานาทํ นทิ(สำนวน)

บัวขาว        ปุณฺฑรีกํ(นปุ.)

บัวแดง        รตฺตํ(นปุ.) โกกนทํ(นปุ.) โกกาสโก(ปุ.)

บัวหลวง        สโรรุหํ(นปุ.) สตปตฺตํ(นปุ.) อรวินฺทํ(นปุ.) วาริชํ(นปุ.) ปทุมํ(ปุ.)(นปุ.) ปงฺเกรุหํ (นปุ.) นลินํ(นปุ.) โปกฺขรํ(นปุ.) มุฬาลปุปฺผํ(นปุ.) กมลํ(นปุ.) ภิสปุปฺผํ(นปุ.)     กุเสสยํ(นปุ.)

บ่า         อํโส(ปุ.) ภุชสิโร(ปุ.) ขนฺโธ(ปุ.)

บ้า        อุมฺมาโท(ปุ.) จิตฺตวิพฺภโม(ปุ.) อุมฺมตฺตก(คุณ.)

บากบั่น         ฆเฏนฺต(กิตก์) วายมนฺต(กิตก์) ปรกฺกโม(ปุ.) ปรกฺกมติ(อาข.)

บาง         ตนุ(คุณ.)

บางที่         กตฺถจิ(นิปาต)

บางแห่ง         กตฺถจิ(นิปาต)

บาตร        ปตฺโต(ปุ.)

บาท        ปาโท(ปุ.) วิกฺกโม(ปุ.)

บ้าน          เคห(นปุ.) อคาร(นปุ.) ฆร(นปุ.) คาโม(ปุ.) นิเวสนํ(นปุ.) สํวสโถ(ปุ.) อาวสถํ (นปุ.)

บาน         ผรติ(อาข.) ปุปฺผติ(อาข.) ปุปฺผิต(กิตก์) สมฺผุลฺลิต(คุณ.) วิกจ(คุณ.) ผุลฺล(คุณ.) วิกสิต(คุณ.)

บ้าน(คนมีฐานะ)        นิเวสน(นปุ.)                                

บ้านคนเลี้ยงโค        โฆโส(ปุ.) โคปาลคามโก(ปุ.)

บ้านจัดสรร        อธิภู(ปุ.)

บานประตู        ปิฏฺฐสํฆาฏกํ(นปุ.) ทฺวารพาหา(อิตฺ.) กวาฏ(นปุ) คฬ(นปุ)

บานไม่รู้โรย        อมิลาโต(ปุ.) มหาสหา(อิตฺ.)

บ้านเล็ก         อคารกํ(นปุ.)

บานเวลาเช้า         ปาตผุลฺลํ(นปุ.)

บานใหม่ๆ        ขารโก(ปุ.) ชาลกํ(นปุ.)

บ้าบิ่น         วิกฺกม(คุณ.)

บาป        ปาปํ(นปุ.) กิพฺพิสํ(นปุ.) เวรํ(นปุ.) อฆํ(นปุ.) ทุจฺจริตํ(นปุ.) ทุกฺกฏํ(นปุ.) อปุญฺญํ(นปุ.) อกุสลํ(นปุ.) กณฺหํ(นปุ.) กลุสํ(นปุ.) ทุริตํ(นปุ.) อาคุ(นปุ.)

บาร์        อาปนํ(นปุ.) ปานมณฺฑลํ(นปุ.)

บ่าว        ทาโส(ปุ.) เจฏโก(ปุ.) เปสฺโส(ปุ.) กึกาโร(ปุ.) ปริจาริโก(ปุ.)

บำบัด         ติกิจฺฉา(อิตฺ.) ปฏิกฺกิริยา(อิตฺ.) ปฏิกมฺมํ(นปุ.)

บำบัดทุกข์         ทุกฺขาปนนยนํ(นปุ.)

บำบัดทุกข์บำรุงสุข         ทุกฺขาปนยน(นปุ.) สุขูปสํหาโร(ปุ.)

บำเพ็ญ         ปูรติ(อาข.) ปริปูรติ(อาข.) ปริปูเรตฺวา(กิตก์) กตานิ โหนฺติ สํวิธานิ(สำนวน)

บำเพ็ญประโยชน์         อตฺถจริยาสมาปนฺน(คุณ.)

บำเพ็ญศาสนกิจ         สาสนกิจฺจการี(คุณ.)

บำรุง         อุปฏฺฐหติ(อาข.)

บำรุงการทำมาหากิน         กมฺมปโยคนุมนุปถมฺภนํ(นปุ.)

บำรุงให้เจริญงอกงาม         สมฺมาวายาเมน อาเสวิตา ภาวิตา พหุลีกตา(สำนวน)

บำเรอ         ปริจรติ(อาข.) อุปจริต(กิตก์) อุปาสิต(กิตก์)

บำเหน็จ         ภติ(อิตฺ.) เวตนํ(นปุ.) มูลํ(นปุ.)

บิดามารดา        ปิตโร(ปุ.) มาตาปิตโร(ปุ.)

บีบคั้น         อภินิปฺปีเฬติ(อาข.) อุปฺปีเฬติ(อาข.) อุปฺปีเฬติ(อาข.) โอปีเฬติ(อาข.) ฑหติ(อาข.)

บึง        ตฬาโก(ปุ.) สโร (ปุ.)(นปุ.) วาปี(อิตฺ.) สรสี(อิตฺ.) ทโห(ปุ.) อมฺพุชากโร(ปุ.)

บุญ        กุสลํ(นปุ.) สุกฏํ(นปุ.) สุกฺกํ(นปุ.) ปุญฺญํ(นปุ.) ธมฺม(ปุ.)(นปุ.) สุจริตํ(นปุ.)        

บุญไม่จับ         ปุญฺเญน อนภิรโต โหติ อปริสุทฺโธ อปริยาทาโต(สำนวน)

บุตร        อปจฺจํ(นปุ.) ปุตฺโต(ปุ.) อตฺรโช(ปุ.) สุโต(ปุ.) ตนุโช(ปุ.) ตนโย(ปุ.) สูนุ(ปุ.)

บุนนาค        ปุนฺนาโค(ปุ.) เกสโร(ปุ.)

บูชา         ยชิต(กิตก์) ปูชา(อิตฺ.) ปูชนํ(นปุ.) ปูเชติ(อาข.) ยิฏฺฐํ(กิตก์) มโห(ปุ.) มหนํ  (นปุ.) มานโน(ปุ.) มานนํ(นปุ.) ยชนํ(นปุ.) มานํ(นปุ.) มานิต(กิตก์) มหิต(กิตก์) ปูชิต(กิตก์) ยชติ(อาข.) มาเนติ(อาข.) อปจายิต(คุณ.) มหิต(คุณ.) ปูชิต(คุณ.) อรหิต(คุณ.) อจฺจิต(คุณ.)  มานิต(คุณ.) อปจิต(คุณ.) อปจิติ(อิตฺ.) อจฺจนา(อิตฺ.) ปูชา(อิตฺ.) อปหาโร(ปุ.) พลิ(ปุ.) มานนา(อิตฺ.)

บูชาไฟ         อคฺคิปริจรณํ(นปุ.)

บูชาใหญ่ ๕ อย่าง        อสฺสเมโธ(ปุ.) ปุริสเมโธ(ปุ.) นิรคฺคโฬ(ปุ.) สมฺมาปาโส(ปุ.) วาชเปยฺยํ(นปุ.)

เบ็ด        วงฺโก(ปุ.)(นปุ.) พลิโส(ปุ.)        

เบ้า        มูสา(อิตฺ.)

เบา        ลหุ(คุณ.) สลฺลหุกํ(คุณ.) ลหุก(คุณ.) ตนุก(คุณ.)

เบาบาง         ตนุกภาโว(ปุ.)

เบิกบาน         ปโมทติ(อาข.) อตฺตมน(คุณ.) วิปฺผาริก(คุณ.)

เบียดเบียน         มารณํ(นปุ.) หนนํ(นปุ.) ฆาโต(ปุ.) นาสนํ(นปุ.) นิสูทนํ(นปุ.) หึสนํ(นปุ.) สรณํ(นปุ.) หึสา(อิตฺ.) วโธ(ปุ.) สสนํ(นปุ.) ฆาตนํ(นปุ.) หึสติ(อาข.) วิหึสติ(อาข.) ปีฬิต(กิตก์) นิปฺปีฬิต(กิตก์) พาธติ(อาข.) วิพาธติ(อาข.) วิเหเธติ(อาข.) อุปโรธติ(อาข.) ฑหนํ(นปุ.) เหฐยติ(อาข.) ปีฬติ(อาข.) วิเหสา(อิตฺ.) ฑหนํ(นปุ.)       อุปนิฆํสนํ(นปุ.) สพฺยาปชฺฌ(คุณ.) อุปทฺทูต(กิตก์) วิเหฐิต(กิตก์) หต(กิตก์) อุปหญฺญติ(อาข.) อภิปีเฬติ(อาข.) อาพาเธติ(อาข.) หึสาสีล(คุณ.) ฆาตุก(คุณ.)

เบียดเสียด         ฆฏฺเฏติ(อาข.) อุปนิฆํสติ(อาข.)

เบื้องขวา        อปสพฺย(คุณ.)

เบื้องต้น         ปุพฺพก(คุณ.) ตาว(นิปาต) ปฐม(นิปาต)

เบื้องปลาย         ปริยนฺต(คุณ.) ปริโยสานํ(นปุ.)

เบื้องหน้า         ปรายน(คุณ.) ปร(คุณ.)

เบื้อซ้าย        สพฺพย(คุณ.)

แบ่งเป็น ๒ พวก         ทฺวิธา วิภาคมาปชฺชติ(สำนวน)

แบบแผนการสร้าง          นวกกมฺมตนฺติ(อิตฺ.)

โบย         โปเถติ(อาข.) โปถิยเต(อาข.)

ใบ        ทลํ(นปุ.) ปลาสํ(นปุ.) ฉทนํ(นปุ.) ปณฺณํ(นปุ.) ปตฺตํ(นปุ.) ฉโท(ปุ.)

ใบกระเพรา        ตุลสิปณฺณํ(นปุ.)

ใบแก้คำผิด        โสธนปตฺต(นปุ.)

ใบตะไคร่น้ำ         เอรกปตฺตํ(นปุ.)

ใบบัว         โปกฺขรํ(นปุ.) ปทุมปณฺณํ(นปุ.)

ใบปลิว         อตฺถวณฺณกฺขรปณฺณ(นปุ.)

ใบมะเกลือ        อลฺลิปตฺตํ(นปุ.)

ใบไม้         ปลาโส(ปุ.) ปตฺตํ(นปุ.) ปณฺณํ(นปุ.)

ใบเรือ        ลกาโร(ปุ.)

ป-อักษร

ปกครอง         ปลาสติ(อาข.) ปริหรติ(อาข.) ปสาสนํ(นปุ.) อภิปาลนํ(นปุ.)

ปกครองโดยธรรม         ธมฺมิเกน ปสาสติ(สำนวน)

ปกปัก        รกฺขติ(อาข.) โคเปติ(อาข.) อารกฺโข(ปุ.) รกฺขนํ(นปุ.) รกฺขิโต(กิตก์)

ปกปิด         ปฏิจฺฉาเทตฺวา(กิตก์) นิคูหิตฺวา(กิตก์) อจฺฉาทนํ(นปุ.)

ปฏัก        ปโตโท(ปุ.) ตุตฺตํ (นปุ.) ปาจนํ(นปุ.)

ปฏิญญา         ปฏิญฺญา(อิตฺ.) ปฏิสฺสโว(ปุ.)

ปฏิบัติตึงไป         อตฺตกิลมถานุโยโค(ปุ.)

ปฏิบัติธรรม         ธมฺมานุธมฺมปสุต(คุณ.)

ปฏิบัติผิดกัน         สมฺมาปฏิปตฺติสทฺธิวิเสส(คุณ.)

ปฏิบัติหย่อนไป         กามสุขลฺลิกานุโยโค(ปุ.)

ปฏิบัติให้สมควร         ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน วิหรติ(สำนวน)

ปฏิปักษ์        ปฏิปกฺโข(ปุ.) สตฺตุ(ปุ.)

ปฏิสันถาร         กตปฏิสนฺถาร(คุณ.) กตปฏิสมฺโมทน(คุณ.)

ปฏิเสธ         ปฏิเสเธติ(อาข.) ปฏิกฺขิปติ(อาข.) ปฏิพาหติ(อาข.)

ปฐมาวิภัตติ        ปฐมาวิภตฺติ(อิตฺ.) ปจฺจตฺต(ปุ.)(นปุ.)

ปรนนิบัติ        อุปาสนํ(นปุ.) สุสฺสูสา(อิตฺ.) ปาริจริยา(อิตฺ.)

ปรนเปรอ        จริต(คุณ.) อุปาสิต(คุณ.)

ปรบมือ         ปหรติ(อาข.) ปปฺโปเฐติ(อาข.) ปปฺโปเฏติ(อาข.)

ปรองดอง        สามคฺคี(อิตฺ.) สมคฺค(คุณ.) สมงฺคี(คุณ.)

ปรอท        ปารโท(ปุ.) รโส(ปุ.)

ประกอบ         สมนฺนาคต(กิตก์) ปโยชิตฺวา(กิตก์) โยเชตฺวา(กิตก์) อุปยุญฺชติ(อาข.)

ประกอบความเพียร         ปธานํ อนุยุญฺชมาน(สำนวน)

ประกอบคุณงามความดี         กลฺยาณกมฺมมนุยุญฺชนฺต(กิตก์) กตกลฺยาณ(คุณ.) กตกุสล(คุณ.)

ประกอบด้วยเมตตาเป็นต้น         เมตฺตาทิคุณสมฺปนฺน(คุณ.)

ประกอบด้วยหิริโอตตัปปะ         หิโรตฺตปฺปสมฺปนฺน(คุณ.)

ประกอบธรรมเครื่องตื่น         ชาคริยานุยุตฺต(คุณ.)

ประกอบพิธีมงคล         มงฺคลวิธานํ(นปุ.)

ประกายไฟ        วิปฺผุลิงฺคํ(นปุ.) ผุลิงฺคํ(นปุ.)

ประการ        ปกาโร(ปุ.)

ประการต่างๆ        นานปฺปกาโร(ปุ.)

ประการสำคัญ         ปุพฺพงฺคโม โหติ เสฏฺโฐ(สำนวน)

ประกาศ         ปกาเสติ(อาข.) ปเวเทติ(อาข.) วิภาเวติ(อาข.) อุคฺโฆเสติ(อาข.) โฆษณํ(นปุ.) ฆุสนํ(นปุ.) ฆุสิตํ(กิตก์)

ประคำดีควาย        อริฏฺโฐ(ปุ.) เผณิโล(ปุ.)

ประจักษ์        ปจฺจกฺข(คุณ.)

ประจำ        นิจฺจํ(นิปาต) นิจฺจกาลํ(นิปาต) สทา(นิปาต)

ประชาธิปไตย         ปชาธิปเตยฺยํ(นปุ.)

ประชุมกัน         สนฺนิปาต(ปุ.)

ประชุมลับ        มนฺโต(ปุ.) มนฺตนํ(นปุ.)

ประชุมอยู่เป็นประจำ         สนฺนิปาตพาหุลฺลตา(อิตฺ.)

ประณีต         ปณีต(คุณ.)

ประดับ         ปฏิมณฺฑิต(กิตก์) อลงฺกต(กิตก์) ปสาธิต(กิตก์) ปฏิยาเทสิ(อาข.) ขจติ(อาข.)อลงฺกโรติ(อาข.) มณฺฑยติ(อาข.) ปสาเธติ(อาข.) ปิลนฺธติ(อาข.) อภิสงฺขโร(ปุ.)

ประดับด้วยคุณ         คุเณหิ ภูสิโต(สำนวน)

ประดับตัว        ปฏิยาเทติ(อาข.) อลงฺกโรติ(อาข.) มณฺฑยติ(อาข.) ปสาเธติ(อาข.) ปิลนฺธติ(อาข.)

ประดับประดา         อลงฺกต(กิตก์) ปฏิยตฺตํ(กิตก์)

ประดู่        ปิยโก(ปุ.)  อสโน(ปุ.) ปีตสาโล(ปุ.)

ประดู่ลาย        กปิลา(อิตฺ.) สึสปา(อิตฺ.)

ประตู        ทฺวารํ(นปุ.) ปฏิหาโร(ปุ.)

ประทับตรา         ลญฺฉนฺต(กิตก์) ลญฺฉติ(อาข.)

ประทับอยู่        วิหรติ(อาข.) วิหาสิ(อาข.) วิหริ(อาข.) วิหาสิตฺถ(อาข.)

ประทับอยู่กับราษฎรไทย         ทยฺยรฏฐวาสีหิ สหวาสี(สำนวน)

ประทับอยู่แล้ว         วิหาสิ(อาข.) วิหริ(อาข.) วิหาสิตฺถ(อาข.)

ประทานความบริสุทธิ์         วิสุทฺธิทายี(คุณ.)

ประทานความอบอุ่น         อุสุทโท(ปุ.)

ประทีป        ทีโป(ปุ.) ปทีโป(ปุ.) ปชฺโชโต(ปุ.)

ประเทศ        เทโส(ปุ.) วิสโย(ปุ.) ปเทโส(ปุ.)

ประเทศเขมร         กมฺโพช(ปุ.) กมฺพุช(ปุ.)

ประเทศจีน        จีนปเทโส(ปุ.)

ประเทศไทย         ทยฺยปฺปเทโส(ปุ.) สฺยามทิย(ปุ.)

ประเทศพม่า         มรมฺมรฏฺฐํ(นปุ.)

ประเทศเพื่อนบ้าน         สมนฺตปฺปเทส(ปุ.)

ประเทศมอญ         รามญฺญรฏฺฐํ(นปุ.)

ประเทศยุโรป         ยุโรปปเทโส(ปุ.) ทยฺยภาสาย ยุโรป อิติ เอวํนาโม(สำนวน)

ประนมมือ         อญฺชลิ(อิตฺ.) อญฺชลี(อิตฺ.) อญฺชลิกมฺมํ(นปุ.)

ประพฤติขัดเกลา         สลฺเลขวุตฺตี(คุณ.)

ประพฤติตนในธรรม         ปุเรจาริกํ กุรุมาน(สำนวน)

ประพฤติตนเป็นตัวอย่าง         ทิฏฺฐานุคติยา สีลทิฏฺฐิสมฺปนฺน(สำนวน)

ประพฤติตนไม่บกพร่อง         อนูนวุตฺติก(คุณ.)

ประพฤตินอกลู่นอกทาง         อุปฺปถกิริยา(อิตฺ.)

ประพฤติเหมาะสม         สภาควุตฺติ(อิตฺ.)

ประพันธ์         ปพนฺธ(ปุ.)(นปุ.)

ประเพณี         ปเวณิ(อิตฺ.) นิยโม(ปุ.)

ประเพณีที่ทำพระพุทธรูป         พุทฺธรูปสฺส ปฏิมากมฺมนิยโม (สำนวน)

ประเภท         ปเภท(ปุ.)

ประเภทคนจัณฑาล        กิราโต(ปุ.) มิลกฺขชาติโย(ปุ.)

ประเภทแห่งพิษงู        หลาหโล(ปุ.)(นปุ.) กาฬกูโฏ(ปุ.)

ประมวลเข้า         สมฺปิณฺเฑติ(อาข.) สมนฺนาหรติ(อาข.)

ประมวลความ         สโมธาเนสิ(อาข.)

ประมาณตน         อตฺตโน ปมาณํ(นปุ.)

ประมาท        ปมาโท(ปุ.) สติโวสฺสคฺโค(ปุ.)

ประเมิน        อคฺฆติ(อาข.) ตีเลติ(อาข.)

ประยงค์        สามา(อิตฺ.) ปิยงฺคุ(อิตฺ.) กงฺคุ(อิตฺ.)

ประโยค        ปโยโค(ปุ.) วากฺยํ(นปุ.)

ประโยชน์         อตฺโถ(ปุ.) สาโร(ปุ.) ปโยชนํ(นปุ.)

ประโยชน์ในทางทรัพย์สิน         ธนตฺโถ(ปุ.)

ประโยชน์สุขที่ยั่งยืน         ทีฆรตฺตํ หิตสุขาวหา(สำนวน)

ประเล้าประโลม         ปโลภิต(กิตก์)

ประวัติพระสาวก         สาวกปฺปวตฺติกถา(อิตฺ.)

ประสบ         ปสวติ(อาข.) เอธติ(อาข.) อธิคจฺฉติ(อาข.) สมฺปาปุณาติ(อาข.) วินฺทติ(อาข.) อนุโภติ(อาข.)

ประสบแต่ความสุข         สุเขธิต(คุณ.)

ประสบทุกข์เข็ญ         ทุกฺโขปโค(ปุ.)

ประสูติ        ปสโว(ปุ.)

ประเสริฐ         เสฏฺฐ(คุณ.) วิสฏฺฐ(คุณ.)  อนุตฺตร(คุณ.) อาสภิ(คุณ.)

ปรับปรุง         สงฺขรณํ(นปุ.)

ปรากฏ         ปญฺญาต(กิตก์) ปากฏ(กิตก์) วิสฺสุต(กิตก์) อภิญฺญาต(กิตก์) ปาตุรโหสิ(อาข.)  ปาตุภวติ(อาข.) อุปฏฺฐาติ(อาข.) ปญฺญายติ(อาข.) ขายติ(อาข.) อุปฏฺาติ(อาข.) ปญฺายติ(อาข.) ทิสฺสติ(อาข.)

ปรากฏนาม         นามเธยฺเยน วิสฺสุต(สำนวน)

ปรากฏมีชื่อเสียง         ปญฺญาต(กิตก์) ปากฏ(กิตก์) วิสฺสุต(กิตก์) อภิญฺญาต(กิตก์)

ปรากฏแล้ว         ปากฏีภูต(กิตก์)

ปราการ        ปากาโร(ปุ.)

ปราชญ์         พฺยตฺโต อโหสิ ปฏิพโล ปณฺฑิโต(สำนวน)

ปราบ        โอชินาติ(อาข.)

ปราบปราม         วูปสมนํ(นปุ.)

ปรายณธรรม        ปรายโณ(ปุ.)

ปรารถนา         อิจฺฉติ(อาข.) ปตฺเถติ(อาข.) ปตฺถนํ ฐเปติ(สำนวน) ปตฺถติ(อาข.) ตณฺหา(อิตฺ.) ปตฺถนา(อิตฺ.) ปณิธานํ(นปุ.) ปณิธิ(ปุ.)

ปรารถนาความอยู่ดีกินดี         สุขวาสาภิปตฺถยํ(นปุ.)

ปราศจากความบากบั่น         ปรกฺกมวิรหิต(คุณ.)

ปราศจากความอุตสาหะ         วีตุสฺสาห(คุณ.)

ปราศจากโรค         นิรามโย(ปุ.)

ปราศรัย         สุนฺทรวจนํ(นปุ.) สลฺลาโป(ปุ.)

ปราสาท ๗ ชั้น        สตฺตภูมิก(คุณ.)

ปราสาท        ปาสาโท(ปุ.)

ปราสาทโล้น        มุณฺฑจฺฉทฺโท(ปุ.) หมฺมิยํ(นปุ.)

ปริจเฉทของคัมภีร์        ปริจฺเฉโท(ปุ.)

ปริยัติ        ปริยตฺติ(อิตฺ.) ธมฺโม(ปุ.)

ปรึกษา         มนฺเตติ(อาข.) มนฺเตยฺย(อาข.)

ปรุงแต่ง        อภิสงฺขโรติ(อาข.) อภิสงฺขาโร(ปุ.) สงฺขาโร(ปุ.)

ปรุงยา         เภสชฺชํ โยเชตฺวา(สำนวน)

ปรุ๊ฟ        โสธยปณฺณ(นปุ.)

ปรู        ลิโกจโก(ปุ.) องฺโกโล(ปุ.)

ปรู๊ฟ         โสธยปณฺณํ(นปุ.)

ปลงลง         โอตาเรติ(อาข.)  โอโรเปติ(อาข.)  นิกฺขิปติ(อาข.) โอหารณํ(นปุ.)

ปลงอายุสังขาร         อายุสงฺขารวิสฺฏฺฐภูต(กิตก์)

ปล้น         ภณฺฑนิ วิลุมฺปึสุ (สำนวน) อจฺฉินฺทิตฺวา(กิตก์)

ปลวก         อุปจิโก(ปุ.)

ปลอก         โกสโก(ปุ.)

ปลอกหมอน         พิมฺโพหน(อิตฺ.) จิมิลิกา(อิตฺ.)

ปล้อง        ปพฺพํ(นปุ.) ผฬุ(นปุ.) คณฺฐิ(ปุ.)

ปลอบใจ         อสฺสาเสตฺวา(กิตก์)

ปลอมตัว         อญฺญาตกเวเสน(ตติยา) เทวตาวณฺเณน (ตติยา)

ปล่อย         มุญฺจติ(อาข.) โมจติ(อาข.) โมจยติ(อาข.)

ปละ        ปลํ(นปุ.)

ปลา        ชลโช(ปุ.) วาริโช(ปุ.) มจฺโฉ(ปุ.) มีโน(ปุ.) ชลจโร(ปุ.) ปุถุโลโม(ปุ.) อมฺพุโช(ปุ.) ฌโส(ปุ.)

ปลากด        นฬมีโน(ปุ.)

ปลากระบอก        ปาวุโส(ปุ.)

ปลากระเบน         มณฺฑก(ปุ.)

ปลาค้าว        มุญฺโช(ปุ.)

ปลาฉลาม        สุสุกา(อิตฺ.)

ปลาดุก        สิงฺคี(ปุ.)

ปลาตะเพียน        โรหิโต(ปุ.)

ปลาตาตุ่ม        สผรี(อิตฺ.)

ปลาบปลื้ม         สมฺโมทาม(อาข.)        

ปลาย        มตฺถก(นปุ.) ปริโยสาน(ปุ.) ปริยนฺต(นปุ.) อนฺต(ปุ.) อคฺค(นปุ.) สิโร(ปุ.) อคฺคํ (นปุ.) สิขโร(ปุ.)(นปุ.) โกฏิ(อิตฺ.) โกโณ(ปุ.) อสฺโส(ปุ.)

ปลายคาง         จุพุก(นปุ.)

ปลายงวง        กรคฺคํ(นปุ.) โปกฺขรํ(นปุ.)

ปลายเท้า         ปาทคฺคํ(นปุ.) ปปทํ(นปุ.) จรณํ(นปุ.) ปปโท(ปุ.) ปาทคฺคํ(นปุ.)

ปลาลำพัน        มคฺคโร(ปุ.)

ปลาสลาด        คณฺฑโก(ปุ.)

ปลาสวาย        วลโช(ปุ.)

ปลาหมอ        วลโช(ปุ.)

ปลาแห้ง         สุกฺขมจฺโฉ(ปุ.)

ปลาใหญ่ต่างๆ        ติมิ(ปุ.) ติมิงฺคโล(ปุ.) ติมิรปิงฺคโล(ปุ.) อชฺฌาโรโห(ปุ.) มหาติมิ(ปุ.)

ปลิง        ชลูกา(อิตฺ.) รตฺตปา(อิตฺ.)

ปลื้มใจ         วิตฺต(นปุ.)

ปลูกฝัง         อาเสวิต(กิตก์)

ปวดท้อง         อุทรวาโต อุฏฺฐิโต(สำนวน)

ปวดศีรษะ         สีสํ รุชฺชติ(สำนวน)

ป่วย         อาตุร(คุณ.)

ปวารณา         ปวาเรตฺวา(กิตก์)

ป้องกัน         ปฏิพาหิตุ(อาข.) นิวาเรตุ(อาข.) ปฏิพาหโน(ปุ.) ติกิจฺฉติ(อาข.) รกฺขติ(อาข.) โคเปติ(อาข.) อารกฺโข(ปุ.) รกฺขนํ(นปุ.) รกฺขิต(กิตก์) เตกิจฺฉา(อิตฺ.) ติกิจฺฉนํ(นปุ.)

ป้องกันรักษาทำนุบำรุง         อภิปาลนตฺถาย เจว อภิวฑฺฒนตฺถาย จ(สำนวน)

ปองร้าย        พฺยาปาโท(ปุ.) อนภิรทิธิ(อิตฺ.)

ป้องหน้า         นลาเฏ หตฺถํ ฐเปติ(สำนวน)

ป้องหน้า        หตฺถํ ภมุกสฺมึ อุกฺขิปิตฺวา โอโลเกติ(สำนวน)

ปอด          ปปฺผาส(นปุ.)

ป้อม        อฏฺโฏ(ปุ.) อฏฺฏาลโก(ปุ.)

ปะรำ        มณฑปํ(นปุ.) ชนาลโย(ปุ.)

ปักมั่น         อวฏฺฐิต(กิตก์) อวตฺถิต(กิตก์)

ปักษ์        ปกฺโข(ปุ.)

ปัจจันตประเทศ        มิลกฺขเทโส(ปุ.) ปจฺจนฺโต(ปุ.)

ปัญจมีวิภัตติ        ปญฺจมีวิภตฺติ(อิตฺ.) อปาทาน(ปุ.)(นปุ.) นิสฺสกฺก(ปุ.)(นปุ.)                

ปัญญา         ธี(อิตฺ.) ปญฺญา(อิตฺ.) พุทฺธิ(อิตฺ.) เมธา(อิตฺ.) มติ(อิตฺ.) มุติ(อิตฺ.) ภูริ(อิตฺ.) มนฺตา (อิตฺ.) ปญฺญานํ(นปุ.) ญาณํ(นปุ.) วิชฺชา(อิตฺ.) โยนิ(อิตฺ.) ปฏิภาณํ(นปุ.) อโมโห(ปุ.)

ปัญญาคิดหาหนทาง         อุปายวีมํสา(อิตฺ.)

ปัญญาแต่กำเนิด         สชาติปญฺญา(อิตฺ.)

ปัญญาพิเศษ        วิปสฺสนา(อิตฺ.) สมฺมาทิฏฺฐิ(อิตฺ.)

ปัญญารอบคอบ        สมฺปชญฺญํ(นปุ.) เนปกฺกํ(นปุ.)

ปัญญาเลือกเฟ้น        วีมํสา(อิตฺ.)

ปัญหา        ปญฺโห(ปุ.) ปุจฺฉา(อิตฺ.)

ปัณฑุกัมพล        ปณฺฑุกมฺพลํ(นปุ.)

ปัดกวาด         สมฺมชฺชติ(อาข.) โอปุญฺชติ(อาข.)

ปัตถะ        ปตฺโถ(ปุ.)

ปั่นป่วน         สงฺขุภติ(อาข.) ขุภติ(อาข.)

ปัสสาวะ        ปสฺสาโว(ปุ.) มุตฺตํ(นปุ.)

ป้า (พี่สาวพ่อ)        ปิตุจฺฉา(อิตฺ.)

ป้า        มาตุลานี(อิตฺ.)

ป่า        อรญฺญํ(นปุ.) กานนํ(นปุ.) ทาโย(ปุ.) คหนํ(นปุ.) วิปินํ(นปุ.) วนํ(นปุ.) อฏวี(อิตฺ.)วนสณฺฑ(ปุ.)

ป้า(พี่สาวแม่)        มาตุจฺฉา(อิตฺ.)        

ปาก        วทนํ(นปุ.) มุขํ(นปุ.) ตุณฺฑํ(นปุ.) วตฺตํ(นปุ.) ลปนํ(นปุ.) อนนํ(นปุ.) โอฏฺโฐ(ปุ.) อานนํ(นปุ.)

ปากกา         เลขนี(อิตฺ.) มสิเลขนี(อิตฺ.)

ปากกาหมึกซึม         นาฬเลขนี(อิตฺ.)

ปากน้ำ        สมฺเภโท(ปุ.) สินฺธุสงฺคโม(ปุ.)

ปากไม่ตรงกับใจ         อญฺญํ หทเยน จินฺเตติ อญฺญํ มุเขน กเถติ(สำนวน) น ยถาวาที ตถาการี(สำนวน)

ป่าช้า         อามกสุสาน(นปุ.) สุสาน(นปุ.) อาฬาหน(นปุ.)

ป่าช้าผีดิบ        สีวถิกา(อิตฺ.) อามกสุสานํ(นปุ.)

ปาฏิหาริย์        ปาฏิหีรํ(นปุ.) ปาฏิเหรํ(นปุ.) ปาฏิหาริยํ(นปุ.) ปาฏิหีตํ(นปุ.) ปาฏิเหรํ(นปุ.)

ปานกลาง         มชฺฌิมา(อิตฺ.)

ปานดวงใจ         ปาณสมํ(คุณ.)

ปาริชาตก์        โกวิฬาโร(ปุ.) ปาริจฺฉตฺตโก(ปุ.) ปาริชาตโก(ปุ.)

ปิ้ง         องฺคารปกฺก(กิตก์) องฺคารปจิต(กิตก์) สนฺตตฺต(คุณ.) ธุปิต(คุณ.)

ปิฎก        ปิฏกํ(นปุ.)

ปิด         ฉาเทติ(อาข.) ปฏิจฺฉาเทติ(อาข.) อวรุนฺธติ(อาข.) ปิทหิตฺวา(กิตก์) ปิธาย(กิตก์) ถเกตฺวา(กิตก์) รุนฺเธติ(อาข.) ปิทหติ(อาข.) นิวาเรติ (อาข.)

ปิดทองหลังพระ         สุวณฺณปฏฺเฏหิ ปิฏฺฐิยํ พุทฺธรูปสฺส อาลิมฺปนํ(สำนวน)

ปิดประตู         ทวารํ ปิธาย(สำนวน)

ปิดหน้าต่าง         วาตปานํ วิวรติ(สำนวน)

ปิ่น        จูฬามณิ(ปุ.) สิโรมณิ(ปุ.)        

ปี        วสฺส(ปุ.)(นปุ.) สํวจฺฉโร(ปุ.)(นปุ.) สรโท(ปุ.) หายโน(ปุ.) สมา(อิตฺ.) สมํ(นปุ.) สกํ(นปุ.)

ปีก        ปตตฺตํ(นปุ.) เปขุณํ(นปุ.) ปตฺตํ(นปุ.) ปกฺโข(ปุ.) ปิญฺชํ(นปุ.) ฉโท(ปุ.) ครุ(ปุ.)

ปีกนก        ปกฺโข(ปุ.) ปตฺตํ(นปุ.) ปิญฺชํ(นปุ.)

ปีกุน         สูกรสํวจฺฉร(ปุ.) วราหสํวจฺฉร(ปุ.) กุณฺโฑ(ปุ.)

ปีเก่า         อตีตสํวจฺฉโร(ปุ.)

ปีขาล         พฺยคฺฆสํวจฺฉโร(ปุ.) พฺยคฺฆสํวจฺฉรํ(นปุ.)

ปีจอ        โสณสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีฉลู        อุสภสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีชวด         มูสิกสํวจฺฉรํ(ปุ.)(นปุ.)

ปีเถาะ         สสสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีมะเมีย         อสฺสสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีมะแม        เอฬกสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.) อชสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีมะโรง        นาคสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีมะเส็ง        สปฺปกสํวจฺฉร(ปุ.)(นปุ.)

ปีระกา         กุกฺกุฏสํวจฺฉโร(ปุ.) กุกฺกุฏสํวจฺฉรํ(นปุ.)

ปี่และสังข์        สุสิรํ(นปุ.)

ปีวอก         มกฺกฏสํวจฺฉรํ(นปุ.) กปิสํวจฺฉรํ(นปุ.)

ปุถุชน        อนริโย(ปุ.) ปุถุชฺชโน(ปุ.)

ปุพพัณณชาติ        ปุพฺพณฺณํ(นปุ.)

ปู่         อยฺยโก(ปุ.) ปิตามโห(ปุ.) เอยฺยโก(ปุ.)

ปู        กกฺกฏโก(ปุ.) กุฬีโร(ปุ.) อุปยานโก(ปุ.)

ปู่ทวดตาทวด        ปปิตามโห(ปุ.) ปยฺยโก(ปุ.)

ปูนซีเมนต์         กาฬจุณฺณํ(นปุ.)

ปูลก         กุรํ(นปุ.)

ปูลาด        อตฺถรติ(อาข.) อตฺถต(กิตก์) ปตฺถริตฺวา(กิตก์) สนฺถริตฺวา(กิตก์) ปญฺญาเปตฺวา(กิตก์) อตฺถริตฺวา(กิตก์) ปญฺญตฺต(กิตก์)

เปญจมาศ        วิตุนฺนํ(ปุ.) สุนิสนฺนกํ(นปุ.)

เป็น         โหติ(อาข.) อตฺถิ(อาข.) ภวติ(อาข.) สนฺต(กิตก์)

เป็นกษัตริย์ราชวงศ์จักรี         จกฺกิขตฺติโย(ปุ.) จกฺกิวํสิโก(ปุ.)

เป็นการตั้งใจจริง         สมาหิตจิตฺตสฺส นิมิตฺตภูโต(สำนวน)

เป็นการตัดสิทธิเสรีภาพ         อิสฺสริยุปฺปจฺเฉทนตฺถํ สํวตฺตติ(สำนวน)

เป็นของคู่กับบุญ         ปุญฺญสฺส นิพฺพจนํ โหติ เววจนํ(สำนวน)

เป็นของคู่บ้านเมือง         ธชํ วิย สมฺปคฺคหิตํ(สำนวน)

เป็นของตน        นิช(คุณ.) สก(คุณ.) อตฺตนิย(คุณ.)

เป็นไข้        คิลาโน(ปุ.)

เป็นคนที่ไม่มีโรค         อโรคี(คุณ.) อปฺปาตงฺก(คุณ.) อปฺปาพาธ(คุณ.)

เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์  นิยฺยานิก(คุณ.)

เป็นเครื่องหมาย         นิมิตฺตภูต(คุณ.) ฐานีย(นปุ.)

เป็นเครื่องห้าม         ปฏิปกฺขภูตา โหนฺติ(สำนวน) ปฏิฆาตภูต(คุณ.)

เป็นฆราวาส         คหฏฐภูต(คุณ.)

เป็นจอมทัพที่แกล้วกล้า         วรสูรโยธ(คุณ.)

เป็นเจ้า         ปติ(ปุ.) สามิ(ปุ.) อิสฺสร(ปุ.) อภิภู(ปุ.)

เป็นตัวอย่าง         ทิฏฺฐานุคติ(สำนวน)

เป็นทางสงบระงับ         อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ(สำนวน)

เป็นที่เคารพรักใคร่         คารวฏฺฐานีโย ปิโย มนาโป(สำนวน)

เป็นที่พอใจ         อิฏฺฐํ โหติ กนฺตํ มนาปํ(สำนวน)

เป็นที่พึ่งของคนยาก         ทลินฺทนาถ(คุณ.)

เป็นที่ยอมรับนับถือ         สมฺภาวิต(คุณ.)

เป็นที่ยอมรับรู้กัน         สมฺภาวิตา โหนฺติ ปสฏฺฐา(สำนวน)

เป็นไท         ภุชิสฺส(คุณ.)

เป็นธรรมดาคนเรา         มนุสฺสา นาเมเต(สำนวน)

เป็นแบบอย่าง         ทิฏฺฐานุคติก(คุณ.)

เป็นประมุขของสงฆ์         สงฺฆยติฐานิก(คุณ.)

เป็นประโยชน์สุขที่ยั่งยืน         ทีฆรตฺตํ หิตสุขาวห(คุณ.)

เป็นไป         ปวตฺตติ(อาข.) วตฺตติ(อาข.) สํวตฺตติ(อาข.)

เป็นผู้โดดเดี่ยว         เอกีภูต(คุณ.) อนาถ(คุณ.)

เป็นผู้ตื่น         ชาคร(คุณ.)

เป็นผู้ศึกษามามาก         พหุสฺสุโต โหติ สุตธโร สุตสนฺนิจโย(สำนวน)

เป็นฝ่ายถาม         ปุจฺฉาย ปกฺขก(สำนวน)

เป็นพยาน         สกฺขีภูต(คุณ.)

เป็นพระประมุข         ปมุโข เจวโหติ วรนาโถ จ(สำนวน)

เป็นพระพ่อเจ้า         ปิตุฏฐานีย(คุณ.)

เป็นเพียงความสนุกสนาน         อภินนฺทนมตฺต(คุณ.)

เป็นภาระของข้าพเจ้า         มยฺหเมว ภาโร(สำนวน)

เป็นล้นพ้น         ภิยฺโยโส มตฺตาย(สำนวน)

เป็นลม         มุจฺฉ(คุณ.)

เป็นวันที่ดีเลิศ         ทินคฺค(คุณ.)

เป็นศูนย์รวมดวงใจ        หทยเปมสโมธานภูต(คุณ.) มโนหรีภูต(คุณ.)

เป็นสิ่งสำคัญ         พหูปการา โหติ พาฬฺหคิลานา(สำนวน)

เป็นสุขเกษมศานต์         นิพฺภโย โหติ อกุโตภโย นิรุปทฺทโว(สำนวน)

เป็นหนี้ เป็นทุกข์         อินาทาเณ ทุกฺขิตภาโว(สำนวน)

เป็นหนี้บุญคุณ         ปการํ อิณาทานํ(สำนวน)

เป็นหนี้บุญคุณท่าน         เตสุมปการํ อิณาทานํ(สำนวน)

เป็นหลักฐาน         นิธานภูต(คุณ.)

เป็นหัวหน้า         ปุพฺพงฺคม(คุณ.) ปมุข(คุณ.) ปธาน(คุณ.) โมกฺข(คุณ.) ปาโมกฺข(คุณ.)

เป็นใหญ่        อิสฺสร(คุณ.) นายก(คุณ.) สามี(คุณ.) ปติ(คุณ.) อีส(คุณ.) อธิปติ(คุณ.) ปภู (คุณ.) อยฺย(คุณ.) อธิป(คุณ.) อธิภู(คุณ.) เนต(คุณ.)

เป็นอยู่         ชีวติ(อาข.) วาสํ กปฺเปสิ(สำนวน) ชีวิตํ กปฺเปสิ(สำนวน) ชีวี(ปุ.) ชีวติ(อาข.) ชีวนฺตี(อิตฺ.) ชีวนี(อิตฺ.) มธุรโก(ปุ.) ชีวโก(ปุ.)

เป็นอยู่ลำบาก         อติทุชฺชีวี(คุณ.)

เป็นอริกัน         ปฏิปกฺขภูต(คุณ.)

เป็นเอก         เอก(คุณ.) อทุติย(คุณ.)

เปรต        เปต(ปุ.)

เปรียง        ตกฺกํ(นปุ.) มถิตํ(นปุ.) ฆตํ(นปุ.)

เปรียบด้วย         อุปมา(อิตฺ.)

เปรียบด้วยกำลังกาย         กายพลูปม(คุณ.)

เปรียบเทียบ        โอปมฺมํ(นปุ.) อุปมานํ(นปุ.) อุปมา(อิตฺ.)

เปล่งเสียง         สทฺทํ นิจฺฉาเรติ(สำนวน) สทฺทํ กโรติ(สำนวน) มหาสทฺทํ นิจฺฉาเรติ(สำนวน)

เปลว        วิรุฬ(กิตก์)

เปลวไฟ        สิขา(อิตฺ.) ชาลา(อิตฺ.) อจฺจิ(อิตฺ.)

เปล่า        ตุจฺฉ(คุณ.) ริตฺตก(คุณ.) สุญฺญ(คุณ.) อสาร(คุณ.) เผคฺคุ(คุณ.)

เปล่าประโยชน์        โมฆ(คุณ.) นิรตฺถก(คุณ.)

เปลี่ยนแปลง         วิกาโร(ปุ.) ปริณาโม(ปุ.)

เปลี่ยนแปลงของสังคม         ปริณาโม ปชาย(สำนวน)

เปลี่ยวใจ         อนาถ(คุณ.) นิรสฺสาท(คุณ.) ทุกฺขิต(คุณ.) นิรสาท(คุณ.)

เปลือกไม้        วกฺกโล(ปุ.)(นปุ.) ติรีฏกํ(นปุ.)

เปลือย         นิคณฺโฐ(ปุ.) อเจลโก(ปุ.) ทิฆมฺพโร(ปุ.)

เป้าหมาย        ลกฺขํ(นปุ.) เวชฺฌํ(นปุ.) สรพฺยํ(นปุ.)

เปิด         อนุคฺฆาเฏติ(อาข.) โอปาเฏติ(อาข.)

เปียก         ติมิตฺวา(กิตก์) เตมยติ(อาข.) ตีมยติ(อาข.)

เปียกชื้น        ตินฺต(คุณ.) อุลฺล(คุณ.) อทฺท(คุณ.) กิลินฺน(คุณ.) อุนฺน(คุณ.)

เปือกตม        ชมฺพาโล(ปุ.) กลลํ(นปุ.) ปงฺโก(ปุ.) จิกฺขลฺลํ(นปุ.) กทฺทโม(ปุ.)

แป้งทาตัว         วาสจุณฺณํ(นปุ.)

แปรงสีฟัน        ทนฺตกฏฺฐํ(นปุ.)

แปรไป        ปกฺก(คุณ.) ปริณต(คุณ.)

แปล         ปริวตฺตํ(นปุ.) ภาสนฺตรํ ปริวตฺตํ(สำนวน) ภาสนฺตรํ ปริวตฺเตติ(สำนวน)

แปลงตัว         อญฺญาตกเวส(ปุ.)

แปลเป็นไทย         ทยฺยภาสาปริวตฺตนํ(นปุ.)

โปรย        กิรติ(อาข.) อากิรติ(อาข.)

โปรยลง         อากีรติ(อาข.) โอปุนาติ(อาข.)

ไป        คจฺฉติ(อาข.) ยาติ(อาข.) ปฏิปชฺชติ(อาข.) เอติ(อาข.) คจฺฉติ(อาข.) ยาติ(อาข.) นิยฺยานํ(นปุ.) คมนํ(นปุ.) ยาตฺรา(อิตฺ.) ปฏฺฐานํ(นปุ.) คโม(ปุ.) คติ(อิตฺ.) อคมาสิ(อาข.) ปายาสิ(อาข.) ปฏิปชฺชิ(อาข.)

ไปรษณีย์        สนฺเทสาคาร(ปุ.)(นปุ.)

ผ-อักษร

ผง        จุณฺโณ(ปุ.) ปํสุ(ปุ.) รโช(ปุ.) ธูลิ(อิตฺ.) เรณุ(ปุ.)(อิตฺ.)

ผม        เกโส(ปุ.) กุนฺตโล(ปุ.) วาโล(ปุ.) อตุตมงฺครุโห(ปุ.) มุทฺธโช(ปุ.)

ผมจุก         กากปกฺโข(ปุ.) สิขณฺฑโก(ปุ.) จูฬา(อิตฺ.) สิขา(อิตฺ.)

ผมถัก        ธมฺมิลฺโล(ปุ.)

ผมเปีย        กากปกฺโข(ปุ.) สิขณฺฑโก(ปุ.)

ผมหงอก        ปลิตํ(นปุ.)

ผล         ผลํ(นปุ.) อตฺโถ(ปุ.)        

ผลกรรม         ผลํ(นปุ.) วิปาโก(ปุ.)

ผลความดี         นิสฺสนฺโท(ปุ.)

ผลงาน         นิปฺผตฺติ(อิตฺ.)

ผลดิบ        สลาฏุ(ปุ.)

ผลแตงโม        ติปุสผลํ(นปุ.)

ผลประโยชน์         อตฺโถ(ปุ.)

ผลประโยชน์ร่วมกัน         สหกมฺมการี(คุณ.)

ผลพุทรา        โกลํ(ปุ.)(นปุ.) พทโร(ปุ.)

ผลมวกเหล็ก        อินฺทยโว(ปุ.)

ผลไม้         ผลํ(นปุ.)

ผลส้ม        ชมฺภีรผลํ(นปุ.)

ผลสุก        ผลํ(นปุ.)

ผลุนผลัน        ชมฺม(คุณ.)

ผสม         สมฺมิสฺเสตฺวา(กิตก์) อากิณฺณ(กิตก์)

ผ่องแผ้ว         ปริโยทิต(กิตก์) ปริโยทติ(อาข.)

ผ่องใส         ปสนฺน(คุณ.)(กิตก์) ปริสุทฺธ(คุณ.)(กิตก์)

ผอบ        จงฺโคฏโก(ปุ.) กรณฺโฑ(ปุ.)

ผอม        กิส(คุณ.)

ผัก         ปณฺณํ(นปุ.) นิวาโป(ปุ.) สาโก(ปุ.)(นปุ.) ฑาโก(ปุ.) สากํ(นปุ.)

ผักกาด         สาสปพีชํ(นปุ.) สิทฺธตฺโถ(ปุ.)

ผักทอดยอด        ตมฺพโก(ปุ.) กลมฺพโก(ปุ.)

ผักบุ้ง         ฌชฺชรี(ปุ.)

ผักปลาบ        อคฺคิชาลา(อิตฺ.) ธาตกี(อิตฺ.)

ผักสะเดา         ปุจิมนฺทปณฺณํ(นปุ.) นิมฺพปณฺณํ(นปุ.) ปจิมนฺโท(ปุ.)

ผักโหม        ปุนนฺนวา(อิตฺ.) โสผฆาตี(อิตฺ.) กาลเวลฺโล(ปุ.) สุสวี(อิตฺ.) การเวโล(ปุ.)

ผักโหมหัด        วตฺถุลํ(นปุ.) วตฺถุเลยฺยโก(ปุ.)

ผักไห่        ฌชฺฌรี(อิตฺ.)

ผัว         ธโว(ปุ.) กนฺโต(ปุ.) วโร(ปุ.) ปิโย(ปุ.) สามิโก(ปุ.) สสฺโส(ปุ.) สามี(ปุ.) ภตฺตา(ปุ.) ปติ(ปุ.)

ผัวเมีย        ชายาปติ(ปุ.) ชานิปติ(ปุ.) ชยมฺปติ(ปุ.) ตุทมฺปติ(ปุ.) ชายปติกา(ปุ.)

ผัสสะ        ผสฺโส(ปุ.) โผฏฺฐพฺโพ(ปุ.)

ผ้า         ปิโลตกํ(นปุ.) เจลํ(นปุ.) อจฺฉาทนํ(นปุ.) วตฺถํ(นปุ.) วาโส(ปุ.) วสนํ(นปุ.) อํสุกํ (นปุ.) อมฺพรํ(นปุ.) ปโฏ(ปุ.) ทุสฺสํ(นปุ.) โจโล(ปุ.) สาฏโก(ปุ.)

ผ้ากรองน้ำ         ปริสฺสาวน(นปุ.)

ผ้ากว้าง         ปริณาโห(ปุ.) วิสาลตา(อิตฺ.)

ผ้าเก่า        วสนํ(นปุ.) ปฏจฺจรํ(นปุ.) ปิโลติก(ปุ.)

ผ้าโกเสยยะซักแล้ว        ปตฺตุณฺณ(นปุ.)

ผ้าขนสัตว์        กมฺพล(ปุ.)(นปุ.) โรมมย(นปุ.)

ผ้าขนสัตว์ละเอียด        โกฏุมฺพร(นปุ.)

ผ้าขี้ริ้ว         ปิโลตกปฏ(ปุ.) นนฺตกํ(นปุ.) กปฺปฏ(ปุ.)

ผ้าจีวร         อุตฺตราสงฺค(ปุ.)

ผ้าเช็ดตัว        กายปุญฺฉน(นปุ.)

ผ่าตัด         สตฺถกมฺม(นปุ.) สลฺลกตฺติย(นปุ.) สลฺลกมฺม(นปุ.)

ผ้าทอเปลือกไม้        โขม(นปุ.)

ผ้าทอไหม        โกเสยฺย(นปุ.) กิมิช(นปุ.)

ผ้าทำด้วยด้าย        ภงฺค(นปุ.)

ผ้าทำด้วยเปลือกไม้        ทุกุล(นปุ.)

ผ่านไป         อติกฺกมติ(อาข.) อติกฺขมติ(อาข.)  อติกฺกนฺต(กิตก์)

ผ่านพ้นไป         วีติวตฺตติ(อาข.) อติกฺกมติ(อาข.)

ผ้านุ่ง         นิวาสน(นปุ.) อนฺตรีย(นปุ.) อนฺตร(นปุ.) อนฺตรวาสก(ปุ.)

ผ้าปูนอน         มญฺจตฺถรณ(นปุ.)

ผ้าเปลือกป่าน        สาณํ(นปุ.)

ผ้าฝ้าย        กปฺปาสิกํ(นปุ.)

ผ้าเพดาน        อุลฺโลจ(ปุ.)(นปุ.) วิตาน(นปุ.) ปกฺขปาส(ปุ.)

ผ้าม่าน         ชวนิกา(อิตฺ.) ติโตกรณี(อิตฺ.) สาณิ(อิตฺ.)

ผาล        ผาล(ปุ.) กสก(ปุ.)

ผ้าสบง         อนฺตรวาสกํ(นปุ.)

ผ้าสังฆาฏิ         สงฺฆาฏิ(อิตฺ.)

ผ้าห่ม         อุตฺตราสงฺค(ปุ.) ปวาร(ปุ.)

ผ้าหลุด         ภสฺสติ(อาข.) ภสฺสิตฺวา(กิตก์)

ผ้าหุม        ปาวาร(ปุ.) อุตฺตราสงฺค(ปุ.) อุปสมฺพฺยาน(นปุ.) อุตฺตร(นปุ.) อุตฺตรีย(นปุ.)

ผ้าใหม่        อหตํ(นปุ.)

ผ้าอังสะ         อํสจีวรํ(นปุ.)

ผ้าอาบน้ำฝน         วสฺสิกสาฏิกา(อิตฺ.) อุทกสาฏิกา(อิตฺ.)

ผิงไฟ         วิสีเวติ(อาข.) วิสิพฺเพติ(อาข.)

ผิด         ปราธ(นปุ.) มิจฺฉา(นิปาต) อปราธ(ปุ.)

ผิดกัน         วิเสส(คุณ.)

ผิดบ้าง         อนวชฺชกมฺมํ(นปุ.)

ผิดวิสัย         อวิสย(ปุ.)

ผิว         ฉวิ(อิตฺ.)

ผิวพรรณ         วณฺณ(ปุ.)

ผี         ปิสาจ(ปุ.) อมนุสฺส(ปุ.)

ผีไม่มีหัว        กพนฺธ(ปุ.)

ผีเสื้อ         มอธ(ปุ.) อธิปาตก(ปุ.)

ผีเสื้อน้ำ         รกฺขส(ปุ.) ทกรกฺขส(ปุ.)

ผึ้ง        ฉปฺปท(ปุ.) มธุพฺพต(ปุ.) มธุลีห(ปุ.) มธุกร(ปุ.) มธุป(ปุ.) ภมร(ปุ.) อลิ(ปุ.)

ผึ้งน้อย        ขุทฺท(ปุ.)

ผืถือท้ายเรือ        กณฺณธาร(ปุ.) นาวิก(ปุ.)

ผุดผ่อง         ปภสฺสร(ปุ.) ภาสุร(ปุ.)

ผุดลุกผุดนั่ง        อุฏฺฐาย(กิตก์) สมุฏฺฐาย(กิตก์)

ผูก        เวเตฺวา(กิตก์) พนฺธิตฺวา(กิตก์) สนฺทานิต(คุณ.) สิต(คุณ.) พทฺธ(คุณ.) กีลิต (คุณ.) สํยต(คุณ.)

ผูกปัญหา         ปญฺหํ ปพนฺธิย(สำนวน)

ผูกมัด         อุปนิพนฺธติ(อาข.)

ผู้กล้าหาญ         สูร(คุณ.) วีร(คุณ.) วิกฺกนฺต(คุณ.) สกฺก(คุณ.) สมตฺถ(คุณ.)

ผู้กล้าหาญเด็ดเดี่ยว         สูร(คุณ.) สกฺก(คุณ.) สมตฺถ(คุณ.)

ผูกสัมพันธไมตรี         สมฺพนฺธเมตฺตึ กโรนฺติ(สำนวน) มิตฺตสนฺถวํ กโรนฺติ(สำนวน)

ผู้กิน        ภุญฺชี(ปุ.) โภค(ปุ.) อทก(ปุ.)

ผู้กินน้ำลาย         เขฬาสิก(คุณ.)

ผู้เกิดในตระกูลต่ำ         กณฺหาภิชาติก(คุณ.)

ผู้ขัดขวาง         อวโรธก(คุณ.)

ผู้ขับไล่         ปนูทก(คุณ.)

ผู้เข้าประชุม        สภฺย(ปุ.) สมาชิก(ปุ.)

ผู้คบคนผิด         วิปกฺขเสวก(คุณ.)

ผู้ควรแก่ความเคารพ         ครุคารวยุตฺต(คุณ.)

ผู้ควรบูชา         อภิปูชารห(คุณ.)

ผู้ควรรับทาน        ทานารห(คุณ.) ทกฺขิเณยฺย(คุณ.)

ผู้เจริญด้วยการศึกษา         สิกฺขกาม(คุณ.) สิกฺขาวุฑฺฒ(คุณ.) พหุสฺสุต(คุณ.)

ผู้ฉลาดในด้านภาษา         นิรุตฺติกุสล(คุณ.)

ผู้ฉลาดในพระวินัย         วินยสฺส โกวิท(สำนวน)

ผู้ฉลาดในภาษา         นิรุตฺติกุสล(คุณ.)

ผู้ฉลาดมีความสามารถ         ปญฺญวนฺตุ(คุณ.) พฺยตฺต(คุณ.) ปฏิพล(คุณ.)

ผู้ชาย        มนุสฺส(ปุ.) มานุส(ปุ.) มจฺจ(ปุ.) มานว(ปุ.) มนุช(ปุ.) นร(ปุ.) โปส(ปุ.) ปุมา(ปุ.) ปุริส(ปุ.) โปริส(ปุ.) มาณว(ปุ.)

ผู้เชื่อฟัง        วิเธยฺย(คุณ.) อสฺสว(คุณ.) สุพฺพจ(คุณ.)

ผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย         นิยฺยาทิตปุคฺคล(ปุ.)

ผู้ซื้อ        กยิก(ปุ.) กายิก(ปุ.)

ผู้เฒ่า         มหลฺลก(คุณ.) วุฑฺฒ(คุณ.)

ผู้เดินทาง         มคฺคปฏิปนฺน(คุณ.)

ผู้เดียว        เอกากี(คุณ.) เอกจฺจ(คุณ.) เอก(คุณ.) เอกก(คุณ.)

ผู้ต้องการบุญ         ปุญฺญตฺถิก(คุณ)

ผู้ติความชั่ว         ปาปครหี(ปุ.)

ผู้ติดตาม        อนุจร(คุณ.) สหาโย(ปุ.) สหายิกา(อิตฺ.)  

ผู้ตื่น         ชาคร(คุณ.) พุทฺธ(คุณ.)

ผู้เตรียมไป        คมิโก(ปุ.)

ผู้แต่งตั้ง         ปญฺญาปก(คุณ.)

ผู้แต่งพงศาวดาร        มาคธ(คุณ.) มธุก(คุณ.)

ผู้ถึงความบริสุทธิ์         วิสุทฺธีธารี(คุณ.) วิสุทฺธิคามี(คุณ.) วิสุทฺธิทายี(คุณ.)

ผู้ถูกความตายครอบงำ         มรณาภิภูต(คุณ.)

ผู้ทรงกรุณาดังสมุทร         กรุณามหณฺณว(คุณ.)

ผู้ทรงความบริสุทธิ์         วิสุทฺธีธารี(คุณ.) วิสุทฺธิคามี(คุณ.) วิสุทฺธิทายี(คุณ.)

ผู้ทำความยำเกรง         จิตฺตีการก(คุณ.) สปฺปติสฺส(คุณ.)

ผู้ทำบาป         ปาปการี(คุณ.)

ผู้ทำให้เป็นที่พึ่ง         สรณงฺกร(คุณ.)

ผู้ที่จะปกครองเอาใจใส่         ธุรคฺคาหก(คุณ.) โธรยฺหสีล(คุณ.)

ผู้เที่ยวไป         ชงฺคม(คุณ.)

ผู้แทนราษฎร์         ปชาย ธุรคฺคาหปุคฺคโล(ปุ.)

ผู้นอน        สยิตา(คุณ.)

ผู้นั่ง        นิสินฺนก(คุณ.)

ผู้นำ        ปุเรจารี(คุณ.) ปุเรจร(คุณ.) ปุพฺพงฺคม(คุณ.) ปุเรคามี(คุณ.)

ผู้บันทึกความชอบ        วนฺที(ปุ.) ถุติปาฐก(คุณ.)

ผู้บำเพ็ญบารมี         ปูริตปารมี(คุณ.)

ผู้ประกัน        ปาฏิโภโค(ปุ.) ปฏิภู(ปุ.)

ผู้ประทานความบริสุทธิ์         วิสุทฺธีธารี(คุณ.) วิสุทฺธิคามี(คุณ.) วิสุทฺธิทายี(คุณ.)

ผู้พิพากษา         วินิจฺฉยามจฺโจ(ปุ.) อกฺขทสฺโส(ปุ.)

ผู้พิมพ์        มุทฺทาปก(คุณ.)

ผู้พึ่งคนอื่น         ปรายตฺต(คุณ.) ปราธีน(คุณ.)

ผู้พึ่งพิง        อายตฺต(คุณ.) สนฺตก(คุณ.) ปริคฺคห(คุณ.) อธีน(คุณ.)

ผู้พูดให้ร้าย         นิปจฺจวาที(คุณ.)

ผู้มีความขยัน         อุฏฺฐานวนฺตุ(ปุ.)

ผู้มีความรอบคอบ         นิสมฺมการี(คุณ.)

ผู้มีทุกข์         ทุกฺข(คุณ.) ทุกฺขี(ปุ.) ทุกฺขิตา(คุณ.) ทุกฺขินี(อิตฺ.)

ผู้มีบุญ         ปุญฺญวนฺตุ(คุณ.)

ผู้มีปัญญา        ปณฺฑิโต(ปุ.) พุโธ(ปุ.) วิทฺวา(ปุ.) วิภาวี(ปุ.) สนฺโต(ปุ.) สปฺปญฺโญ(ปุ.) โกวิโท (ปุ.) ธีมนฺตุ(ปุ.) สุธี(ปุ.) กวิ(ปุ.) พฺยตฺโต(ปุ.) วิจกฺขโณ(ปุ.) วิสารโท(ปุ.) เมธาวี (ปุ.) มติมา(ปุ.) ปญฺโญ(ปุ.) วิทุโร(ปุ.) วิทู(ปุ.) ธีโร(ปุ.) วิปสฺสี(ปุ.) โทสญฺญู(ปุ.) พุทฺโธ(ปุ.) ทพฺโพ(ปุ.) วิทสฺสุ(ปุ.)

ผู้มีปัญญาประเสริฐ         วรมติ(อิตฺ.)

ผู้มีสติสัมปชัญญะ         สติสมฺปชานิก(คุณ.)

ผู้ไม่โลภ         โลเภน อนภิภูโต โหติ(สำนวน) สนฺตุฏฺฐ(คุณ.)

ผู้รักษา        รกฺขก(คุณ.) ปาลก(คุณ.)

ผู้รักษาวงศ์พระชินะ         ชินวํสานุปาลก(คุณ.)

ผู้รู้         มุนิ(ปุ.) วิญฺญู(ปุ.) วิทู(ปุ.)

ผู้รู้กาล         กาลญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ตน         อตฺตญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ถ้อยคำ         วทญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ทั้งปวง         สพฺพญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ทาง         มคฺคญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ธรรม         ธมฺมญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ประมาณ         มตฺตญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ผล        อตฺถญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้ราตรีนาน         รตฺตญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้เหตุ        ธมฺมญฺญู(ปุ.)

ผู้รู้อุปการะ         กตญฺญู(ปุ.)

ผู้ลาดตระเวน        จกฺกิก(คุณ.) ฆณฺฏิก(คุณ.)

ผู้เลื่อมใส         ปสาทนีย(คุณ.)

ผู้ว่าจังหวัด         มณฺฑลิสฺสโร(ปุ.) รฏฺฐิสฺสโร(ปุ.)

ผู้ศึกษามาก         พหุสฺสุต(คุณ.) สุตธร(คุณ.) สุตสนฺนิจย(คุณ.)

ผู้สร้างความเจริญ         อภิวุฑฺฒิการี(คุณ.)

ผู้สวมเกราะ         กตสนฺนาห(คุณ.)

ผู้สิ้นอาสวะแล้ว        ขีณาสว(คุณ.)

ผู้สูงศักดิ์        มเหสกฺข(คุณ.)

ผู้เสด็จไปดีแล้ว        สุคต(คุณ.)

ผู้เสรี        สจฺฉนฺท(คุณ.)

ผู้แสดงโมกขธรรม         โมกฺขเทสก(คุณ.)

ผู้แสวงหาแต่ธรรม         ธมฺมปฺปมาณิก(คุณ.)

ผู้หญิง        อิตฺถี(อิตฺ.) สีมนฺตินี(อิตฺ.) นารี(อิตฺ.) ถี(อิตฺ.) วธู(อิตฺ.) วนิตา(อิตฺ.) องฺคนา(อิตฺ.) ปมทา(อิตฺ.) มาตุคาโม(ปุ.) สุนฺทรี(อิตฺ.) กนฺตา(อิตฺ.) รมณี(อิตฺ.) ทยิตา(อิตฺ.)  อพลา(อิตฺ.) มหิลา(อิตฺ.)

ผู้หญิงน่ารัก         กนฺตา(คุณ.)

ผู้หน่ายจากกิเลส         วีตราค(คุณ.) ขีณาสว(คุณ.)

ผู้หลงทาง         มคฺคมูฬฺห(คุณ.)

ผู้หวังบุญ         ปุญฺญเปกฺข(คุณ.)

ผู้หาความสุข         สุเขสี(คุณ.)

ผู้เห็นผิด         มิจฺฉาทิฏฺฐิก(คุณ.) มิจฺฉาปฏิปนฺน(คุณ.)

ผู้ให้การสนับสนุน         อุปตฺถมฺภก(คุณ.) อุปตฺถมฺภิก(คุณ.)

ผู้ให้ความสุข         สุขท(คุณ.)

ผู้ใหญ่ในตระกูล         กุลเชฏฺฐก(คุณ.)

ผู้ใหญ่บ้าน        คามโภชก(ปุ.) ขุทฺทกคามโภชก(ปุ.)

ผู้ให้อาวุธคือปัญญา         ปญฺญาวุธทายก(ปุ.)

ผู้อนุรักษ์ประเพณีไทย         ทยฺยปเวณิปาลก(คุณ.)

ผู้อยู่ในข่าย         เวเนยฺยพนฺธุ(ปุ.)

ผู้อยู่ในข่ายพระบารมี         เวเนยฺยพนฺธุ(ปุ.)

ผู้อยู่ในถิ่นทุรกันดาร         ทูรปจฺจนฺตวาสี(คุณ.)

ผู้อาศัยคนอื่น        ปราธีน(คุณ.) ปรายตฺต(คุณ.)

ผู้เอ็นดู        การุณฺณิก(คุณ.) ทยาลุ(คุณ.) สูรต(คุณ.)

ผู้โอ้อวด         สฐ(ปุ.) สาเถยฺย(ปุ.)

เผยแผ่ศาสนา         พหุชนหิตาย(นปุ.) พหุชนสุขาย(นปุ.) โลกานุกมฺปาย(นปุ.)

เผล็ดผล         นิปฺปชฺชติ(อาข.) นิปฺผชฺชติ(อาข.) ปจฺจติ(อาข.)

เผา         ฌาปิต(กิตก์) ฌาม(กิตก์) องฺคารปกฺก(คุณ.) องฺคารปจิต(คุณ.)

เผ่าพันธุ์        พนฺธุ(ปุ.) ทายาโท(ปุ.)

เผือก        มูลโก(ปุ.)(นปุ.) จุจฺจุ(อิตฺ.)

เผื่อแผ่         หิต(นปุ.)

แผ่กรุณาไป         การุญฺเญน สมนฺนาคโต โหติ หิตานุกมฺปี (สำนวน)

แผดเผา         ตปติ(อาข.) ตปฺปติ(อาข.)

แผ่น         ปฏฺฏํ(นปุ.) ปฏลํ(นปุ.)

แผ่นดิน        วสุนฺธรา(อิตฺ.) ฉมา(อิตฺ.) ภูมิ(อิตฺ.) ปฐวี(อิตฺ.) เมทนี(อิตฺ.) มหี(อิตฺ.) อุพฺพี(อิตฺ.) วสุมตี(อิตฺ.) โค(ปุ.)(อิตฺ.) กุ(อิตฺ.) วสุธา(อิตฺ.) ธรณี(อิตฺ.) ธรา(อิตฺ.) ปุถุวี(อิตฺ.) ชคตี(อิตฺ.) ภูรี(อิตฺ.) ภู(อิตฺ.) ภูตธรา(อิตฺ.) อวนิ(อิตฺ.)

แผ่นหิน         ปาสาโณ(ปุ.)

แผ่รัศมี         โอภาสํ ผริ(สำนวน) โอภาสํ วิสฺสชฺชิ(สำนวน) รสฺมึ มุญฺจิ(อาข.) รสึ มุญฺจิ(อาข.)

แผล        อรุ(นปุ.) วโณ(ปุ.)(นปุ.)

ไผ่         กฏฺฐโก(ปุ.) เวฬุ(ปุ.)

ฝ-อักษร

ฝน         วสฺโส(ปุ.) เทโว(ปุ.) วุฏฺฐิ(อิตฺ.) วสฺสํ(นปุ.) วสฺสนํ(นปุ.)

ฝนชุก         อารตฺตํ(กิตก์) อารตฺตํ(กิตก์) เตเมตฺวา(กิตก์) ตินฺตํ(กิตก์)

ฝนตก         วสฺสติ(อาข.) ปวสฺสติ(อาข.) วสฺสติ(อาข.) ปวสฺสติ(อาข.)

ฝนตกประปราย        สีกโร(ปุ.)

ฝนตกหนัก        อาสาโร(ปุ.) ธารา(อิตฺ.) สมฺปาโต(ปุ.)

ฝัก         โกสิ(อิตฺ.) โกสโก(ปุ.) พีชโกโส(ปุ.) กณฺณิกา(อิตฺ.)

ฝักใฝ่         อภิมานส(คุณ.) อภิปสนฺน(คุณ.)

ฝั่ง        ตีรํ(นปุ.) กูลํ(นปุ.) โรธํ(นปุ.) ปตีรํ(นปุ.) ตฏํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) เวลา(อิตฺ.)

ฝั่งนอก        ปารํ(นปุ.)

ฝั่งใน        โอรํ(นปุ.)

ฝัดข้าว         โอผุนาติ(อาข.) โอปุนาติ(อาข.)

ฝัน         สุปติ(อาข.) นิทฺทํ โอกฺกมติ(สำนวน) สุปิน(นปุ.)

ฝา         กุฑฺฑํ(นปุ.) ภิตฺติ(อิตฺ.) มณฺโฑ(ปุ.)

ฝ่าฝืน         อติกฺกมติ(อาข.) วีติกฺกมติ(อาข.)

ฝ่าย         ปกฺโข(ปุ.) ปกฺขโก(ปุ.) ภาโค(ปุ.)

ฝ้าย        อุมฺมา(อิตฺ.) อตสี(อิตฺ.) กปฺปาสี(อิตฺ.) กปฺปาสํ(นปุ.) พทรา(อิตฺ.)

ฝ่ายเกิด         สมุทยวาโร(ปุ.)

ฝ่ายเจริญ         วุฑฺฒิปกฺข(คุณ.)

ฝ่ายชำรุดทรุดโทรม         หานิปกฺข(คุณ.)

ฝ่ายดับ         นิโรธวาโร(ปุ.)

ฝี        โผโฏ(ปุ.) ปิฬกา(อิตฺ.)

ฝีมือ         วฑฺฒกีหตฺถกมฺมํ(นปุ.)

ฝึก         คหิต(กิตก์) คณฺหิต(กิตก์) ทมฺม(ปุ.) ทโม(ปุ.) ทมโถ(ปุ.) ทนฺติ(อิตฺ.) ทนฺต(กิตก์)

ฝึกซ้อม         ทมนํ(นปุ.) ทมติ(อาข.)

ฝึกฝน         สุทนฺต(กิตก์) สุคุตฺต(กิตก์) ทนฺต(คุณ.) ทมิต(คุณ.) ทมติ(อาข.)

ฝึกฝนดี         สุทนฺต(กิตก์) สุคุตฺต(กิตก์) สุรกฺขิต(กิตก์) สุสํวุต(กิตก์) สุขาธิวาห(คุณ.)

ฝึกยิงธนู         สรพฺยาโส(ปุ.) อุปาสนํ(นปุ.)

ฝุ่น         รโช(ปุ.) ปํสุ(ปุ.)

ฝูง        สมูโห(ปุ.) คโณ(ปุ.) สํฆาโต(ปุ.) สมุทาโย(ปุ.) สญฺจโย(ปุ.) สนฺโทโห(ปุ.) นิวโห(ปุ.) โอโฆ(ปุ.) วิสโร(ปุ.) นิกโร(ปุ.) จโย(ปุ.) กาโย(ปุ.) ขนฺโธ(ปุ.) สมุทโย(ปุ.) ฆฏา(อิตฺ.) สมิติ(อิตฺ.) สํหติ(อิตฺ.) ราสิ(ปุ.) ปุญฺโช(ปุ.) สมวาโย(ปุ.) ปูโค(ปุ.) ชาตํ(นปุ.) กทมฺพกํ(นปุ.) พฺยูโห(ปุ.) วิตานํ(นปุ.) คุมฺโพ(ปุ.) กลาโป(ปุ.) ชาลํ(นปุ.) มณฺฑลํ(นปุ.) ยูโถ(ปุ.)

ฝูงช้าง        หตฺถิฆฏา(อิตฺ.) คชตา(อิตฺ.)

เฝ้า         ปสฺสติ(อาข.) ปสฺสิตุ อุปสงฺกมติ(สำนวน) ทสฺสติ(อาข.)

เฝ้าแหน         ทสฺสนาทิกิจฺจํ ปฏิลภึสุ(สำนวน)

แฝก        วีรณํ(นปุ.)

ใฝ่การศึกษา        สิกฺขาปวิจยาภิรต(คุณ.) สิกฺขากาม(คุณ.)

ใฝ่ใจการบวช         ปพฺพชฺชายาภิมานส(คุณ.)

พ-อักษร

พ.ศ.         พุทฺธสก(ปุ.) พุทฺธวสฺโส(ปุ.)

พง        วนํ(นปุ.) อรญฺญํ(นปุ.)

พงศาวดาร         วํสาวตารกถา(อิตฺ.) อิติหาโส(ปุ.) ปพนฺโธ(ปุ.)

พจน์        วจนํ(นปุ.) กถา(อิตฺ.)

พญางู        สปฺปราชา(ปุ.) วาสุกี(ปุ.)

พญานาค        อนนฺโต(ปุ.) นาคราชา(ปุ.)

พญาลิง         กปิเชฏฺฐก(คุณ.)

พ้น         มุจฺจติ(อาข.) มุจฺจิตฺวา(กิตก์) มุตฺต(กิตก์) มุจฺจึสุ(อาข.)

พ้นจากสรรพโลก         สพฺพโรควิมุตฺติก(คุณ.)

พนมมือ         กรปุโฏ(ปุ.) อญฺชลิ(อิตฺ.)

พ้นวิสัย         วิสยีภูต(คุณ.)

พนักพิง         อปาลมฺโภ(ปุ.)

พนัน         อพฺภุทํ(นปุ.)

พยับแดด        มรีจิ(อิตฺ.) มิคตณฺหิกา(อิตฺ.)

พยากรณ์         พฺยากโรติ(อาข.)

พยาน         สกฺขิ(ปุ.)

พยาบาล         คิลานุปฏฺฐายิก(คุณ.)

พยายาม         ฆเฏนฺต(กิตก์) วายมนฺต(กิตก์) ปรกฺกมติ(อาข.) ฆเฏติ(อาข.) วายมติ(อาข.)   วายาโม(ปุ.) ปรกฺกโม(ปุ.) ปรกฺกมนฺต(กิตก์) วายมนฺต(กิตก์) อุสฺสาโห(ปุ.) อาตปฺโป(ปุ.) ปคฺคาโห(ปุ.) ปธานํ (นปุ.) วิริยํ(นปุ.)  อีหา(อิตฺ.) อุยฺยาโม(ปุ.) ธิติ(อิตฺ.) วาณี(อิตฺ.) วีริยํ(นปุ.)

พยายามช่วยรักษา        วายมติ(อาข.) จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ(สำนวน)

พยายามอย่างหนัก         ทฬฺหปรกฺกโม(ปุ.)

พยุงจิต         จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ(อาข.) สมฺปหํเสติ(อาข.)

พร         วโร(ปุ.)

พรต        นิยโม(ปุ.) วตํ(ปุ.)(นปุ.)

พรตที่ปฏิบัติตามกาล        นิยโม(ปุ.)

พรตที่ปฏิบัติประจำ        ยโม(ปุ.)

พรม         โกชโว(ปุ.)

พรรค        วคฺโค(ปุ.)

พรรณนา         วณฺเณติ(อาข.) สํวณฺเณตฺวา(กิตก์) สํวณฺณยนฺต(กิตก์) กตฺถนา(อิตฺ.) สิลาฆา(อิตฺ.) วณฺณนา(อิตฺ.)

พรรษา         วสฺโส(ปุ.)(นปุ.)

พรหม        ปิตามโห(ปุ.) ปิตา(ปุ.) พฺรหฺมา(ปุ.) โลเกโส(ปุ.) กมลาสโน(ปุ.) หิรญฺญคพฺโภ(ปุ.) สุรเชฏฺโฐ(ปุ.) ปชาปติ(ปุ.)

พรหมจรรย์         พฺรหฺมจริยํ(นปุ.)

พร่อง         อูน(คุณ.)

พร้อมกัน         เอกโต(อพฺยย.) สมคฺค(คุณ.) สามคฺคี(อิตฺ.)

พร้อมใจ         เอกจฺฉนฺท(คุณ.) สมคฺคจิตฺต(คุณ.) สมจิตฺต(คุณ.) สมานจฺฉนฺท(คุณ.) สมคฺคา (คุณ.)

พร้อมทั้งบริวาร         สปริวาร(คุณ.)

พร้อมพรั่ง         สมงฺคี(คุณ.) สมนฺนาคต(คุณ.)

พร้อมเพรียง         เอกจฺฉนฺท(คุณ.) สมคฺคจิตฺต(คุณ.) สมจิตฺต(คุณ.) สมานจฺฉนฺท(คุณ.) สมคฺคา (คุณ.)

พระ         ภิกฺขุ(ปุ.) สมโณ(ปุ.) ยติ(ปุ.)

พระคถาคต        ตถาคโต(ปุ.)

พระคันถรจนาจารย์         คนฺถการก(คุณ.)

พระคันธกุฎี        คนฺธกุฏี(อิตฺ.)        

พระคุณเจ้า        อยฺย(ปุ.)

พระจริยาวัตร         จริยา(อิตฺ.)

พระจันทร์         จนฺทิมา(ปุ.)

พระเจดีย์ทองสัมฤทธิ์         กํสมยเจติยํ(นปุ.)

พระเจ้ากรุงธนบุรี         ธนปุรินฺโท(ปุ.)

พระเจ้าจักรพรรดิ        จกฺกวตฺติ(ปุ.)

พระเจ้าแผ่นดิน        ชนาธิโป(ปุ.) ภูโป(ปุ.) ภูมิปาโล(ปุ.) รฏฺฐาธิโป(ปุ.) ราชา(ปุ.) ขตฺติโย(ปุ.)

พระเจ้าอู่ทอง        สุวณฺณโทโล(ปุ.)

พระชนนีของพระราหุล        ราหุลมาตา(อิตฺ.) ยโสธรา(อิตฺ.) พิมฺพา(อิตฺ.)

พระชินะ         ชิโน(ปุ.)

พระไตรปิฎก        เตปิฏกํ(นปุ.) ติปิฏกํ(นปุ.) ปิตกตฺตยํ(นปุ.)

พระไตรปิฎกรวมคำสอน         ชินธมฺมสโมธานปิฏกตฺตยํ(นปุ.)

พระเถระ        เถโร(ปุ.) มหาเถโร(ปุ.)

พระทศพล        ทสพโล(ปุ.)

พระทัยเปี่ยมด้วยธรรม         ธมฺมสมนฺนาคเตน เจตสา(สำนวน)

พระทัยมั่นคง         สมาหิตจิตต(คุณ.)

พระที่นั่ง        ราชาสน(นปุ.)

พระแท่นทอง        สีหาสน(นปุ.) เหมาสน(นปุ.)

พระธรรมราชา         ธมฺมราชา(ปุ.)

พระธรรมและวินัย         ปาวจน(นปุ.) ธมฺมวินโย(ปุ.)

พระธรรมเสนาบดี        ธมฺมเสนาปติ(ปุ.)

พระธาตุ         ธาตุ(อิตฺ.)

พระนรสีห์        นรสีโห(ปุ.)

พระนเรศวร        นริสฺสราชา(ปุ.)

พระนางพิมพา        ราหุลมาตา(อิตฺ.) ยโสธรา(อิตฺ.) พิมฺพา(อิตฺ.)

พระนารายณ์        นราโย(ปุ.) นรายโณ(ปุ.)

พระบรมวงศานุวงศ์         ญาตกานุญาตกภูต(คุณ.)

พระปมุข         ยติฐานิก(คุณ.)

พระประจำตระกูล         กุลุปก(คุณ.)

พระประยูรญาติ         ราชวํสิกญาตโย(ปุ.)

พระปัญญาคุณ         ปญฺญาคุณ(คุณ.)

พระผู้เป็นเอง        สยมฺภู(ปุ.)

พระผู้มีพระภาค        ภควา(ปุ.)

พระพุทธเจ้า        พุทฺโธ(ปุ.) ทสพโล(ปุ.) สตฺถา(ปุ.) สพฺพญฺญู(ปุ.) ทฺวิปทุตฺตโม(ปุ.) มุนินฺโท(ปุ.) ภควา(ปุ.) นาโถ(ปุ.) จกฺขุมา(ปุ.) องฺคีรโส(ปุ.) มุนิ(ปุ.) โลกนาโถ(ปุ.) อนธิวโร(ปุ.) มเหสี(ปุ.) วินายโก(ปุ.) สมนฺตจกฺขุ(ปุ.) สุคโต(ปุ.) ภูริปญฺโญ(ปุ.) มารชิ(ปุ.) นรสีโห(ปุ.) นรวโร(ปุ.) ธมฺมราชา(ปุ.) มหามุนิ(ปุ.) เทวเทโว(ปุ.) โลกครุ(ปุ.)  ธมฺมสฺสามิ(ปุ.) ตถาคโต(ปุ.) สยมฺภู(ปุ.) สมฺมาสมฺพุทฺโธ(ปุ.) วรปญฺโญ(ปุ.)   นายโก(ปุ.) ชิโน(ปุ.)

พระพุทธเจ้าพระองค์นี้        สกฺโก(ปุ.) สิทฺธตฺโถ(ปุ.) สุทฺโธทนิ(ปุ.) โคตโม(ปุ.) สกฺยสีโห(ปุ.) สกฺยมุนิ(ปุ.) อาทิจฺจพนฺธุ(ปุ.)

พระพุทธพจน์        พุทฺธวจนํ(นปุ.) ปาวจนํ(นปุ.)

พระพุทธรูป         พุทฺธปฏิมา(อิตฺ.)

พระภิกษุ        ภิกฺขุ(ปุ.) ยติ(ปุ.) สมโณ(ปุ.)

พระภิกษุสามเณร        ทหรสามเณร(ปุ.)

พระโมคคัลลานะ        มหาโมคฺคลฺลาโน(ปุ.) มหาโมคฺคลฺลายโน(ปุ.)

พระยุพราช         ยุวราชา(ปุ.)

พระรัตนตรัย        รตนตฺตยํ(นปุ.) ติรตนํ(นปุ.) วตฺถุตฺตยํ(นปุ.) ติวตฺถุ(นปุ.)

พระราชทานน้ำ         ชลนฺโท(ปุ.)

พระราชวัง         ราชนิเวสนํ(นปุ.) ราชมนฺทิรํ(นปุ.)

พระราชสมภพ         ปสูติ(อิตฺ.)

พระราชอุทยาน        ราชอุยฺยานํ(นปุ.)

พระราชโองการ         ราชวาทกถา(อิตฺ.)

พระราชโอรส        โอรโส(ปุ.) ราชปุตฺโต(ปุ.)

พระราชา         ชนาธิโป(ปุ.) ภูโป(ปุ.) ภูมิปาโล(ปุ.) รฏฺฐาธิโป(ปุ.) ราชา(ปุ.)ขตฺติโย(ปุ.)

พระราชาคณะ         ราชคณิโก(ปุ.)

พระราชาทั่วไป        ราชา(ปุ.) ภูปติ(ปุ.) ภูปาโล(ปุ.) ปตฺถิโว(ปุ.) นราธิโป(ปุ.) ภูนาโถ(ปุ.) ชคตีปาโล (ปุ.) ทิสมฺปติ(ปุ.) ชนาธิโป(ปุ.) รฏฺฐาธิโป(ปุ.) นรเทโว(ปุ.) ภูมิโป(ปุ.) ภูภุโช(ปุ.)

พระราชินี         มหาเทวี(อิตฺ.) อคฺคเทวี(อิตฺ.) ราชินี(อิตฺ.)

พระศากยมุนี        สกฺยมุนิ(ปุ.)

พระศากยสีหะ        สกฺยสีโห(ปุ.)

พระศาสดา         สตฺถา(ปุ.) สตฺถาโร(ปุ.)

พระศาสนา        สาสนํ(นปุ.)

พระสงฆ์         สงฺโฆ(ปุ.)

พระสมณโคดม        สมโณ โคตโม(ปุ.)

พระสหาย        สหายโก(ปุ.) มิตฺโต(ปุ.)

พระสัมมาสัมพุทธเจ้า        สมฺมาสมฺพุทฺโธ(ปุ.)

พระสารีบุตร        สารีปุตฺโต(ปุ.) เสนาปติ(ปุ.) อุปติสฺโส(ปุ.)

พระสุคต        สุคโต(ปุ.)

พระเสกขะ        เสกฺโข(ปุ.)

พระอรหัตผล         อญฺญา(อิตฺ.) อรหตฺตํ(นปุ.)

พระอรหันต์         อรหนฺต(ปุ.) อรหนฺตี(อิตฺ.) ขีณาสโว(ปุ.) อเสกฺโข(ปุ.) วีตราโค(ปุ.) อรหา(ปุ.)

พระอริยะ        อริโย(ปุ.) อธิคโต(ปุ.)

พระอังคีรส        องฺคีรโส(ปุ.)

พระอาทิตย์        รวิ(ปุ.) สุริโย(ปุ.)

พระอานนท์        อานนฺโท(ปุ.) ธมฺมภณฺฑาคาริโก(ปุ.)

พระอินทร์         โกสิโย(ปุ.) เทวราชา(ปุ.) มฆวา(ปุ.) สกฺโก(ปุ.) อินฺโท(ปุ.) สกฺโก(ปุ.) ปุรินฺทโท(ปุ.) เทวราชา(ปุ.) วชิรปาณิ(ปุ.) สุชมฺปติ(ปุ.) สหสฺสกฺโข(ปุ.) มหินฺโท(ปุ.) วชิราวุโธ(ปุ.) วาสโว(ปุ.) ทสสตนยโน(ปุ.)ติทิวาธิภู(ปุ.) สุรนาโถ(ปุ.) วชิรหตฺโถ(ปุ.) ภูตปติ(ปุ.) มฆวา(ปุ.) โกสิโย(ปุ.) อินฺโท(ปุ.) วตรภู(ปุ.) ปากสาสโน(ปุ.) วิโฑโช(ปุ.)

พระอุปัชฌาย์        อุปชฺฌาโย(ปุ.) อุปชฺฌา(ปุ.)

พรั่งพร้อม         สมนฺนาคตํ โหติ สมปฺปิตํ(สำนวน)

พร้า        วาสี(อิตฺ.) ตจฺฉนี(อิตฺ.)

พราน         โอรพฺภิโก(ปุ.) เนสาโท(ปุ.) ลุทฺทโก(ปุ.) พฺยาโธ(ปุ.)

พรานแกะ        โอรพฺภิโก(ปุ.)

พรานนก        สากุณิโก(ปุ.)

พรานเนื้อ        มาควิโก(ปุ.) มิคโว(ปุ.) มิคพฺยโธ(ปุ.)

พรานสุกร        สูกริโก(ปุ.)

พราหมณ์        พฺรหฺมพนฺธุ(ปุ.) ทฺวิโช(ปุ.) วิปฺโป(ปุ.) พฺรหฺมา(ปุ.) โภวาที(ปุ.) พฺราหฺมโณ(ปุ.) โสตฺถิโย(ปุ.) ฉนฺทโส(ปุ.)

พราหมณ์ผู้บูชา        อิริตฺวิโช(ปุ.) ยาชโก(ปุ.)

พราหมณ์มหาศาล        พฺราหมณมหาสาโล(ปุ.)

พริก        มริจิ(นปุ.) โกลกํ(นปุ.)

พริกไทย         โกลกํ(นปุ.) มริจํ(นปุ.)

พรุ่งนี้        ปุนทิวเส(ปุ.) ปุเนกทิวเส(ปุ.) เสฺว(นิปาต)

พฤติกรรม         กมฺมวุตฺติ(อิตฺ.)

พลการ        ปสยฺโห(ปุ.) พลกฺกาโร(ปุ.) หโฐ(ปุ.)

พลบค่ำ        อภิโทโส(ปุ.) ปโทโส(ปุ.) สาโย(ปุ.) สญฺฌา(อิตฺ.)

พลเรือน         ราชปุริสา(ปุ.)

พลอย         มณิ(ปุ.) สิลา(อิตฺ.) ผุสฺสราโค(ปุ.)

พละ        ถาโม(ปุ.) พลํ(นปุ.)

พลัง         ถาโม(ปุ.) พลํ(นปุ.)

พลัดตก         ภสฺสติ(อาข.) ปตติ(อาข.)

พลัดพราก         วิปฺปโยโค(ปุ.) วิโยชติ(อาข.) วิยุชฺชติ(อาข.) วิยุญฺชติ(อาข.)

พลัน         สีฆํ(นิปาต) ตุริตํ(นิปาต) ลหุ(นปุ.) อาสุ(นิปาต) ตุณฺณํ(นิปาต) อรํ(นิปาต)อวิลมฺพิตํ(นิปาต) ตุวฏํ(นิปาต) สีฆสีฆํ(นิปาต) ขิปฺปํ(นิปาต) ตุริตตุริตํ(นิปาต)

พลันหายไป         ปริกฺขีณํ โหติ(สำนวน) ปริกฺขียติ(อาข.)

พลับพลึง        ลางฺคลี(อิตฺ.) สารที(อิตฺ.)

พลั่ว        ขณิตฺติ(อิตฺ.) อวทารณํ(นปุ.)

พลู        นาคลตา(อิตฺ.) ตามฺพูลี(อิตฺ.)

พวก        ปกฺข(ปุ.) โกฏฺาส(ปุ.) วคฺค(ปุ.)

พวกพ้อง         ปกฺขกา(ปุ.) พนฺธุ(ปุ.)

พวงดอกไม้         มาลาปูโฏ(ปุ.) ปุปฺผทามํ(นปุ.) มาลา(อิตฺ.) มาลฺยํ(นปุ.)

พ่อ         ตาโต(ปุ.) ชนโก(ปุ.) ปิตา(ปุ.)

พอ        อลํ(นิปาต)

พ่อครัว         สูโท(ปุ.) ภตฺตกาโร(ปุ.) สูปกาโร(ปุ.) ภตฺตกาโร(ปุ.) สโท(ปุ.) อาฬาริโก(ปุ.) โอทนิโก(ปุ.) รสโก(ปุ.)

พ่อค้า         วาณิโช(ปุ.) อาปณิโก(ปุ.) กยวิกฺกยิโก(ปุ.) สตฺถวาโห(ปุ.)

พอใจ          ปสนฺนมานส(คุณ.) หฏฺฐปฺปฏฺฐ(คุณ.) ตุฏฺฐจิตฺต(คุณ.) สุมน(คุณ.) ปสนฺนจิตฺต(คุณ.) วิปฺปสนฺน(คุณ.) อุทคฺคุทุคฺค(คุณ.) ลคฺคจิตฺต(คุณ.) ตุฏฺฐมานส(คุณ.) สฉนฺท(คุณ.) อสฺสาท(ปุ.) อาสาส(ปุ.)

พ่อตา        สสุโร(ปุ.)

พ่อตาแม่ยาย        สสุรา(ปุ.) สสฺสุสสุรา(ปุ.)

พ่อผัว         สสุโร(ปุ.)

พ่อผัวแม่ผัว        สสุรา(ปุ.) สสฺสุสสุรา(ปุ.)

พ่อแม่         มาตาปิตโร(ปุ.)

พ่อแม่ประคบประหงม         มาตาปิตูหิ อาปาทิต(กิตก์) ปาลิต(กิตก์) ฆฏิต(กิตก์) อนุปฺปพนฺเธน ปวตฺติต (สำนวน)

พะยอมขาว        โสมวกฺโก(ปุ.) กทโร(ปุ.)

พักผ่อน         ผาสุกวิหาร(ปุ.)

พัง         ภิชฺชติ(อาข.) ภินฺน(กิตก์)

พังผืด          กิโลมก(นปุ.)  

พังพอน        นกุโล(ปุ.) มุงฺคุโส(ปุ.)

พัด        วณฺฏํ(นปุ.) วีชนี(อิตฺ.) วายติ(อาข.)

พัดจามร        วีชนี(อิตฺ.) จามรํ(นปุ.)

พัน (เงิน)        สหสฺสํ(นปุ.)

พัน(กิริยา)        พนฺธิตฺวา(กิตก์) เวฐิต(กิตก์) วลยิต(กิตก์) พนฺธติ(อาข.) พนฺธิตฺวา(กิตก์)   เวเฐตฺวา(กิตก์) เวเฐติ(อาข.) เวฐติ(อาข.)

พันธมิตร         สหภาคิโน(ปุ.) พนฺธมิตฺโต(ปุ.)

พัสดุ        วตฺถุ(นปุ.)

พากเพียร         ฆเฏติ(อาข.) ยุญฺเชติ(อาข.) วายาโม(ปุ.)

พากย์        วากฺยํ(นปุ.)        

พาไป         เนติ(อาข.) เนตฺวา(กิตก์) หรติ(อาข.) นีหรติ(อาข.) อภิหรติ(อาข.) หริตฺวา(กิตก์) อาทาย(กิตก์)

พามา         อาเนติ(อาข.) อาเนตฺวา(กิตก์) อาหรติ(อาข.) อาหริตฺวา(กิตก์)

พายแจว        ผิโย(ปุ.)

พายเรือ         อุทกํ ปวิสติ(สำนวน) อุทกํ โอตรติ(สำนวน) นาวาย คจฺฉติ(สำนวน)

พายุ         กรีสงฺคสา(อิตฺ.)มาลุโต(ปุ.) ปวโน(ปุ.) วายุ(ปุ.) วาโต(ปุ.)(นปุ.) อนิโล(ปุ.)   สมีรโณ(ปุ.) คนฺธวาโห(ปุ.) วาโย(ปุ.) สมีโร(ปุ.) สทาคติ(ปุ.)  

พำนัก         วิหรติ(อาข.)

พิกุล        วกุโล(ปุ.) ภณฺฑิโล(ปุ.)

พิจารณา         วิจินนฺต(กิตก์) วีมํสนฺต(กิตก์) สมเวกฺขมาน(กิตก์) ปจฺจเวกฺขนฺต(กิตก์) ตุลยิตฺวา(กิตก์) ปจฺจเวกฺขิตฺวา(กิตก์) วิจาเรตฺวา(กิตก์) วีมํสิตฺวา(กิตก์) นิสาเมตฺวา(กิตก์) อนุเปกฺขิตฺวา(กิตก์) อุปริกฺขิปิตฺวา(กิตก์) อุปธาเรตฺวา(กิตก์)ตีเรติ(อาข.) วีมํสติ(อาข.) อุปธาเรติ(อาข.) อาวชฺเชติ(อาข.) ปจฺจเวกฺขติ(อาข.) สมฺมสติ(อาข.) สมฺปสฺสติ(อาข.)

พิจารณาคดีความ        นานฏฺฏานํ วินิจฺฉโย(ปุ.) อฏฺฏํ ตีเรตฺวา(สำนวน)

พิจารณาปัจจัย         ปจฺจเวกฺขนฺต(กิตก์)

พิจารณาสังขาร         สมฺมสนฺต(กิตก์)

พิจารณาเห็น         สมฺปสฺสมาน(กิตก์)

พิณ ๗ สาย        ปริวาทินี(อิตฺ.)

พิณ        วีณา(อิตฺ.) วลฺลกี(อิตฺ.)

พิถีพิถันในการเย็บจีวร         นิปุโณ เจว สมตฺโถ จ โหติ จีวรกมฺมํ กาตุ(สำนวน)

พิธีมงคลทางศาสนา         พุทฺธสาสนปริยาปนฺนํ มงฺคลํ(สำนวน)

พิธีราชาภิเษก         ขตฺติยมุทฺธาภิเสกมงฺคลํ(สำนวน)

พินทุ        พินฺทุ(นปุ.)

พินาศ         วินาส(ปุ.) นสฺสติ(อาข.) โอสกฺกนํ อาปชฺชติ(อาข.)

พิพิธภัณฑ์        อพฺภูตวตฺถุนิจยสาลา(อิตฺ.) อพฺภูตสาลา(อิตฺ.)

พิมพ์         ปมุทฺทิตฺวา(กิตก์) มุทฺทิต(กิตก์)

พิมเสน        จีนปิฏฺฐํ(นปุ.) สินฺทูรํ(นปุ.)

พิลังกาสา        วิฬงฺคํ(นปุ.) จิตฺรตณฺฑุลา(อิตฺ.)

พิศดาร         วิตฺถาเรตฺวา(กิตก์) วิตฺถาโร(ปุ.) วิตฺถาเรติ(อาข.) วิตฺถาริตํ(กิตก์)

พิเศษ         วิสิฏฺฐ(คุณ.) วิเสส(คุณ.)

พิษงู        วิสํ(นปุ.) ครฬํ(นปุ.)

พิษณุโลก        วิสฺสนุโลกปุร(นปุ.) วิสฺสนุโลโก(ปุ)

พี่        อคฺคช(คุณ.) ปุพฺพช(คุณ.) เชฏฺฐ(คุณ.)

พี่ชาย         เชฏฺฐภาติโก(ปุ.) เชฏฺโฐ(ปุ.) เชฏฺฐภาตา(ปุ.)

พี่น้องชาย        โสทริโย(ปุ.) สคพฺโภ(ปุ.) โสทโร(ปุ.) สหโช(ปุ.) ภาตา(ปุ.)

พี่น้องชายของผัว        เทวโร(ปุ.)

พี่น้องชายของเมีย        สาโล(ปุ.)

พี่น้องชายหญิง        ภาตโร(ปุ.)

พี่น้องชาวไทยที่รัก         ปิยภูตา(ปุ.) ทยฺยรฏฺฐวาสี(คุณ.)

พี่น้องหญิง        ภคินี(อิตฺ.)

พี่น้องหญิงของผัว        นนนฺทา(อิตฺ.) สามิภคินี(อิตฺ.)

พี่เลี้ยง         อุปมาตา(อิตฺ.) ธาตี(อิตฺ.)

พี่สาว         เชฏฺฐภคนี(อิตฺ.) เชฏฺฐา(อิตฺ.)(คุณ.) เชฏฺฐภคินี(อิตฺ.)  

พี่สาวและน้องสาว        ภคินี(อิตฺ.)

พึ่งพระธรรม        ธมฺมํ สรณํ คโต(สำนวน)

พึ่งพระพุทธ        พุทฺธํ สรณํ คโต(สำนวน)

พึ่งพระสงฆ์         สงฺฆํ สรณํ คโต(สำนวน)

พึงเว้น         ปริวชฺชิตพฺพํ(กิตก์)

พืช         พีชํ(นปุ.)

พื้นขรุขระ        ชงฺคโล(ปุ.)

พื้นเชิงเขา        อปจฺจกา(อิตฺ.)

พื้นดิน         ภูมิ(อิตฺ.) ปถวี(อิตฺ.) ปฐวี(อิตฺ.)

พื้นหน้าผา        อธิจฺจกํ(นปุ.)

พุง         อุทรํ(นปุ.) กุจฺฉิ(อิตฺ.) คหณี(อิตฺ.) คพฺโภ(ปุ.)

พุ่ง        ขิตฺต(กิตก์) วิทฺธ(กิตก์)

พุ่งไป         วิสฺสชฺเชติ(อาข.) วิสฺสชฺชติ(อาข.) วิสฺสชฺชนํ(นปุ)

พุทธกาล         พุทฺธุปฺปาทกาโล(ปุ.) พุทฺธกาโล(ปุ) พุทฺธุปฺปาโท(ปุ)

พุทธจักษุ        พุทฺธจกฺขุ(นปุ.)

พุทธมหามณีรตนปฏิมากร         พุทฺธมหามณีรตนปฏิมา(อิตฺ.)

พุทธศาสนิกชน         พุทฺธมามโก(ปุ.) พุทฺธสาสนิโก(ปุ.)

พุทธศาสนิกชนต้องยึดถือ         พุทธสาสเนหิ สกฺกาตพฺพํ โหติ(สำนวน) ครุกาตพฺพํ มานิตพฺพํ โหติ ปูชิตพฺพํ อปจตพฺพํ(สำนวน)

พุทธสถาน        พุทฺธสาสนํ(นปุ.)

พุทรา         พทฺรํ(นปุ.)

พุ่มหนาม         กณฺฎกคหนํ(นปุ.)  กณฺฏกคุมฺโป(ปุ.)

พูด         กเถติ(อาข.) ภาสติ(อาข.) วทติ(อาข.)

พูดเกี้ยว         อจฺจาวทติ(อาข.) โอภาสติ(อาข.)

พูดคุย         สากจฺฉํ กโรติ(สำนวน)

พูดชักจูงใจ         ปุคฺคลสฺส จิตฺตํ สมาทเปตุ(สำนวน)

พูดชั่ว         ทุพฺภาสิตภาสี

พูดพล่าม        อนุลาโป(ปุ.)

พูดใส่ร้าย         อพฺภาจิกฺขติ(อาข.)

พูดหยาบคาย         ผรุสาย วาจาย อกฺโกสกปริภาสโก (สำนวน)

เพกา         โสโก(ปุ.) ทีฆวณฺโฏ(ปุ.)

เพ่ง         อุลฺโลเกตฺวา(กิตก์) อภิชฺฌายิ(อาข.)

เพชร         วชิร(นปุ.)

เพชรตาแมว         มสารคลฺโล(ปุ.)

เพชรบุรี        วชิรปุรํ(นปุ.)

เพดาน        ปกฺขปาโส(ปุ.) วิตานํ(นปุ.)

เพราะ         เหตุตฺตา(ตทฺธิต) ตสฺมา(ปญฺจมี) ยสฺมา(ปญฺจมี)

เพราะเหตุใด        ยํ(กิริยาปรามาส) ยสฺมา(ปญฺจมี)

เพราะเหตุนั้น        ตสฺมา(ปญฺจมี)

เพลง         คีตํ(นปุ.)

เพลา        อกฺโข(ปุ.) อุปกฺขโร(ปุ.)

เพศ        วณฺณ(ปุ.) เวส(นปุ.) ลิงฺคํ(นปุ.)

เพ้อเจ้อ        ปลาโป(ปุ.)

เพิ่มขึ้น         อุเทติ(อาข.) อุทยติ(อาข.) วฑฺฒติ(อาข.) พฺรูหติ(อาข.)

เพิ่มพูน         อนุพฺรูหติ(อาข.) อุปถมฺภติ(อาข.)

เพียง         มตฺต(คุณ.)

เพียงเข่า        ชณฺณุตคฺฆ(คุณ.) ชานุมตฺต(คุณ.)

เพียบพร้อม         สมปฺปิต(กิตก์)

เพียร         อุสฺสาโห(ปุ.) อาตปฺโป(ปุ.) ปคฺคาโห(ปุ.) วายาโม(ปุ.) ปรกฺกโม(ปุ.) ปธานํ(นปุ.) วิริยํ(นปุ.) อีหา(อิตฺ.) อุยฺยาโม(ปุ.) ธิติ(อิตฺ.) วาณี(อิตฺ.)

เพียรไม่ถอยกลับ         อปฺปฏิวาณี(คุณ.)

เพียรยิ่ง        อุสฺโสฬฺหิ(อิตฺ.)

เพียรอย่างแรงกล้า         ติพฺพวีริย(คุณ.)

เพื่อขอทำความเข้าใจ         ปฏินิเวทิตุ(กิตก์)

เพือคบหาสมาคมกัน         สนฺทิฏฺฐสมฺภตฺต(คุณ.)

เพื่อความเข้าใจง่ายๆ         สุขพุทฺธิยา(อิตฺ.)

เพื่อความเจริญ         วุฑฺฒิยา วิรุฬฺหิยา เวปุลฺลาย(สำนวน)

เพื่อแถลง         ปฏินิเวทิตุ(กิตก์) ปกาเสตุ(กิตก์)

เพื่อน        มิตฺโต(ปุ.) วยสฺโส(ปุ.) สหาโย(ปุ.) สุทโห(ปุ.) สขา(ปุ.) สุหชฺโช(ปุ.)

เพื่อนบ้าน         อาสนฺนคามวาสี(ปุ.) มิตฺโต(ปุ.) สหาโย(ปุ.) สุหชฺโช(ปุ.) สโข(ปุ.) สขี(อิตฺ.)

เพื่อนพรหมจรรย์        สพฺรหฺมจารี(ปุ.) สพฺรหฺมจารินี(อิตฺ.)

เพื่อนสนิท        สมฺภตฺโต(ปุ.) ทฬฺหมิตฺโต(ปุ.)

เพื่อนเห็น        สนฺทิฏฺโฐ(ปุ.) ทิฏฺฐมตฺตโก(ปุ.)

เพื่อร่างกฎหมาย         นีติปญฺญตฺติยา(อิตฺ.)

แพ้        ปราชโย(ปุ.) ปราชินาติ

แพ        อุฬุมฺโป(ปุ.) ปฺลโว(ปุ.) กุลฺโล(ปุ.) ตโร(ปุ.) ปจฺจรี(อิตฺ.)

แพง         มหคฺฆ(คุณ.)

แพทย์        เวชฺโช(ปุ.) ติกิจฺฉโก(ปุ.) ภิสกฺโก(ปุ.) โรคหารี(ปุ)

แพทย์หญิง         โรคหาริกา(อิตฺ.) เวชฺชา(อิตฺ.)

แพร่ไปในหลายประเทศ         วิเทเสสุ ปาตุรโหสิ(สำนวน)

แพร่หลาย         วคฺคุคฺท(ปุ.) วิตฺถต(กิตก์) วิสฏ(กิตก์)

แพศ        เวสฺโส(ปุ.) เวสิยาโน(ปุ.)

แพะ         อโช(ปุ.) อชี(อิตฺ.) อชา(อิตฺ.) วสฺโส(ปุ.) ฉคลโก(ปุ.)

โพธิ์        อสฺสตฺโถ(ปุ.) โพธิ(ปุ)

โพธิพฤกษ์         โพธิรุกฺโข(ปุ.) อสตฺถรุกฺโข(ปุ.)

โพนทนา         อุชฺฌายติ(อาข.)

โพรง        รนฺธํ(นปุ.) วิวรํ(นปุ.) ฉิทฺทํ(นปุ.) กุหรํ(นปุ.) สุสิรํ(นปุ.) พิลํ(นปุ.) สุสิ(อิตฺ.) ฉิคฺคลํ(นปุ.) โสพฺภํ(นปุ.)

โพรงไม้        โกฏโร(ปุ.) สุสิรํ(นปุ.)

โพลง         ปชฺชลติ(อาข.) ปชฺชลิต(กิตก์)

ไพฑูรย์         เวฬุริยํ(นปุ.)

ไพร         วน(นปุ.) สณฺโฑ(ปุ.)

ไพรที        เวทิกา(อิตฺ.) เวทิ(อิตฺ.)

ไพรสณฑ์         วนสณฺโฑ(ปุ.)

ไพเราะ         มธุร(คุณ.) วิสฏ(คุณ.) วคฺคุ(คุณ.)

ฟ้อนรำ        นจฺจํ(นปุ.) นฏฺฏํ(นปุ.) นฏนํ(นปุ.) นตฺตนํ(นปุ.) ลาสนํ(นปุ.)

ฟักเขียว         กุมฺภณฺโฑ(ปุ.) วลฺลิโภ(ปุ.)

ฟักเหลือง        เอฬาลุกํ(นปุ.) กกฺการี(อิตฺ.)

ฟัง         สุณิสฺสติ(อาข.) โสสฺสติ(อาข.) สุต(กิตก์) สุณิต(กิตก์) สวนํ(นปุ.) สุณาติ(อาข.)

ฟัน        ทฺวิโช(ปุ.) ลปนโช(ปุ.) ทนฺโต(ปุ.) ทสโน(ปุ.) รทโน(ปุ.) รโท(ปุ.)

ฟาง        ปลาลํ(ปุ.)(นปุ.)

ฟายมือ        กุฑุโว(ปุ.) ปสโต(ปุ.)

ฟ้าร้อง        ถนิตํ(นปุ.) คชฺชิตํ(นปุ.) รสิตา(อิตฺ.)

ฟ้าแลบ        สเตรตา(อิตฺ.) อกฺขณา(อิตฺ.) วิชฺชุ(อิตฺ.) วิชฺชุตา(อิตฺ.) อจิรปฺปภา(อิตฺ.)

ฟืน        กฏฺฐํ(นปุ.) ทารุ(นปุ.) อลาตํ(นปุ.) อุมฺมุกํ(นปุ.)

ฟื้นฟูพระศาสนา         สาสนํ อภิวฑฺเฒตุ(สำนวน)

ฟุ้ง         อติวายติ(อาข.) สมุทาจรติ(อาข.)

ฟุตบอล         กนฺทุโก(ปุ.) เคณฺฑุโก(ปุ.)

ไฟ        ชาตเวโท(ปุ.) สิขี(ปุ.) โชติ(ปุ.) ปาวโก(ปุ.) ทหโน(ปุ.) อนโล(ปุ.) หุตาวโห(ปุ.) อจฺจิมา(ปุ.) ธูมเกตุ(ปุ.) อคฺคิ(ปุ.) คินิ(ปุ.) ภานุมา(ปุ.) เตโช(ปุ.) ธูมสิโข(ปุ.) วายุสโข(ปุ.) กณฺหวตฺตนี(ปุ.) เวสฺสานโร(ปุ.) หุตาโส(ปุ.) เตช(ปุ.) อคฺคิ(ปุ.)

ไฟนรก         ปริฬาโห(ปุ.) สนฺตาโห(ปุ.)

ไฟป่า        ปาวโก(ปุ.)

ไฟฟ้า        วิชฺชุเตโช(ปุ.)

ไฟลุกลาม        ปาวโก(ปุ.)

ภ-อักษร

ภรรยา         ภริยา(อิตฺ.) ชายา(อิตฺ.) ปชาปตี(อิตฺ.) ทาโร(อิตฺ.)

ภาชนะคนนมเป็นเนย        คคฺครี(อิตฺ.) มนฺถนี(อิตฺ.)

ภาชนะสามัญ        อมตฺตํ(นปุ.) ปตฺโต(ปุ.) ภาชนํ(นปุ.)

ภายใต้        เหฏฺฐา(นิปาต) เหฏฺฐิม(คุณ.)

ภายนอก        พาหิร(คุณ.) ปริพาหิร(คุณ.)

ภายนอกท้อง        อุทร(นปุ.)                                  

ภายใน         อนฺโต(นิปาต) อพฺภนฺตเร(นิปาต)

ภายหลัง         อถาปรภาเค(นิปาต) อปรภาเค(นิปาต)

ภารตะ        กถา(อิตฺ.)

ภาระ        ภาโร(คุณ.)(ปุ)

ภาวะ        ภาโว(ปุ.)

ภาษา        ภาสา(อิตฺ.)

ภาษาสันกฤต         สกฺกฏฺภาสา(อิตฺ.)

ภาษาสิงหล         สีหฬภาสา(อิตฺ.)

ภาษาอังกฤษ        องฺกิตภาสา(อิตฺ.)        

ภาษีอากร        กโร(ปุ.) พลิ(ปุ.)

ภิกษา        ภิกฺขา(อิตฺ.) อาหาโร(ปุ.) โภชนํ(นปุ.)

ภิกษุ          ภิกฺขุ(ปุ.) ภิกฺขุนี(อิตฺ.) สมโณ(ปุ.) ยติ(ปุ.) ปพฺพชิโ(ปุ.) ตปสฺสี(ปุ.) ตปสฺสินี (อิตฺ.) ตปสฺสี(ปุ.) ตโปธโน(ปุ.)

ภิกษุณี        ภิกฺขุนี(อิตฺ.)

ภูเขา          ปพฺพโต(ปุ.) คิริ(ปุ.) สิขรี(ปุ.) ภูธโร(ปุ.) เสโล(ปุ.) อทฺที(ปุ.) นโค(ปุ.) อจโล(ปุ.) สิลุจฺจโย(ปุ.) สิขรี(ปุ.)

ภูเขาข้างทิศตะวันออก        ปุพฺพเสโล(ปุ.) อุทโย(ปุ.)

ภูเขาข้างปัจฉิมทิศ        มนฺทาโร(ปุ.) อปรเสโล(ปุ.) อตฺโถ(ปุ.)

ภูเขาคันธมาทน์         คนฺธมาทน(ปุ.)

ภูเขาพิเศษ        คิชฺฌภูโฏ(ปุ.) เวภาโร(ปุ.) เวปุลฺโล(ปุ.) อิสิคิลิ(ปุ.) วิญฺโฌ(ปุ.) วิชฺโฌ(ปุ.) ปฑโว (ปุ.) วํโก(ปุ.)

ภูเขาพิเศษอีก        คนฺธมาทโน(ปุ.)เกลาโส(ปุ.) จิตฺตกูโฏ(ปุ.) สุทสฺสโน(ปุ.) กาฬกูโฏ(ปุ.) ติกูโฏ(ปุ.)

ภูเขาเล็ก ๆ        ปาโท(ปุ.) อุปนฺตเสโล(ปุ.)

ภูเขาหิมพานต์        หิมวา(ปุ.) หิมาจโล(ปุ.)

ภูมิประเทศ        ภูมิ(อิตฺ.)

เภสัช        เภสชฺชํ(นปุ.)

เภสัชกร        เภสชฺชกโร(ปุ.)

เภสัชกรหญิง        เภสชฺชการินี(อิตฺ.)

ม-อักษร

มงกุฎ        กิรีโฏ(ปุ.)(นปุ.) มกุฏํ(ปุ.)(นปุ.)

มงคล        เมชฺฌ(คุณ.) ปูต(คุณ.) ปวิตฺต(คุณ.)

มงคลดี         สุมงฺคลํ(นปุ.)

มณฑป        มณฺฑปํ(นปุ.)

มณฑล        มณฺฑลํ(นปุ.)

มด         ปิปิลฺลิกา(อิตฺ.) กิปิลฺลิกา(อิตฺ.)

มดลูก        คพฺภาสโย(ปุ.) ชลาพู(ปุ.)

มติ         มติ(อิตฺ.)

มธุราภิเษกแล้ว         มุทฺธาภิสิตฺต(คุณ.)

มนุษย์         มนุสฺโส(ปุ.) มานโว(ปุ.) มานุโส(ปุ.)

มโนรถ        มโนรโถ(ปุ.)

มรดกล้ำค่า         อนคฺฆสมฺปตฺติ(อิตฺ.)

มรรค        มคฺโค(ปุ.)

มฤค        มิโค(ปุ.) ปสุ(ปุ.)

มลทิน        มลํ(นปุ.)

ม้วน         ปเวเฐติ(อาข.) เวเฐติ(อาข.)

มวยปล้ำ        มลฺล(ปุ.)

มวยผม        ปาโส(ปุ.) หตฺโถ(ปุ.) จูโฬ(ปุ.)

มหรสพ         มหุสฺสโว(ปุ.) สามชฺชํ(นปุ.) อุสฺสโว(ปุ.) ฉโณ(ปุ.) มโห(ปุ.)

มหาจุฬาฯ         มหาจุฬาลงฺกรณมหาวิชฺชาลโย(ปุ.)

มหาทวีป        ปุพฺพวิเทโห(ปุ.) อปรโคยานํ(นปุ.) ชมฺพุทีโป(ปุ.) อุตฺตรกุรุ(ปุ.)

มหาวิทยาลัย         มหาวิชฺชาลโย(ปุ.) มหาวิทฺยาลโย(ปุ.) มหาวิชฺชาลยํ(นปุ.)

มหาสมุทร        มหาสมุทฺโท(ปุ.) อณฺณโว(ปุ.)

มหาสระ ๗ ชนิด        อโนตตฺโต(ปุ.) กณฺณมุณฺโฑ(ปุ.) รถการโก(ปุ.) ฉทฺทนฺโต(ปุ.) กุณาโล(ปุ.)      มนฺทากิณี(ปุ.) สีหปฺปปาโต(ปุ.)

มหาอำมาตย์        มหามตฺโต(ปุ.) ปธานํ(นปุ.) อมจฺโจ(ปุ)

มเหสี         มเหสี(อิตฺ.) มหาเทวี(อิตฺ.)

มอง         ปสฺสติ(อาข.) โอโลเกสิ(อาข.)

มองการณ์ไกล         ทีฆทสฺสี(คุณ.)

มองดู         โอโลเกติ(อาข.) โวโลเกติ(อาข.)

มองแต่โทษคนอื่น         ปรวชฺชทสฺสนํ(นปุ.)

มอบให้         โวสฺสคฺค(ปุ.) โวสฺสชฺชติ(อาข.) นิยฺยาเทติ(อาข.)

มะกล่ำ        ชิญฺชุโก(ปุ.) คุญฺชา(อิตฺ.)

มะกอก        นาคลา(อิตฺ.) ฌสา(อิตฺ.) เสลุ(ปุ.) พหุวารโก(ปุ.) อมฺพาฏโก(ปุ.) ปีตนโก(ปุ.)

มะเกลือ        กุลโก(ปุ.) กากตินฺทุโก(ปุ.)

มะขวิด        กวิฏฺโฐ(ปุ.) กปิตฺโถ(ปุ.)

มะขาม         จิญฺจาผลํ(นปุ.) จิญฺจา(อิตฺ.) ตินฺติณี(อิตฺ.)

มะขามป้อม         อามลโก(ปุ.) อมตา(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) อามลกี(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

มะเขือ        วาติงฺคโณ(ปุ.) ภณฺฑากี(อิตฺ.)

มะเขือขาว        วาตฺตากี(อิตฺ.) พฺรหตี(อิตฺ.)

มะงั่ว        มาตุลุงฺโค(ปุ.) พีชปูโร(ปุ.)

มะซาง        มธุโก(ปุ.) มธุทฺทุโม(ปุ.) คุฬผโล(ปุ.) ปีลุ(ปุ.)

มะเดื่อ        ยญฺญงฺโค(ปุ.) อุทุมฺพโร(ปุ.)

มะเดื่อปล้อง        กาโกทุมฺพริกา(อิตฺ.) เผคฺคุ(อิตฺ.)

มะตูม        มาลุโร(ปุ.) เพลุโว(ปุ.) พิลฺโล(ปุ.) เวฬุโว(ปุ.)

มะตูมอ่อน         เวฬุวลฏฺฐิ(อิตฺ.)

มะนาว         ชมฺภีรผลํ(นปุ.) ทนฺตสฏฺโฐ(ปุ.) ชมฺภีโร(ปุ.)

มะพร้าว         นาฬิเกรผลํ(นปุ.) นาลิเกโร(ปุ.)

มะพลับ        ตณฺฑุเลยฺโย(ปุ.) อปฺปมาริโส(ปุ.) ตินฺทุโก(ปุ.) กาลกฺขนฺโธ(ปุ.) ติมฺพรูสโก(ปุ.) ติมฺพรู(ปุ.)

มะพูด        กณฺฑลํ(นปุ.)

มะม่วง        อมฺโพ(ปุ.) จูโต(ปุ.) อมฺพลํ(นปุ.)

มะม่วงป่า        ปุณฺฑรีโก(ปุ.) เสตมฺโพ(ปุ.)

มะม่วงสุก         อมฺพปกฺกํ(นปุ.)

มะม่วงหอม        สโห(ปุ.) สหกาโร(ปุ.)

มะรุม        โสภญฺชโน(ปุ.) สิคฺคุ(ปุ.)

มะละกอ         วาตกุมฺภภณฺฑผลํ(นปุ.)

มะละกอป่า        สาทกณฺโฏ(ปุ.)

มะลิ        สุมนปุปฺผํ(นปุ.) สุมนา(อิตฺ.) ชาติสุมนา(อิตฺ.) มาลตี(อิตฺ.) ชาติ(อิตฺ.) วสฺสิกี (อิตฺ.) วสฺสิกา(อิตฺ.)

มะลิซ้อน        ติณสูลํ(นปุ.) มลฺลิกา(อิตฺ.) สตฺตลา(อิตฺ.) นวมาลิกา(อิตฺ.)

มะลิวัน        อปฺโผฏา(อิตฺ.) วนมลฺลิกา(อิตฺ.)

มะลื่น        เสปณฺณิ(อิตฺ.) กาสฺมรี(อิตฺ.)

มะแว้ง         เอราวโต(ปุ.)

มะสัง        คทฺทภณฺโฑ(ปุ.) กปีตโน(ปุ.)

มะหาค        ปิยาโล(ปุ.) สนฺนกทฺทุ(ปุ.)

มะอึก        นิทิทฺธิกา(อิตฺ.) พฺยคฺฆี(อิตฺ.)

มักโกรธ        โกธน(คุณ.) โรสน(คุณ.) โกปี(คุณ.)

มักตำหนิ         โอตาราเปกฺข(คุณ.) โอตารํ คเวสนฺโต วิจรติ(สำนวน)

มักพบแต่อุปสรรค         อุปสคฺคา อุปฺปชฺเชยฺยุ (สำนวน)

มักมากในกาม        กามยิต(คุณ.) กมิต(คุณ.) กามน(คุณ.) กามิ(คุณ.) กามุก(คุณ.)

มักเห็นภัย         ภยทสฺสาวี(คุณ.)

มักใหญ่        มหาตณฺห(คุณ.) มหิจฺฉ(คุณ.)

มังกร        มกโร(ปุ.)

มั่งคั่ง        อิพฺภ(คุณ.) อฑฺฒ(คุณ.) ธนี(คุณ.)

มั่งมี         อฑฺฒ(คุณ.) มหทฺธน(คุณ.) มหาโภค(คุณ.) อฑฺฒภาโว(ปุ)

มัชฌิมประเทศ        มชฺฌเทโส(ปุ.) มชฺฌิโม(ปุ.)

มัด         พนฺธิตฺวา(กิตก์) เวเฐตฺวา(กิตก์) พนฺธติ(อาข.) เวเฐติ(อาข.)

มัน        มูลโก(ปุ.)(นปุ.) จุจฺจุ(อิตฺ.)

มันข้น         เมโท(ปุ.) วปา(อิตฺ.)

มั่นใจ         ปธานํ(นปุ.)

มันเหลว         วสา(อิตฺ.) วิลีนสิเนห(คุณ.) วิลีนเสฺนห(คุณ.)

ม้า         ตุรโค(ปุ.) อสฺโส(ปุ.) วาโห(ปุ.)

มา         อาคจฺฉติ(อาข.) อายาติ(อาข.) เอติ(อาข.)

มาก        ภูริ(คุณ.) ปหูต(คุณ.) ปจุร(คุณ.) ภิยฺโย(คุณ.) สมฺพหุล(คุณ.) เยภุยฺเยน(นิปาต) พหุล(คุณ.) พหุ(คุณ.)

มากด้วยอาจารวัตร         อาจารวตฺตพหุล(คุณ.)

มากยิ่ง        อติริตฺต(คุณ.) อธิก(คุณ.)

ม้ากระจอก        โฆฏโก(ปุ.) ขฬุงฺโก(ปุ.)

มาณิกา        มาณิกา(อิตฺ.)

ม้าตัวผู้        หโย(ปุ.) ตุรงฺโค(ปุ.) ตุรโค(ปุ.) วาโห(ปุ.) อสฺโส(ปุ.) สินฺธโว(ปุ.)

ม้าตัวเมีย        วฬวา(อิตฺ.) อสฺสา(อิตฺ.)

มาถึง         อชฺฌุปคมนํ(นปุ.)

มาบรรจบอีกครั้ง         ปุนเรวาคโต โหติ(สำนวน)

มาประชุมกัน         สโมธานํ สมาคตา(สำนวน)

ม้าฝึกแล้ว        สุขวาหี(ปุ.) วินีโต(ปุ.)

ม้าฝึเท้าเร็ว        ชวโน(ปุ.) ชวาธิโก(ปุ.)

ม้าม          ปิหก(นปุ.)  

มาร        อนฺตโก(ปุ.) วสวตฺตี(ปุ.) ปาปิมา(ปุ.) ปชาปติ(ปุ.) ปมตฺตพนฺธุ(ปุ.) กโณฺโห(ปุ.) มาโร(ปุ.) นมุจิ(ปุ.)

มารดาเทพ        อทิติ(อิตฺ.)

มารดาอสูร        ทนุ(อิตฺ.)

มารยาท         อาจาโร(ปุ.)

มาร่วมประชุม         อญฺญมญฺญํ สมาคนฺตฺวา(สำนวน)

มาลัย         มาลา(อิตฺ.)

ม้าอัสดร        อสฺสตโร(ปุ.)

ม้าอาชาไนย        อาชานีโย(ปุ.) กุลีนโก(ปุ.)

มิจฉาจาร         มิจฺฉาจาโร(ปุ.)

มิใช่หรือ        นนุ(นิปาต)

มิตร        มิตฺโต(ปุ.) วยสฺโส(ปุ.) สหาโย(ปุ.) สุทโห(ปุ.) สขา(ปุ.)

มี         โหติ(อาข.) อตฺถิ(อาข.) ภวติ(อาข.) สนฺต(กิตก์)

มีก้นใหญ่         กฏิปุถุลก(คุณ.)

มีกรรมชั่ว         ปาปกมฺมี(คุณ.)

มีกรรมเป็นกำเนิด         กมฺมโยนิ(คุณ.) กมฺมโยนี(คุณ.)

มีกรรมเป็นที่พึ่ง         กมฺมปฏิสรณ(คุณ.)

มีการงานสะอาด         สุจิกมฺม(นปุ.)

มีกำลังน้อย         ทุพฺพล(คุณ.) หีนวีริย(คุณ.)

มีกำลังมาก         มหพฺพล(คุณ.)

มีกำลังอำนาจ         อิทฺธ(คุณ.) ผีต(คุณ.) อากิณฺณมนุสฺส(คุณ.) สมฺปนฺสสฺส(คุณ.)

มีความคิดบริบูรณ์         ปริปุณฺณกปฺป(คุณ.)

มีความตายเป็นที่สุด         มรณนฺติก(คุณ.)

มีความแตกฉาน         ปภินฺนญาณวนฺตุ(คุณ.)

มีความมักมาก         มหิจฺฉ(คุณ.) มหิจฺฉตา(อิตฺ.)

มีความรักภักดีอย่างยิ่ง         ทฬฺหภตฺติก(คุณ.)

มีความรู้ท่วมหัว         อติเรกสุตสมฺปนฺน(คุณ.) อติเรกสิปฺปสมฺปนฺน(คุณ.)

มีความรู้ทางแพทย์         เวชฺชกมฺมสมฺปนฺน(คุณ.)

มีความรู้น้อย         มนฺทพุทฺธิ(คุณ.)

มีความรู้มาก         พหุพุทฺธ(คุณ.)

มีความโศก         โสกี(คุณ.)

มีความสามารถร่วมกัน         สมตฺถา โหนฺติ ปฏิพลา(สำนวน)

มีค่าน้อย         อปฺปคฺฆ(คุณ.)

มีคุณธรรมสูง         สีลทิฏฺฐิสมฺปนฺน(คุณ.)

มีคุณประโยชน์         สาตฺถิโก ภวิสฺสติ อตฺถชนิโก(สำนวน)

มีงานมาก         พหุกิจฺจ(คุณ.) พหุกรณีย(คุณ.)

มีจิตใจชั่วร้าย         จณฺฑจิตฺต(คุณ.)

มีจิตใจที่เยือกเย็น         สนฺตกาโย โหติ สนฺตวาโจ สนฺตโน(สำนวน)

มีใจกรุณา         หทยาลุ(คุณ.)

มีใจข้องเกี่ยว         ลคฺคจิตฺต(คุณ.)

มีใจบันเทิง         ปมุทิตจิตฺต(คุณ.)

มีใจมั่นคง         สมาหิตจิตฺต(คุณ.)

มีใจรักใคร่         วจฺฉล(คุณ.)

มีใจเลื่อมใส         วิปฺปสนฺเนน เจตสา(สำนวน)

มีใจสังเวช          สํวิคฺคมานส(คุณ.)

มีชื่อเสียง         กลฺยาณกิตฺติสทฺธ(คุณ.) อพฺภุคฺคตกิตฺติคุณ(สำนวน)

มีชื่อเสียง         ปญฺญาต(คุณ.) ปากฏ(คุณ.) วิสฺสุต(คุณ.) อภิญฺญาต(คุณ.)

มีญาณจักษุ         ญาณโลจน(คุณ.)

มีด        ฉุริกา(อิตฺ.) สตฺตี(อิตฺ.) อสิปุตฺติ(อิตฺ.) วาสี(อิตฺ.)

มีดโกน         ขุร(นปุ.)

มีดพร้า         วาสี(นปุ.) ผรสุกํ(นปุ.)

มีตนเป็นใหญ่         อตฺตาธิปเตยฺยํ(นปุ.)

มีตาลปัตรอยู่ข้างหน้า         ปุรโต ตาลวณฺฏิกา(สำนวน)

มีแต่กำไร         วุฑฺฒิเยว ปาฏิกงฺขา(สำนวน)

มีแต่เสื่อมลง         ปริหานิเยว ปาฏิกงฺขา(สำนวน)

มีทรัพย์มาก         มหทฺธน(คุณ.)

มีทุนน้อย         อปฺปํ ปาฏกํ (สำนวน)

มีโทษ         สาวชฺช(คุณ.)

มีโทษความผิด        ธชวนฺตุ(คุณ.) ธชาลุ(คุณ.) ธชพทฺธ(คุณ.)

มีโทษน้อย         อปฺปสาวชฺช(คุณ.)

มีโทษมาก         มหาวชฺช(คุณ.)

มีธรรมเป็นแกนนำ         ธมฺมปรายน(คุณ.)

มีนิสัยอ่อน         มุทุชาติก(คุณ.)

มีบุญ        ปุญฺญวนฺตุ(คุณ.) สุกตี(คุณ.) ธญฺญ(คุณ.)

มีบุญคุณมาก         มหุปการ(คุณ.)

มีผล         อภินิพฺพตฺตติ(อาข.) อุปฺปนฺโน(กิตก์) อุปฺปชฺชิ(อาข.) นิพฺพตฺโต(กิตก์) นิพฺพตฺตติ(อาข.) อุทปาทิ(อิตฺ.) ชาโต(กิตก์)

มีผลมาก         มหปฺผลํ(คุณ.)

มีฝีมือ         กตหตฺถ(คุณ.) ทกฺข(คุณ.) นิปุณ(คุณ.) ปวีณ(คุณ.) วสี(คุณ.)

มีพระอิสริยยศ         ยสสฺสินี(คุณ.)

มีภัยมาก         มหพฺภย(คุณ.)

มีมิตรจิตต่อกัน         อญฺญสฺส สุหชฺชา ปิยมานา(สำนวน)

มีเมตตาจิต         สเมตฺตจิตฺต(คุณ.)

มีราคาแพง         มหคฺฆ(คุณ.)

มีรายได้มาก         อฒฺโฒ อโหสิ มหทฺธโน มหาโภโค(สำนวน)

มีลาภ         ลาโภ อุปฺปนฺโน(สำนวน)

มีวาจาไพเราะ         มธุรวาจา(คุณ.) วคฺคุคฺท(คุณ.)

มีวาจาสุภาพ         สนฺตวจ(คุณ.)

มีวาทะจัดจ้าน         ธุตวาท(คุณ.)

มีวิริยะอุตสาหะ         สวีริย(คุณ.) อนิกฺขิตฺตธุร(คุณ.)

มีศรัทธา        สทฺธายุตฺต(คุณ.) สทฺธาลุ(คุณ.)

มีศรัทธาตั้งมั่น         สุปติฏฺฐิตสทฺธ(คุณ.)

มีศรัทธาเลื่อมใสอย่างยิ่ง         นิวิฏฺฐสฺสทฺธ(คุณ.) นิวิฏฺฐปฺเปม(คุณ.) เอกนฺตคต(คุณ.)

มีศึกมาประชิด         สงฺคาโม สมุปพฺยุฬฺโห อโหสิ ปจฺจุปฏฐิโต(สำนวน)

มีสติมั่นคง         ปฏิสฺสต(คุณ.)

มีสติระมัดระวัง         สติสํวร(คุณ.)

มีสัมมาคารวะ         สคารว(คุณ.)

มีอยู่ในพระบาลี         ปาลิยํ ปากฏีภูต(คุณ.)

มีอาชีวะเป็นต้นเหตุ         อาชีวสมฏฺฐาน(คุณ.)

มีอานิสงส์มาก         มหานิสํส(คุณ.)

มีอายุเจริญขึ้น         วยปฺปตฺโต โหติ ทีฆายุโก(สำนวน)

มีอายุยืน         ทีฆายุก(คุณ.)

มีอำนาจเหนือ         อชฺฌภว(คุณ.)

มืด        อนฺธกาโร(ปุ.) ตโม(ปุ.) ติมิสํ(นปุ.) ติมิรํ(นปุ.)

มือ        หตฺโถ(ปุ.) กโร(ปุ.) ปาณิ(ปุ.)

มุ้ง         มาสาวรณํ(นปุ.)

มุง        ฉนฺน(กิตก์) ฉาทิต(กิตก์)

มุ่งถึงความเจริญ         ปวุฑฺฒิกามโก(สำนวน)

มุงบัง         ปริจฺฉนฺน(กิตก์)

มุ่งหมาย         สนฺธาย(กิตก์) อาสา(อิตฺ.)

มุ่งหมายเป็นพระโพธิสัตว์         โพธิสตฺตภาวปฺปตฺติ(อิตฺ.)

มุ่งให้ธรรมตั้งมั่น         ธมฺมฏฐิติเปกฺข(คุณ.)

มุนี        วาจํยโม(ปุ.) มุนิ(ปุ.)

มุม         ภาโค(ปุ.) ปริยนฺตํ(นปุ.)

มูตร         ปสฺสาโว(ปุ.) มุตฺตํ(นปุ.)

มูตรเน่า        ปูติมุตฺตํ(นปุ.)

มูลเค้า        นิมิตฺตํ(นปุ.) การณํ(นปุ.) ฐานํ(นปุ.) ปทํ(นปุ.) พีชํ(นปุ.) นิพนฺธนํ(นปุ.) นิทานํ(นปุ.) ปภโว(ปุ.) เหตุ(ปุ.) สมฺภโว(ปุ.) เสตุ(ปุ.) ปจฺจโย(ปุ.)

มูลนิธิ        มูลนิธิ(ปุ.)

มูลแพะ         อชลณฺฑิกํ(นปุ.)

มูลสัตว์         ฉกณํ(นปุ.) ลณฺฑํ(นปุ.)

มูลเหตุ         อุปฺปตฺติกถา(อิตฺ.)

เมฆ        เมโฆ(ปุ.) วลาหโก(ปุ.) เทโว(ปุ.) ปชฺชุนฺโน(ปุ.) อมฺพุธโร(ปุ.) ฆโน(ปุ.) ธาราธโร(ปุ.) ชีมูโต(ปุ.) วาริวาโห(ปุ.) อมฺพุโท(ปุ.) อพฺภํ(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

เมตตากรุณากัน         เมตฺตายติ(อาข.) กรุณายติ(อาข.)

เมถุน        คามธมฺโม(ปุ.) อสทฺธมฺโม(ปุ.) พฺยวาโย(ปุ.) เมถุนํ(นปุ.) รติ(อิตฺ.)

เมถุนธรรม         เมถุนธมฺโม(ปุ.)

เม่น        สลฺโล(ปุ.) สลฺลโก(ปุ.)

เมรัย        อาสโว(ปุ.) เมรยํ(นปุ.)

เมล็ดผักกาด        สิทฺธตฺโถ(ปุ.) สาสโป(ปุ.)

เมล็ดพันธุ์ผักกาด         สิทฺธตฺโถ(ปุ.)  สาสโป(ปุ.) สิทฺธตฺถกํ(นปุ.)

เมล็ดพืชพันธุ์         ผลฏฺฐีนิ(นปุ.)

เมา         มทนฺต(กิตก์) มตฺต(กิตก์) มุยฺหติ(อาข.)

เมีย        ทาโร(ปุ.) ชายา(อิตฺ.) กฬตฺตํ(นปุ.) ฆรณี(อิตฺ.) ภริยา(อิตฺ.) ปิยา(อิตฺ.) ปชาปตี(อิตฺ.) ทุติยา(อิตฺ.) ปาทปริจาริกา(อิตฺ.)

เมือง        ปุรํ(อิตฺ.)(นปุ.) นครํ(นปุ.)(อิตฺ.) ฐานียํ(นปุ.) ปุฏเภทนํ(นปุ.) ราชธานี(อิตฺ.)

เมืองพม่า        วมาปุร(นปุ.)

เมืองพระอินทร์        มสกฺกสาโร(ปุ.) วสฺโสกสารา(อิตฺ.) อมราวตี(อิตฺ.)

เมืองพุกาม        ผุกามปุร(นปุ.)

เมืองสาขา         สาขานครํ(นปุ.)

เมืองหงสาวดี        หํสปุร(นปุ.)

เมืองหลวง         มหานครํ(นปุ.) ราชธานี(อิตฺ.)

เมืองหลวงไทย         ทยฺยธานี(อิตฺ.)

เมืองอังวะ        อาวุปุร(นปุ.)

เมื่อประสบอันตรายต่างๆ         ปจฺจุปฏฺฐิเต ภเย วา ฉมฺภิตฺตเต วา โลมหํเส วา ลีนฺจิตเต วา(สำนวน)

เมื่อไร        กทา(นิปาต)

เมื่อวาน        หิยฺโย(นิปาต)

แม่        อมฺมา(อิตฺ.) อมฺพา(อิตฺ.) ชนนี(อิตฺ.) มาตา(อิตฺ.) ชเนตฺตี(อิตฺ.) ชนิกา(อิตฺ.)

แม่กองบาลีสนามหลวง         มหาเถโร ทยฺยรฏเฐ ภิกฺขุสงฺฆสฺส ปาลิสิกฺขาธิปติ(สำนวน)

แม่แกะ        อรุณี(อิตฺ.) อชี(อิตฺ.) อชา(อิตฺ.)

แม่ครุฑ        สุปณฺณมาตา(อิตฺ.) วินตา(อิตฺ.)

แม่แคร่        อฏนี(อิตฺ.)

แม่โคแดง        รตฺตคาวี(อิตฺ.) โรหิณี(อิตฺ.)

แม่โคทั่วไป        คาวี(อิตฺ.) สิงฺคินี(อิตฺ.) โค(อิตฺ.)(ปุ)

แม่โคหมัน        วญฺฌา(อิตฺ.) วสา(อิตฺ.)

แมงบุ้ง        อุจฺจาลิงฺโค(ปุ.) โลมสปาณโก(ปุ.)

แมงป่อง        วิจฺฉิโก(ปุ.) อาฬิ(ปุ.)

แมงมุม         อุณฺณนาภิ(ปุ.) ลูตา(อิตฺ.) ลูติกา(อิตฺ.) อุณฺณานาภิ(ปุ.) มกฺกฏโก(ปุ.)

แมงลัก        อชฺชุโก(ปุ.) สิตปณฺณาโส(ปุ.)

แม่ทัพ        เสนานี(ปุ.) จมูปติ(ปุ.)

แม่ทัพเรือ        นาวิกเสนาปติ(ปุ.)

แม่นธนู         ธนุคฺคโห(ปุ.)

แม่น้ำ        สวนฺตี(อิตฺ.) นินฺนคา(อิตฺ.) สินฺธู(อิตฺ.) สริตา(อิตฺ.) อาปคา(อิตฺ.) นที(อิตฺ.)

แม่น้ำคงคา        ภาคีรถี(อิตฺ.) คงฺคา(อิตฺ.)

แม่น้ำต่างๆ        จนฺทภาคา(อิตฺ.) สรสฺวตี(อิตฺ.) เนรญฺชรา(อิตฺ.) กาเวรี(ปุ.) นมฺมทา(อิตฺ.)

แม่น้ำใหญ่ ๕ สาย        คงฺคา(อิตฺ.) อจิรวตี(อิตฺ.) ยุมนา(อิตฺ.) สรภู(อิตฺ.) มหี(อิตฺ.)

แม้บ้าง         ปิ(นิปาต) อปิ(นิปาต)

แม่ผัว        สสฺสุ(อิตฺ.)

แม่มด        วารุณี(อิตฺ.) อิกฺขณิกา(อิตฺ.)

แม่ยาย        สสฺสุ(อิตฺ.)

แมลง         อุงฺกุโณ(ปุ.)

แมลงค่อมทอง         อินฺทโคปกา(อิตฺ.)

แมลงต่างๆ        กีโฏ(ปุ.) ปุฬโว(ปุ.) กิมิ(ปุ.) ปาณโก(ปุ.)

แมลงภู่        ฉปฺปโท(ปุ.) มธุพฺพโต(ปุ.) มธุลีโห(ปุ.) มธุกโร(ปุ.) มธุโป(ปุ.) ภมโร(ปุ.) อลิ(ปุ.)

แมว         มชฺชารี(อิตฺ.) พิฬาโร(ปุ.) พพฺพุ(ปุ.) มชฺชาโร(ปุ.)

แม่สื่อ        ทูตี(อิตฺ.) สญฺจาริกา(อิตฺ.)

แม่เหล็ก        อมลํ(นปุ.) อพฺภกํ(นปุ.)

โมคคัลลานะ        โกลิโต(ปุ.) โมคฺคลฺลาโน(ปุ.) โมคฺคลฺลายโน(ปุ.)

ไม้ ฟืน         ทารุ(นปุ.) กฏฺฐํ(นปุ.)

ไม่กระทำ         อกิริยํ(นปุ.) อกรณํ(นปุ.)

ไม่กระวนกระวาย         อวิกฺขิตฺต(คุณ.)

ไม้กลอนหลังคา        โคปานสี(อิตฺ.)

ไม่กล้าตัดสินใจ        อวีร(คุณ.) กาตร(คุณ.)

ไม้กวาด        สมฺมุชฺชนี(อิตฺ.) สมฺมชฺชนี(อิตฺ.) โสธนี(อิตฺ.)

ไม้กากะทิง         นาโค(ปุ.)

ไม่เกียจคร้าน         อตนฺทิต(คุณ.) อนลส(คุณ.)

ไม่ขัดข้อง        อพาธ(คุณ.) นิรคฺคล(คุณ.)

ไม่ขาด         อขณฺฑ(คุณ.)

ไม่ขาดทุน         โน ปริหานิ(อิตฺ.)

ไม่ขุ่นมัว         อนาวิล(คุณ.)

ไม้แขม        เตชโน(ปุ.) สโร(ปุ.)

ไม่คบค้าสมาคมด้วย         อเสวนา(อิตฺ.) อภชนา(อิตฺ.) อสหายตา(อิตฺ.) อตํสมฺปวงฺกตา(อิตฺ.)

ไม้ค้อน        ลคุโฬ(ปุ.) มุคฺคโร(ปุ.)

ไม้ค้ำ        วรูโก(ปุ.) รถคุติ(อิตฺ.)

ไม่คิดอย่างถี่ถ้วน        น วิจาริตํ(กิตก์) น จ โยนิโสมนสิกตํ(กิตก์)

ไม่คุ้มค่าความลำบาก         นิรตฺถกเมว อตฺตานํ กิลมเปติ นาม (สำนวน)

ไม่คู่ควร         อภพฺพ(คุณ.)

ไม่เคลื่อน         อจฺจุต(คุณ.)

ไม่เคลื่อนที่        ถาวร(คุณ.)

ไม่จริงแท้        วิตถ(คุณ.)

ไม่เจริญ         อภทฺทก(คุณ.) โน วุฑฒิ(สำนวน)

ไม้เจ้าแห่งป่า        วนปฺปติ(ปุ.)

ไม่เฉียบแหลม         อจฺเฉก(คุณ.) อพฺยตฺต(คุณ.)

ไม่เดือดร้อน         อวิปฺปฏิสาร(คุณ.)

ไมตรี        เมตฺตา(อิตฺ.) เมติ(อิตฺ.)

ไม้ตะเคียน         ขทิโร(ปุ.)

ไม้ตะพด        ทณฺโฑ(ปุ.)        

ไม่ตามใจตนเอง         สเก วเส น วตฺตติ(สำนวน)

ไม่ทรงอนุญาต         นานุชานิตฺถ(อาข.) นานุชานึสุ(อาข.)

ไม่ท้อถอย         อโนลีนจิตฺต(คุณ.)

ไม่ทำให้เดือดร้อน         น วิเหเฐติ(อาข.)

ไม้เท้า         ทณฺโฑ(ปุ.)

ไม้เท้าคนแก่        กตฺตรยฏฐิ(อิตฺ.)

ไม่นาน         นจิรํ(นิปาต) นจิรสฺเสว(นิปาต)

ไม้บรรทัด         อุชุเลขโก(ปุ.) อุชุทณฺโฑ(ปุ.)

ไม่ประทุษร้าย         น ทูเสติ(อาข.)

ไม่ปรากฏ        อปจฺจกฺข(คุณ.) อปากฏ(คุณ.) น ปญฺญายติ(อาข.)

ไม่ปรารถนา         นิตฺตณฺหภาโว(ปุ.)

ไม่แปลก         นิพฺพิเสส(คุณ.) อวิเสส(คุณ.)

ไม่ผิด        อวิรุทฺธ(คุณ.) อปณฺณก(คุณ.)

ไม้ไผ่        ตจสาโร(ปุ.) เวณุ(ปุ.) วํโส(ปุ.) เวฬุ(ปุ.)

ไม่พอ         อติตฺติ(อิตฺ.)

ไม่มีกำหนด        อปริยนฺตวตี(คุณ.) อปริจฺเฉท(คุณ.)

ไม่มีแก่นสาร         นิสฺสาร(คุณ.) อสาร(คุณ.)

ไม่มีความผิด         นิรปราธ(คุณ.)

ไม่มีความระแวง         นิราสงฺก(คุณ.)

ไม่มีใครปรามได้         อตชฺชนีย(คุณ.)

ไม่มีเจตนา         อเจตน(คุณ.)

ไม่มีเจ้าของ         อสฺสามิก(คุณ.)  นิสฺสามิก(คุณ.)

ไม่มีชีวิต         นิชฺชีว(คุณ.)

ไม่มีชื่อเสียง         อปญฺญาต(คุณ.) อปากฏ(คุณ.)

ไม่มีที่สุด         อปริยนฺตวตี(คุณ.)(อิตฺ.)

ไม่มีทุกข์         อนีฆ(คุณ.)

ไม่มีโทษ         นิทฺโทส(คุณ.) อนวชฺช(คุณ.)

ไม่มีประโยชน์         อนตฺถสญฺหิต(คุณ.) อนริย(คุณ.) อนตฺถสญฺหิต(คุณ.)

ไม้มีผล        ผลิโน(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ผลวา(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) ผลี(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

ไม่มีภัยอันตรายใดๆ         อปฺปฏิภย(คุณ.) อนุปทฺทว(คุณ.) อนุปสคฺค(คุณ.)

ไม่มีระหว่าง        นิรนฺตรํ(นิปาต) อนนฺตรํ(นิปาต)

ไม่มีโรค         อาโรคฺยํ(นปุ.)

ไม่มีศีล         นิสฺสีล(คุณ.)

ไม่มีสิทธิ์รับเลือกตั้ง         รฏฺฐวาสีนํ ธุรคฺคาหกํ กตฺวา นิยฺยาเทตุ น สกฺโกติ(สำนวน)

ไม้มีหนาม        สลฺโล(ปุ.) มทโน(ปุ.)

ไม่มีอุปกิเลส         นิรุปกิเลส(คุณ.)

ไม่มีอุปสรรค         นีรุปทฺทว(คุณ.) นีรุปสคฺค(คุณ.)

ไม้ไม่มีผล        วญฺฌ(คุณ.) อผล(คุณ.)

ไม่ยอมฟังใคร         อติมานี(คุณ.)

ไม่ใยดี        อนเปกฺขี(คุณ.) นิราลย(คุณ.)

ไม่ริษยา         น อุสฺสุยฺยนฺติ(อาข.)

ไม่ไร้ผล         อนิปฺผล(คุณ.)

ไม้ล้มลุก        โอสธิ(นปุ.)

ไม้เลียบ        ปิลกฺโข(ปุ.) ปิปฺผลิ(อิตฺ.)

ไม่เลือกหน้า         อมุโขโลกนํ(นปุ.)

ไม่ว่าร้ายใคร         อปรูปวาโท(ปุ.) อนูปวาโท(ปุ.)

ไม่สมหวัง         ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ(สำนวน)

ไม่สม่ำเสมอ         วิสม(คุณ.)

ไม้สีฟัน        ทนฺตโปโณ(ปุ.) ทนฺตกฏฺฐํ(นปุ.)

ไม้สีไฟ         อรณิ(อิตฺ.) อรณี(ปุ.)

ไม้สีไฟอันบน        อรณิสหิตํ(ปุ.)

ไม่หดหู่         อลีน(คุณ.)

ไม้หมากเม่า         กากรุกฺโข(ปุ.)

ไม่ห่วงใย         นิราลย(คุณ.)

ไม่หวั่นไหว         อจล(ปุ.) อกมฺปน(นปุ.)

ไม่หวาดหวั่น         น อุตฺตสติ(อาข.) น ภายติ(อาข.)

ไม่หอม         นิคฺคนฺธ(คุณ.) อคนฺธ(คุณ.)

ไม่เหลือ         นิรวเสส(คุณ.)

ไม้แห้ง         สุกฺขทารุ(นปุ.)

ไม่ให้ร้ายใคร        อนูปฆาโต(ปุ.)

ไม่อยากตาย         อมริตุกามตา(อิตฺ.)

ไม่อยากเห็น         ทฏฺฐุ น อิจฺฉติ(อาข.)

ไม้อ้อ        นโฬ(ปุ.) ธมโน(ปุ.)

ไม่อาจอยู่         อสกฺโกนฺต(กิตก์) อวิสหนฺต(กิตก์) น สกฺกา(กริยาบท) สหติ(อาข.)

ไม่อิ่ม        อติตฺติ(อิตฺ.)

ย-อักษร

ยก        อุสฺสาเปติ(อาข.) อาโรเปติ(อาข.)

ยกขึ้น         อพฺภุคฺคิรติ(อาข.) อาโรเปติ(อาข.) อุกฺขิปติ(อาข.) อาโรปิต(กิตก์) อุพฺภต(กิตก์) อุสฺสาเปติ(อาข.)

ยกคน         อาโรเปติ(อาข.) อาโรเปตฺวา(กิตก์) อาโรปนํ(นปุ.)

ยกตนข่มท่าน         อตฺตุกฺกํสนปรวมฺภนํ(สำนวน)

ยกโทษ         ขมติ(อาข.) อุชฺฌายิ(อาข.)

ยกมือแสดงความเคารพ         อญฺชลิกา(อิตฺ.)

ยกย่อง         วณฺณิตา อโหสิ(สำนวน) ปสํสิต(กิตก์) วณฺเณสิ(อาข.) ปสํสติ(อาข.)

ยนต์         ยนฺตํ(นปุ.)

ยมราช        ยมราชา(ปุ.) เวสายี(ปุ.) ยโม(ปุ.)

ยวดยาน        ยานํ(นปุ.) วาหนํ(นปุ.) โยคฺคํ(นปุ.)

ย่อ         สงฺเขโป(ปุ.)

ยอด        สิโร(ปุ.) อคฺคํ(นปุ.) สิขโร(ปุ.)(นปุ.) มตฺถโก(ปุ.)

ยอดเขา        กูโฏ(ปุ.) สิขรํ(นปุ.) สิงฺคํ(นปุ.)

ยอดเยี่ยม         อนุตฺตร(คุณ.) อคฺค(คุณ.)

ยอดอ่อน        ปลฺลโว(ปุ.)(นปุ.) กิสลยํ(นปุ.)

ย่อมพัด         อีรตี(อาข.) วายติ(อาข.) ปหรติ(อาข.)

ยอมรับ         ปฏิชานาติ(อาข.)        

ยอมรับนับถือ         สุมาเนติ(อาข.)

ยอมเสียสละ         โวสฺสคฺครต(คุณ.)

ยักษ์เวปจิตตี        เวปจิตฺติ(ปุ.) ปุโลโม(ปุ.)

ยังมีเวลา        สกาล(ปุ.)

ยั้งไม่อยู่         สณฺฐาตุ น สกฺโกติ(สำนวน)

ยั่งยืน        สสฺสตี(ปุ.)

ยัฏฐิ (๗ รตนะ)        ยฏฺฐิ(อิตฺ.)

ยัน         อุปฺปีเฬติ(อาข.) โอปีเฬติ(อาข.)

ยั่วยวน         อพฺยาเสก(คุณ.) อเสจน(นปุ.)

ยา         เภสชฺชํ(นปุ.) อคโท(ปุ.) เภสชํ(นปุ.) โอสถํ(นปุ.)

ย่า         อยฺยิกา(อิตฺ.) มาตามหี(อิตฺ.) มาตามหี(อิตฺ.) อยฺยกา(อิตฺ.) อยฺยิกา(อิตฺ.)

ยาก         ทุกฺข(คุณ.) กิจฺฉ(คุณ.) กิลมน(นปุ.)

ยากจน         ทลิทฺท(คุณ.) ทุคฺคต(คุณ.) นิทฺธน(คุณ.) ทลิทฺทภาโว(ปุ.)

ยากจะเปรียบได้        อสโม(คุณ.) อปฺปฏิสโม(คุณ.) อสมสโม(คุณ.) อปฏิภาโค(คุณ.) อปฺปฏิปุคฺคโล(คุณ.)

ยากจะพรรณนาให้สิ้นสุด         น สกฺกา สพฺเพน สพฺพํ สํวณฺณิตุ(สำนวน)

ยาคือธรรมปฏิบัติ         ธมฺมานุธมฺมปฏิปตฺติสงฺขาตโอสถํ(สำนวน)

ย่าง         องฺคารปกฺก(คุณ.) องฺคารปจิต(คุณ.)

ยางทราย        นิคฺคุณฺฑี(อิตฺ.) สินฺทุวาโร(ปุ.)

ยางลบ         ปุญฺฉนนิยฺยาโส(ปุ.) ปณฺณปุญฺฉนี(อิตฺ.)

ยางสน        สิริวาโส(ปุ.) สรลทฺทโว(ปุ.)

ยาตราทัพ        นิยฺยานํ(นปุ.) คมนํ(นปุ.) ยาตฺรา(อิตฺ.) ปฏฺฐานํ(นปุ.) คโม(ปุ.) คติ(อิตฺ.)

ยาตา        อญฺชนํ(นปุ.) กชฺชลํ(นปุ.)

ย่าม         ถวิกา(อิตฺ.)

ยาม        ปหาโร(ปุ.) ยาโม(ปุ.) กาโล(ปุ.)

ยามดี         สุมุหุตฺต(คุณ.)

ยามดูแล        โทวาริโก(ปุ.) ปฏิหาโร(ปุ.) ทฺวารฏฺโฐ(ปุ.) ทฺวารปาลโก(ปุ.)

ยามตีฆ้อง        เวตาลิโก(ปุ.) โพธกโร(ปุ.)

ยามว่างราชกิจ         วิคตภารกาล(สำนวน)

ยาย          อยฺยิกา(อิตฺ.) มาตามหี(อิตฺ.) มาตามหี(อิตฺ.) อยฺยกา(อิตฺ.)

ยาว        อายต(คุณ.) ทีฆ(คุณ.)

ยำเกรง         อปจายิต(กิตก์) อปจิต(กิตก์)

ยิง         ขิตฺต(กิตก์) วิทฺธ(กิตก์)

ยิ่ง         ภุสํ(นปุ.) อติสโย(ปุ.) ทฬฺหํ(นปุ.) ติพฺพํ(นปุ.) เอกนฺตํ(นปุ.) อติมตฺตํ(นปุ.) พาฬฺหํ(นิปาต) อุกฺกฏฺฐ(คุณ.) ปกฏฺฐ(คุณ.) อติ(อุป.) อธิ(อุป.) อติเรกํ(นิปาต)

ยิ่งๆขึ้นไป        ตโต อุตฺตรึ(นิปาต) ภิยฺโย(นิปาต) ภิยฺโยโส(นิปาต)

ยินดี         รต(กิตก์) รติ(อิตฺ.) รุจิ(อิตฺ.) ตุสฺสติ(อาข.) สนฺตุสฺสติ(อาข.) ปีติ(อิตฺ.) นนฺทิ (อิตฺ.) อานนฺโท(ปุ.) หาโส(ปุ.) ปโมโท(ปุ.) ปีต(คุณ.) ปมุทิต(คุณ.) หฏฺฐ(คุณ.) ปหฏฺฐ(คุณ.) มตฺต(คุณ.) ตุฏฺฐ(คุณ.) รมติ(อาข.)

ยินดีค้นคว้า         สิกฺขาปวิจยาภิรต(กิตก์)

ยินดีต่อบารมีธรรม         ปารมิธมฺมํ ปโมทาม(สำนวน)

ยินดีตามมีตามได้         อิตรีตเรน สนุตุสฺสโก(สำนวน)

ยินดีในการจำแนกทาน         ทานสํวิภาครต(คุณ.)

ยินดีรู้จักพอ         มตฺตญฺญุตาสงฺขาโต สนฺโตโส(สำนวน)

ยินดีอย่างยิ่ง         พลปฺปีติสมาคต(คุณ.)

ยิ้มเยาะ         ปริหาสํ กโรติ(สำนวน)

ยิ้มแย้ม         มหิหตํ(นปุ.) สิตํ(นปุ.) สิตํ ปาตุกริตฺวา(สำนวน) สิตํ ปาตฺวกาสิ(สำนวน)

ยี่โถ        กรวีโร(ปุ.) อสฺสมารโก(ปุ.)

ยึด         คหณํ(นปุ.) คาห(คุณ.) คณฺหาติ(อาข.) อลฺลียติ(อาข.)

ยืนให้ลูกดื่มนม         ปุตฺตํ ปายมานา ฐิตา(สำนวน)

ยืนอยู่        ตฺวา(กิตก์) อฏฺาสิ(อาข.) ติฏฺฐติ(อาข.)

ยืนอ้าปาก         มุขํ วิวริตฺวา ติฏฺฐติ(สำนวน)

ยุค        ยุคํ(นปุ.) ยุโค(ปุ.) กปฺโป(ปุ.)

ยุคทั้ง ๔        กตยุค(นปุ.) เตตายุค(นปุ.) ทฺวาปรยุค(นปุ.) กลิยุค(นปุ.)        

ยุ้ง        โกฏฺโฐ(ปุ.) โกฏฺฐํ(นปุ.) กุสฺโล(ปุ.)

ยุง        สูจิมุโข(ปุ.) มกโส(ปุ.)

ยุติธรรม         ยุติธมฺโม(ปุ.)

ยุยง         ภินฺทติ(อาข.) ปริภินฺทึสุ(อาข.)

ยุให้แตกสามัคคี        เภโท(ปุ.) อุปชาโป(ปุ.)

เย็น        สีตํ(นปุ.) สิสิร(นปุ.) สีตลํ(นปุ.)

เย็บ         สิพฺพติ(อาข.)

เย็บด้วยด้าย         สุตฺตเกน สํสิพฺพติ(สำนวน)

เยียวยา         ติกิจฺฉติ(อาข.) ติกิจฺฉา(อิตฺ.) ปติกริยา(อิตฺ.) ติกิจฺฉา(อิตฺ.) รกฺขติ(อาข.) โคเปติ(อาข.) อารกฺโข(ปุ.) รกฺขนํ(นปุ.) รกฺขิต(กิตก์) เตกิจฺฉา(อิตฺ.) ติกิจฺฉนํ(นปุ.)

เยี่ยววัว         มูตรโค(ปุ.) ปูติมุตฺตํ(นปุ.)

เยื้องกราย         กุตฺตา(อิตฺ.)

เยื่อในกระดูก          อฏฺิมิฺช(นปุ.)

แยก        วิปฺปโยโค(ปุ.) วิปฺปยุตฺต(กิตก์) วิโยชเย(อาข.)

แย้งกัน        วิปฺปลาโป(ปุ.) วิโรโธตฺติ(อิตฺ.)

แย่งชิง         ยุคฺคาโห(ปุ.) วิลุมฺปติ(อาข.) อจฺฉินฺทนฺติ(อาข.) อจฺเฉทนํ(นปุ.) ยุคฺคาโห(ปุ.)

แย่งตำแหน่งกัน         อุปรุปริฏฺฐานปฏิลาภาย ยุคฺคาโห(สำนวน)

แย้มบาน         วิกสิต(กิตก์) ผุลฺล(กิตก์)

โยคี        นิคณฺโฐ(ปุ.) อเจลโก(ปุ.) ทิฆมฺพโร(ปุ.)

โยคีผู้ประเสริฐ         โยคิวโร(ปุ.)

โยชน์ (๔ คาวุต)        โยชนํ(นปุ.)

ร-อักษร

รกชัฏ        คหนํ(นปุ.) กลิลํ(คุณ.)

รกฟ้า         กชฺชุกณฺโณ(ปุ.) ภลฺลี(ปุ.) ภลฺลาตโก(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

รกโลก         โลกชฏิต(กิตก์) โลกวฑฺฒน(นปุ.)

รตนะ(๒ วิทัตถิ)        รตนํ(นปุ.)

รถ        สนฺทโน(ปุ.) รโถ(ปุ.)

รถจักรยานยนต์         วิชฺชุจกฺกรโถ(ปุ.)

รถเทียมม้า         อาชญฺญรโถ(ปุ.)

รถนำเที่ยว        ปุสฺสรโถ(ปุ.) ผุสฺสรโถ(ปุ.)

รถพระที่นั่ง         ปุสฺสรโถ(ปุ.) ราชรโถ(ปุ.)

รถพระอินทร์        เวชยนฺโต(ปุ.)

รถไฟ         ธูมรโถ(ปุ.)

รถยนต์         ยนฺตรโถ(ปุ.) สยํวฏฺฏโก(ปุ.)

รถเรณู (๓๖ ตัชชารี)        รถเรณุ(ปุ.)

รถสามล้อ         ติจกฺกยานํ(นปุ.)

รบ         สงฺคาโม(ปุ.) สมฺปหาโร(ปุ.) สมรํ(นปุ.) สมรํ(นปุ.) อาโยธนํ(นปุ.) รโณ(ปุ.) อาชิ(ปุ.) สํยุโค(ปุ.) อาหโว(ปุ.) ยุทฺธํ(นปุ.)

รบพุ่งกัน         อญฺญมญฺญํ ยุทฺธมกํสุ(สำนวน)

รปภ.        โทวาริโก(ปุ.) ปฏิหาโร(ปุ.) ทฺวารฏฺโฐ(ปุ.) ทฺวารปาลโก(ปุ.)

ร่ม        อาตปตฺตํ(นปุ.) ฉตฺตํ(นปุ.)

รมด้วยถ่าน         องฺคาเรหิ ปจติ(สำนวน)

รวงข้าว         สีสํ(นปุ.) สิโร(ปุ.)

รวงข้าวสาลี        สาลิสีสํ(นปุ.)

รวบรวม         อภิสญฺจยติ(อาข.) อภิสญฺจินาติ(อาข.) อาจินาติ(อาข.) อุปจินาติ(อาข.) อุปรจิต (กิตก์) อุปจิต(กิตก์) อุปจโย(ปุ.) สํหริตฺวา(กิตก์) สงฺฆรติ(อาข.) สงฺคณฺหนํ(นปุ.)

รวบรัด         ปเรต(กิตก์)

รวม         สํสนฺเทตฺวา(กิตก์)

ร่วมกัน         สหภาว(ปุ.)

รวมกันเข้าแล้ว         นิธานคต(คุณ.)

ร่วมกันทำ         เอกโต กโรนฺติ(สำนวน) เอกโต หุตฺวา กโรนฺติ(สำนวน)

รวมกันเป็นพวกๆ         วคฺควคฺคา หุตฺวา(สำนวน)

รวมกำลังเป็นพันธมิตร         สหภาคี(คุณ.)

ร่วมทุกข์ร่วมสุข         สหทุกฺขสุขี(คุณ.)

ร่วมใน         โอรต(กิตก์)

รวมพลัง         พลูปทาต(กิตก์)

ร่วมมือ        สามคฺคึ กโรติ(สำนวน)

รวมลง         โอสรติ(อาข.) สโมสรติ(อาข.)

รส ๖ อย่าง        กสาโว(ปุ.)ฝาด, ติตฺโต(ปุ.)ขม, มธุโร(ปุ.)หวาน, ลวโณ(ปุ.)เค็ม, อมฺพิโล(ปุ.)เปรี้ยว, กฏุโก(ปุ.)เผ็ด

รสกร่อย         ขาริก(คุณ.)

รสขม         ติตฺติก(คุณ.)

รสเปรี้ยว         อมฺพิโล(ปุ.)

รสไม่อร่อย         อมธุร(คุณ.)

รสหวานดอกไม้        มกรนฺโท(ปุ.) มธุ(นปุ.)

ร้อง         รวิ(อาข.) มหาวิรวํ อกาสิ (สำนวน) มหาวิรวํ รวิ(สำนวน)

รองเท้า         อุปาหโน(ปุ.) อุปาหนํ(นปุ.) อุปาหนา(อิตฺ.) ปาทุ(อิตฺ.) ปาทุกา(อิตฺ.)

ร้องลั่น        มหาวิรวํ อกาสิ(สำนวน) มหาวิรวํ รวิ(สำนวน)

ร้องไห้         โรทติ(อาข.) ปริเทวิ(อาข.) กนฺทติ(อาข.) รุทติ(อาข.) โรทิตํ(นปุ.) กนฺทิตํ(นปุ.) รุณฺณํ(นปุ.)

ร้อน         ตปติ(อาข.) ตตฺโต(กิตก์) อุณฺหํ(คุณ.) นิทาฆํ(ปุ.)(นปุ.)

ร้อน (ไฟนรก)        ปริฬาห(ปุ.) สนฺตาป(ปุ.) ฑาโห(ปุ.)

ร้อนใจ        ปริฬาห(ปุ.) สนฺตาป(ปุ.) สนฺตาโห(ปุ.)

ร้อนใน        ทวถุ(ปุ.) ปริตาโป(ปุ.)

ร้อนระอุ         สนฺตาปนํ(นปุ.)        

รอบคอ         คีวา(อิตฺ.)

รอบคอบ         โยนิโส ปจฺจเวกฺขติ(สำนวน)  โยนิโส นิสมฺม(สำนวน)

รอบคอบในการทำงาน         กมฺมนฺเตสุ นิสมฺมกรณํ(สำนวน)

ร้อยกรอง        สงฺคีติ(อิตฺ.)

รอยเจิม        วิเสสโก(ปุ.)(นปุ.) ติลโก(ปุ.)(นปุ.) จิตฺตกํ(นปุ.)

รอยไถ        สีตา(อิตฺ.) หลปทฺธติ(อิตฺ.)

รอยเท้า         ปาทานุปาทํ(นปุ.)

ร้อยเท่าพันทวี         สตคุณ(คุณ.) สหสฺสคุณ(คุณ.)

ร้อยรัด         ปลิพุธติ(อาข.) คณฺฐติ(อาข.)

รอเวลา         เวลํ อาคมยมาโน(สำนวน) กาลํ อาคมยเต(สำนวน)

ระคน          สํสคฺค(ปุ.) สํสฏฺฐ(กิตก์)

ระฆัง         คณฺฑิ(อิตฺ.)

ระงับ         วูปสเมติ(อาข.) อุปสนฺต(กิตก์)  ปฏิปสฺสทฺธ(กิตก์) ปฏิปสฺสมฺเภติ(อาข.) อุปสนฺต(กิตก์) สนฺติ(อิตฺ.) สมโถ(ปุ.) สโม(ปุ.) สนฺต(กิตก์) สมิต(กิตก์) วูปสเมติ(อาข.)

ระดมพล         พฺยูโห(ปุ.)

ระดูของหญิง        อุตุ(ปุ.) รโช(ปุ.) ปุปฺผํ(นปุ.)

ระบุชื่อ         นามานิ คเหตฺวา(สำนวน) นามานิ ลิขิตฺวา(สำนวน)

ระเบียง        ปฆาโณ(ปุ.) ปฆโณ(ปุ.) อาลินฺโท(ปุ.) ปมุขํ(นปุ.) ทฺวารพนฺธนํ(นปุ.)

ระเบียบการปกครอง         ปสาสนวิธิ(ปุ.) ปสาสโนปาโย(ปุ.)

ระเบียบวิธีการ         ตนฺติ(อิตฺ.) วิธานํ(นปุ.)

ระลอกคลื่น         อูมิ(อิตฺ.) วีจิ(อิตฺ.)

ระลึกถึง         อนุสฺสริตฺวา(กิตก์) สริตฺวา(กิตก์) อาวชฺชิตฺวา(กิตก์)

ระแวง         อาสงฺกํ(ปุ.)(นปุ.) วิมติ(อิตฺ.)

ระหว่าง         อนฺตรา(นิปาต) อพฺภนฺตรํ(นิปาต) อนฺตรํ(นิปาต)

รัก        ปิยายิต(กิตก์) เมตฺตา(อิตฺ.) เปม(ปุ.)(อิตฺ.) พนฺธเปม(คุณ.) สิเนโห(ปุ.) เสฺนโห (ปุ.) อนุราค(คุณ.) เมตฺตายติ(อาข.) เปมํ พนฺธติ(สำนวน) ปิยายติ(อาข.)       ปิยายนฺต(กิตก์) ปิเหติ(อาข.)

รักใคร่นับถือคุ้นเคยกัน         ภชติ(อาข.) เสวติ(อาข.) มาเนติ(อาข.) วิสฺสาสมาปชฺชติ(สำนวน)

รักร่วม        สมฺโภโค(ปุ.)

รักร้าง        วิโยโค(ปุ.)

รักแร้        พาหุมูลํ(นปุ.) กจฺโฉ(ปุ.)(อิตฺ.)

รักษา        ติกิจฺฉติ(อาข.) รกฺขติ(อาข.) โคเปติ(อาข.) อารกฺโข(ปุ.) รกฺขนํ(นปุ.) รกฺขิต (กิตก์) เตกิจฺฉา(อิตฺ.) ติกิจฺฉนํ(นปุ.) ปาเลติ(อาข.)

รักษาพยาบาล         คิลานานํ โรคติกิจฺฉนํ(สำนวน)

รักษาร่างกาย        สุฏฺฐุ อตฺตภาวํ ปฏิชคฺคิ(สำนวน)

รักษาโรค         ติกิจฺฉติ(อาข.)

รักษาไว้ซึ่งคนทรงธรรม         ธมฺมธารึ ธาเรติ(สำนวน)

รักษาศีลให้เป็นไปด้วยดี         สีลานิ อขณฺฑานิ อฉิทฺทานิ อสพลานิ อกมฺมาสานิ ภุชิสฺสานิ วิญฺญุปสฏฺฐานิ สมาธิสํวตฺตนิกานิ กตฺวา รกฺขติ(สำนวน)

รักสุข         สุขกาม(คุณ.)

รักสุขเกลียดทุกข์         สุขกามา โหนฺติ ทุกฺขปฏิกูลา(สำนวน)

รัง        ลาโล(ปุ.) อสฺสกณฺโณ(ปุ.) สชฺโช(ปุ.)        

รังแก         ปสยฺโห(ปุ.) หโฐ(ปุ.)

รังนก        นีโฬ(ปุ.)(อิตฺ.) กุลาวก(ปุ.)(นปุ.)

รัฐ        รฏฺฐํ(นปุ.)

รัฐบาล         มหาราชสฺส ปรมาภิเธยฺเยน ทยฺยรฏฺฐปาลี(สำนวน)

รัฐประศาสนศาสตร์         รฏฺฐาภิปาลโนปาโย(ปุ.)

รัฐมนตรี        มติสจิโว(ปุ.) สชีโว(ปุ.) สจิโว(ปุ.) อมจฺโจ(ปุ.) มนฺตินิ(ปุ.)                

รัฐศาสตร์        ทณฺฑนีติ(อิตฺ.)

รัตนโกสินทร์        รตนโกสินฺทปุร(นปุ.)

รัตนะ ๗ ชนิด        สุวณฺณํ(นปุ.)ทองคำ รชตํ(นปุ.)เงิน มุตฺตา(อิตฺ.)แก้วมุกดา มณิ(อิตฺ.)แก้วมณี  เวฬุริยํ(นปุ.)แก้วไพทูรย์ วชิรํ(นปุ.)เพชร ปวาฬํ(นปุ.)แก้วประพาฬ

รัตนะ        วสุ(นปุ.) รตนํ(นปุ.) มณิ(ปุ.)(อิตฺ.)

รับ (สิ่งของ)         ปฏิคฺคณฺหาติ(อาข.) คณฺหาติ(อาข.)

รับคำ        ปฏิญฺญา(อิตฺ.) ปฏิสฺสโว(ปุ.) ปฏิสุณาติ(อาข.) สมฺปฏิจฺฉติ(อาข.)        

รับเชิญ        อธิวาเสติ(อาข.)

รับใช้         เปสนํ(นปุ.) อชฺฌาวโร(ปุ.)

รับทุกสิ่งทุกอย่าง         สพฺพหารก(คุณ.)

รับนิมนต์        อธิวาเสติ(อาข.)

รับประเคน        ปริคฺคณฺหาติ(อาข.)

รับผิดชอบต่อหน้าที่         อนิกฺขิตฺตธุร(คุณ.)

รับมอบหน้าที่         นิยฺยาทิตกิจจ(คุณ.)

รับรอง         ปฏิมาเนตฺวา(กิตก์) สมฺมาเนตฺวา(กิตก์)

รับรู้ทุกสิ่ง        สพฺพหารก(คุณ.)

รั้ว         อวหาริกา(อิตฺ.) อุทฺทามํ(นปุ.) วติ(อิตฺ.)

รัศมี        รํสิ(อิตฺ.) อาภา(อิตฺ.) ปภา(อิตฺ.) ทิตฺติ(อิตฺ.) รุจิ(อิตฺ.) ภา(อิตฺ.) ชุติ(อิตฺ.) ทีธิติ (อิตฺ.) มรีจิ(อิตฺ.) ภาณุ(ปุ.)(อิตฺ.) อํสุ(ปุ.)(อิตฺ.) มยูโข(ปุ.) กิรโณ(ปุ.) กโร(ปุ.)

ราก        พุนฺโท(ปุ.) มูลํ(นปุ.) ปาโท(ปุ.)

รากบัว        มุฬาโล(ปุ.)(นปุ.)

รากไม้         มูลํ(นปุ.)

ราคา         อคฺฆํ(นปุ.) มูลํ(นปุ.) ปาภตํ(นปุ.)

ราคาแพง         มหคฺฆํ(นปุ.)

ร่างกาย         กาโย(ปุ.) เทโห(ปุ.) อตฺตภาโว(ปุ.) คตฺต(ปุ.)(นปุ.) สรีรํ(นปุ.) กเฬวโร(ปุ.) องฺคํ(นปุ.) อวยวํ(นปุ.)

รางน้ำ        อาหาโว(ปุ.) นิปานํ(นปุ.)

รางวัล         ภติ(อิตฺ.) ภตฺตเวตนํ(นปุ.) มูลํ(นปุ.) นิพฺเพโส(ปุ.) เวตนํ(นปุ.) มูลฺยํ(นปุ.) เวตนํ (นปุ.) ปุณฺณปตฺโต(ปุ.) ตุฏฺฐิทาโย(ปุ.)

ราชกกุธภัณฑ์ ๕ อย่าง        ขคฺโค(ปุ.)พระขรรค์, ฉตฺตํ(นปุ.)ฉัตร, อุณฺหีสํ(นปุ.)อุณหิส, ปาทุกา(อิตฺ.)ฉลองพระบาท, วาลวีชนี(อิตฺ.)พัด

ราชทูต         ราชทูโต(ปุ.) สนฺเทสหโร(ปุ.)

ราชปรปักษ์        สตฺตุ(ปุ.)

ราชพฤกษ์        อุทฺทาโล(ปุ.) วาตฆาตโก(ปุ.) ราชรุกฺโข(ปุ.) กตมาโล(ปุ.) อินฺทีวโร(ปุ.)        พฺยาธิฆาตโก(ปุ.)

ราชมิตร        มิตฺโต(ปุ.)

ราชวงศ์จักรี         จกฺกิวํโส(ปุ.)

ราชศักดา        ปภาวุ(ปุ.)อำนาจเต็มที่, อุสฺสาโห(ปุ.)มีวิริยภาพ, มนฺโต(ปุ.)มีกุนซือเก่ง

ราชสดุดี         มหาราชสฺสาภิถุติ(อิตฺ.)

ราชสมบัติ         รชฺชสมฺปตฺติ(อิตฺ.)

ราชสำนัก         ราชุปฏฺฐานํ(นปุ.)

ราชสีห์        มิคินฺโท(ปุ.) เกสรี(ปุ.) สีโห(ปุ.)

ราชหงส์        ราชหํโส(ปุ.)

ราชองครักษ์         อณีกฏฺโฐ(ปุ.) องฺครกฺขโก(ปุ.)

ราชินี         มหาเทวี(อิตฺ.) อคฺคเทวี(อิตฺ.) ราชินี(อิตฺ.)

ร้านขายเครื่องดื่ม        ปานมนฺทิร(นปุ.)

ร้านขายยา         เภสชฺชาคาโร(ปุ.) เภสชฺชาคารํ(ปุ.)

ร้านขายหนังสือ         ปตฺถกาคารํ(ปุ.)(นปุ.)

ร้านขายอาหาร         โภชนาคารํ(ปุ.)(นปุ.)

ร้านตัดผม        นหาปิตสาลา(อิตฺ.) กปฺปกสาลา(อิตฺ.)

ร้านถ่ายรูป        ฉายารูปสาลา(อิตฺ.)

ร้านยา        เภสชฺชาคาร(ปุ.)(นปุ.)

ร้านสุรา        โสณฺฑา(อิตฺ.)

ร้านหนังสือ        ปตฺถกาคาร(ปุ.)(นปุ.)

ร้านอาหาร        โภชนาคาร(ปุ.)(นปุ.)

ร้ายกาจ         สาหสิก(คุณ.)

ร่ายมนต์         มนฺตํ ปริชปฺปติ(สำนวน)

ร่าเริง         ปสนฺนมานส(คุณ.) หฏฺฐปฺปฏฺฐ(คุณ.) ตุฏฺฐจิตฺต(คุณ.) สุมน(คุณ.) ปสนฺนจิตฺต(คุณ.) วิปฺปสนฺน(คุณ.) อุทคฺคุทุคฺค(คุณ.) ลคฺคจิตฺต(คุณ.) ตุฏฺฐมานส(คุณ.) หาโส(ปุ.) หสติ(อาข.) หฏฺฐ(คุณ.) ปหฏฺฐ(คุณ.) หสนํ(นปุ.) หสิตํ(นปุ.)

ราวกะ        อิว(นิปาต)  วิย(นิปาต)  ยถา(นิปาต)

ราวป่า         วนสณฺโฑ(ปุ.)

ราหู        โสพฺภาณุ(ปุ.) ราหุ(ปุ.)

รำข้าว        กโณ(ปุ.) กุณฺฑโก(ปุ.)(นปุ.)

รำพัน        วิลาโป(ปุ.)

รำพึง         อารพฺภ(กิตก์)

ร่ำรวย         คหปติก(คุณ.) ธนวนฺตุ(คุณ.)

ร่ำไร         ปริเทวิตฺถ(อาข.)

ริดสีดวงงอก        ทุนฺนามกํ(นปุ.) อริสํ(นปุ.) ภคนฺทลา(อิตฺ.)

ริ้น         มกโส(ปุ.) สูจิมุโข(ปุ.)

ริมฝีปาก        ทนฺตาวรณํ(นปุ.) โอฏฺโฐ(ปุ.) อธโร(ปุ.) ทสนจฺฉโท(ปุ.)

ริมฝีปากล่าง         อธโรฏฺโฐ(ปุ.)

ริษยา         อุสฺสยติ(อาข.) อุสูยติ(อาข.) อิสฺสติ(อาข.) อิสฺสา(อิตฺ.) อุสูยา(อิตฺ.)

ริษยาผู้อื่น         ปเร อุสฺสูยนฺต(กิตก์) วิเหเฐนฺต(กิตก์)

รีบด่วน         อจฺจายิกภูต(คุณ.)

รื้อ         วิทฺธํสติ(อาข.) วิทฺธํสาเปตฺวา(กิตก์)

รุกฆาต         ทณฺโฑ(ปุ.) สาหสํ(นปุ.) ทโม(ปุ.)

รุกรบ        ทณฺโฑ(ปุ.) สาหสํ(นปุ.) ทโม(ปุ.)

รุกราน         อวสาเทติ(อาข.)

รุ้งกินน้ำ        อินฺทาวุธํ(ปุ.) อินฺทธนุ(ปุ.)

รุ่งเรือง         โชตติ(อาข.) ทิปฺปติ(อาข.)

รุ่งโรจน์         สมฺปชฺชลิต(กิตก์)

รู้         ชานาติ(อาข.) พุชฺฌติ(อาข.) ปพุชฺฌติ(อาข.) ญตฺวา(กิตก์) ชานิตฺวา(กิตก์)     วิทิตฺวา(กิตก์) ญาต(กิตก์) วิทิต(กิตก์) ชานิต(กิตก์) ญาณํ(นปุ.) ชานนํ(นปุ.) พุทฺธิ(อิตฺ.)

รู        รนฺธํ(นปุ.) วิวรํ(นปุ.) ฉิทฺทํ(นปุ.) กุหรํ(นปุ.) สุสิรํ(นปุ.) พิลํ(นปุ.) สุสิ(อิตฺ.) ฉิคฺคลํ(นปุ.) โสพฺภํ(นปุ.)

รู้จัก         ชานนภาโว(ปุ.)

รู้จักประมาณในการใช้จ่าย         ปริโภเค มตฺตญฺญู(สำนวน)

รู้จักพอ         มตฺตญฺญุตาสงฺขาโต สนฺโตโส(ปุ.)

รู้แจ้ง        พุทฺธ(คุณ.) ญาต(คุณ.) ปฏิปนฺน(คุณ.) วิทิต(คุณ.) อวคต(คุณ.) มต(คุณ.)

รู้ตัว         สมฺปชญฺญ(นปุ.)

รู้ทันเหตุการณ์         การณิก(คุณ.) ปริกฺขก(คุณ.)

รู้ทิ้ง         ธุรนิกฺเขปโกสลฺลํ(นปุ.)

รูป         รูปํ(นปุ.)

รูปดวงจันทร์        พิมฺพํ(นปุ.) มณฺฑลํ(นปุ.)

รูปทรง         สณฺฐานํ(นปุ.)

รูปเทียม        ปฏิมา(อิตฺ.) ปฏิพิมฺพํ(นปุ.) พิมฺโพ(ปุ.) ปฏินิธี(ปุ.)

รูปเปรียบ         ปฏินิธิ(นปุ.) ปฏิมา(อิตฺ.) พิมฺพํ(นปุ.) ปฏิพิมฺพํ(นปุ.)

รู้ประมาณ         มตฺตญฺญู(ปุ.)

รูปร่างเล็ก         จูฬ(คุณ.) อณุ(คุณ.)

รูปหล่อ         ปฏิมา(อิตฺ.)

รูปเหมือน        ปฏิมา(อิตฺ.)

รู้ภาษาบาลี         ปาลิภาสาชนนก(คุณ.)

รู้มากเกิน         อติเรกสุตสมฺปนฺน(คุณ.)

รู้แล้วปฏิบัติตาม         อตฺถมญฺญาย ธมฺมญาย ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน(สำนวน)

รู้สึกต่อหน้าที่ที่จะพึงทำ         กตฺตพฺพกิจฺจานิ มญฺญนฺติ(สำนวน)

รู้สึกปลาบปลื้ม         สมฺโมทติ(อาข.)

เร็ว         สีฆํ(นิปาต) ตุริตํ(นิปาต) ลหุ(นปุ.) อาสุ(นิปาต) ตุณฺณํ(นิปาต) อรํ(นิปาต)อวิลมฺพิตํ(นิปาต) ตุวฏํ(นิปาต) สีฆสีฆํ(นิปาต) ขิปฺปํ(นิปาต) ตุริตตุริตํ(นิปาต)

เรอ         อุเทฺรโก(ปุ.) อุคฺคาโร(ปุ.)

เราขอเตือน         อามนฺตยามิ(อาข.)

เร่าร้อน         ทรโถ(ปุ.) โรค(ปุ.) ฑาโห(ปุ.) สนฺตตฺต(กิตก์)

เร่าร้อนกายใจ         ปริฬาโห(ปุ.) สนฺตาโป(ปุ.)

เร่าร้อนใจ        จิตฺตปริฬาโห(ปุ.)        

เราอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว         วุสิตํ เม พฺรหฺมจริยํ(สำนวน)

เริงรื่นชื่นชม         อุทคฺคุทคฺค(คุณ.) หฏฺฐปฺปหฏฺฐ(คุณ.)

เริ่ม         อารพฺภ(กิตก์)

เริ่มต้น         นิทานํ(นปุ.)

เริ่มตั้ง         ปทหิตฺวา(กิตก์) ปฏฺฐเปตฺวา(กิตก์)

เรียก        ปกฺโกสติ(อาข.) อามนฺเตติ(อาข.) อาลปติ(อาข.)

เรียน         ปริยาปุต(กิตก์) อุคฺคหิต(กิตก์) อุคฺคหณํ(นปุ.) อุคฺคณฺหณํ(นปุ.) สิกฺขา(อิตฺ.)    ปริยตฺติ(อิตฺ.) ปริยาปุณาติ(อาข.) อุคฺคณฺหาติ(อาข.)

เรียนพระปริยัติธรรมจบ         ปริยตฺติปารคู(คุณ.)

เรียนสำเร็จ         สิปฺปานํ นิปฺผตฺตึ ปตฺโต(สำนวน) สิปฺปานํ อนฺตมนฺตคู(สำนวน) สิปฺปานํ อนฺตํ ปารคู(สำนวน)

เรียนอภิธรรมจบ         อภิธมฺมญาต(กิตก์)

เรี่ยราด        สํกิณฺณ(กิตก์)(คุณ.) อากิณฺณ(กิตก์)(คุณ.) สํกุล(กิตก์)(คุณ.)

เรี่ยวแรง        พลํ(นปุ.) ถาโม(ปุ.) สหํ(นปุ.)  สตฺติ(อิตฺ.) ปรกฺกโม(ปุ.)

เรือ        ตรณี(อิตฺ.) ตริ(อิตฺ.) นาวา(อิตฺ.)

เรือโกลน        โทณี(อิตฺ.) อมฺมณํ(นปุ.)

เรื่อง         วตฺถุ(นปุ.) กถา(อิตฺ.) อธิการ(ปุ.)(นปุ.) อธิกรณํ(นปุ.)

เรื่องกระทบกระทั่ง         อาฆาตวตฺถุ(นปุ.)

เรื่องความพร้อมเพรียง         สามคฺคีกถา(อิตฺ.)

เรื่องราว         ปวตฺติ(อิตฺ.) กถา(อิตฺ.)

เรื่องราวต่างๆ         นานาการณํ(นปุ.)

เรื่องให้กระทบกระทั่ง         อาฆาตวตฺถูนิ(นปุ.)

เรื่องอนุรักษ์ภาษาไทย         ทยฺยภาสารกฺขกถา(อิตฺ.)

เรื่องอื่น         อธิการนฺตรํ(นปุ.)

เรือดำน้ำ         อนฺโตทกนาวา(อิตฺ.)

เรือเดินทะเล        สามุทฺทิกนาวา(อิตฺ.)

เรือน        เคห(นปุ.) อคาร(นปุ.) ฆร(นปุ.) มนฺทิรํ(นปุ.) สทนา(อิตฺ.) นิกาโย(ปุ.) นิลโย(ปุ.) อาลโย(ปุ.) อาวาโส(ปุ.) อคารํ(นปุ.)(ปุ.) ภวนํ(นปุ.) เวสฺมํ(นปุ.) นิเกตนํ(นปุ.)  นิเวสนํ(นปุ.) คหํ(นปุ.) อาวสโถ (ปุ.) สรณํ(นปุ.) สทุมํ(ปุ.)(นปุ.)

เรือนจัตุรัส        ปาสาโท(ปุ.)

เรือนจำ        พนฺธนาคาร(ปุ.)(นปุ.) การา(อิตฺ.

เรือนไฟ        ชนฺตาฆรํ(นปุ.)

เรือนมุงแถบเดียว        อฑฺฒโยโค(ปุ.)

เรือนยอดเดียว        มาโฬ(ปุ.)

เรือพ่วง         ปจฺฉาพนฺโธ(ปุ.) โคฏวิโส(ปุ.)

เรือยนต์         ยนฺตนาวา(อิตฺ.)

เรืออับปาง         ภินฺนา นาวา(สำนวน)

แร่         พีชํ(นปุ.)

แรก         ปฐม(คุณ.) ตาว(นิปาต) อาทิ(คุณ.)

แรกครองราชย์         ปฐมาภิเสกปตฺต(คุณ.)

แร้ง        คิชฺโฌ(ปุ.) คทฺโธ(ปุ.)

แรงกล้า         ติกฺข(คุณ.) ภุส(คุณ.) ติพฺพ(คุณ.)

แรด        ขคฺโค(ปุ.) ขคฺควิสาโณ(ปุ.) ปลาสาโท(ปุ.) คณฺฑโก(ปุ.)

แร่ทองแดง         ตมฺพโลหพีชํ(นปุ.)

แร่ธาตุ        กุปฺปํ(นปุ.) ธาตุ(ปุ.)

แร้ว        พนฺธนํ(นปุ.) คณฺฐิปาโส(ปุ.)

โรค        อาตงฺโก(ปุ.) อามโย(ปุ.) พฺยาธิ(ปุ.) คโท(ปุ.) โรโค(ปุ.) รุชา(อิตฺ.) เคลญฺญํ(นปุ.) อกลฺลํ(นปุ.) อาพาโธ(ปุ.)

โรคกลาก         กิลาโส(ปุ.) กณฺฑุวนํ(นปุ.) ขชฺชุ(อิตฺ.) กณฺฑูวนํ(นปุ.)

โรคจุกเสียด         วาตสูลํ(นปุ.)

โรคใจ         กิเลสโรโค(ปุ.)

โรคดีซ่าน         ปณฺฑุโรโค(ปุ.)

โรคต่อมเล็กๆ        กณฺฑู(อิตฺ.) กณฺฑุติ(อิตฺ.) กณฺฑูยา(อิตฺ.)

โรคตะคิว        สูลา(อิตฺ.)

โรคเท้าช้าง        สีปทํ(นปุ.) ภารปาทตา(อิตฺ.)

โรคน้อย         อปฺปาพาธ(ปุ.) อปฺปาตงฺก(ปุ.)

โรคบิด         ปกฺขนฺทิกา(อิตฺ.) อติสาโร(ปุ.)

โรคเบาหวาน         มธุเมโห(ปุ.) พหุมุตฺตโรโค(ปุ.)

โรคผอม        ชโร(ปุ.)

โรคผอมแห้ง        โสโส(ปุ.) ขโย(ปุ.)

โรคผิวหนัง         ฉวิโรโค(ปุ.)

โรคฟัน         ทนฺตโรโค(ปุ.)

โรคไม่พอ         โลภสงฺขาตโรโค(ปุ.)

โรคเรื้อน        กุฏฺฐํ(นปุ.)

โรคลงแดง         ปกฺขนฺทิกา(อิตฺ.) อติสาโร(ปุ.) สาโร(ปุ.) ปกฺขนฺทิกา(อิตฺ.)

โรคลมบ้าหมู         อปมาโร(ปุ.) อปสฺมาโร(ปุ.)

โรคหืด        สาโส(ปุ.)

โรคหู         กณฺณโรโค(ปุ.) โสตโรโค(ปุ.)

โรคอัมพาต         ปกฺขฆาตโรโค(ปุ.)

โรคไอ        กาโส(ปุ.)

โรง         สาลา(อิตฺ.) อคฺคํ(นปุ.)

โรงกระเดื่อง         ปิฏฺฐิวํสํ(นปุ.)

โรงเก็บน้ำดื่ม        ปปา(อิตฺ.)

โรงเก็บพัสดุ        อุทฺโทสิโต(ปุ.)

โรงโกน        ขุรคฺคํ(นปุ.)

โรงครัว         มหานโส(ปุ.)(นปุ.) ภตฺตคฺคํ(นปุ.) อาสนสาลา(อิตฺ.) รสวตี(อิตฺ.) ปากฏฺฐานํ(นปุ.)

โรงฆ่า        อาฆาตนํ(นปุ.) อาฆาตํ(นปุ.) วธฏฺฐานํ(นปุ.)

โรงงาน         กมฺมนฺตสาลา(อิตฺ.)

โรงทอผ้า         เปสการสาลา(อิตฺ.)

โรงพยาบาล         อาโรคฺยสาลา(อิตฺ.) คิลานสาลา(อิตฺ.) เคลญฺญุปนูทนสาลา(อิตฺ.)

โรงพยาบาลบ้า        อุมฺมตฺตกาลย(ปุ.) อุมฺมตฺตกสาลา(อิตฺ.)

โรงภาพยนต์         นจฺจฉายารูปสาลา(อิตฺ.) นาฏกสาลา(อิตฺ.)

โรงเรียน         ปาฐสาลา(อิตฺ.) สิกฺขาคาโร(ปุ.)

โรงเรียนนายร้อย         เสนายกานํ โยธานํ สิกฺขาคาโร(สำนวน) เสนายกานํ สิกฺขาคาโร(ปุ.) โยธานํ  สิกฺขาคาโร(ปุ.)

โรงแรม         ปาถิกสาลา(อิตฺ.) อิทฺธิกสาลา(อิตฺ.)

โรงสาก         มุสลสาลา(อิตฺ.)

โรงสุรา        โสณฺฑา(อิตฺ.)

โรงอาหาร         ภตฺตคฺคํ(นปุ.) ภตฺตสาลา(อิตฺ.)

ไร่        เขตฺตํ(นปุ.)

ไร้ที่พึ่ง         ทลิทฺท(คุณ.) อปฺปฏินิสฺสร(คุณ.)

ไร้ประโยชน์        นิรตฺถก(คุณ.) โมฆ(คุณ.)

ไร่ป่า        เลขา(อิตฺ.) ราชิ(อิตฺ.)

ไร้อำนาจ        วิวส(คุณ.) อวส(คุณ.)

ฤดู        อุตุ(ปุ.)(อิตฺ.)

ฤดูน้ำค้าง        เหมนฺโต(ปุ.)

ฤดูใบไม้ผลิ        วสนฺโต(ปุ.)

ฤดูฝน        วสฺสาโน(ปุ.) วสฺโส(ปุ.) ปาวุโส(ปุ.)        

ฤดูร้อน        อุณฺโห(ปุ.) นิทาโฆ(ปุ.) คิมฺโห(ปุ.)

ฤดูแล้ง        นิทาโม(ปุ.)

ฤดูหนาว         สีตกาล(ปุ.) สิสิรํ(นปุ.)

ฤดูอับลม        สรโท(ปุ.)

ฤษี        ตาปโส(ปุ.) อิสิ(ปุ.)

ฤษีผู้แต่งมนต์        อฏฺฐโก(ปุ.) วามโก(ปุ.) วามเทโว(ปุ.) องฺคีรโส(ปุ.) ภคุ(ปุ.) ยมทคฺคิ(ปุ.)      วาเสฏฺโฐ(ปุ.) ภารทฺวาโช(ปุ.) กสฺสโป(ปุ.) เวสฺสามิตฺโต(ปุ.)

ล-อักษร

ลง        โอตริตฺวา(กิตก์) โอรุยฺห(กิตก์)

ลงคะแนนเลือกตั้ง        อตฺตโน อตฺตโน ธุรคฺคาหกานํ ลกฺขํ ปวิจนเน(สำนวน)

ลงจากที่สูง         โอรุยฺห(กิตก์)

ลงท้อง        วิสูจิกา(อิตฺ.) มหาวิเรโก(ปุ.)

ลงท้าย         นิคมํ(นปุ.)(คุณ.)

ลงน้ำ         โอตฺตริตฺวา(กิตก์)

ลงอาชญา         อาณากมฺมํ(นปุ.)

ลดราคา         อคฺฆํ โอหาเรติ(สำนวน) อคฺฆํ ปริหาเรติ(สำนวน)

ลบ         ปุญฺฉนํ(นปุ.)

ลพบุรี        ลพฺพปุรํ(นปุ.) ลโว(ปุ.)

ล้ม         ปตติ

ลม        มาลุโต(ปุ.) ปวโน(ปุ.) วายุ(ปุ.) วาโต(ปุ.)(นปุ.) สมีรโณ(ปุ.) คนฺธวาโห(ปุ.) วาโย(ปุ.) สมีโร(ปุ.) สทาคติ(ปุ.) อนิโล(ปุ.)

ลมทั่วไป        วาโต(ปุ.)(นปุ.)

ลมในกาย        อุทฺธํคโม(ปุ.) อโธคโม(ปุ.) กุจฺฉิฏฺโฐ(ปุ.) โกฏฺฐาสโย(ปุ.) อสฺสาโส(ปุ.)        องฺคานุสารี(ปุ.)

ลมปราณ        ปาณํ(นปุ.)

ลมพัดเข้าไม่ได้         นิวาต(ปุ.)(นปุ.)

ลมพายุ         มหาวลาหโก(ปุ.) วายุ(ปุ.)        

ลมหายใจ(เข้า-ออก)        อสฺสาส(ปุ.) ปสฺสาส(ปุ.)

ลมหายใจเข้า        อปานํ(นปุ.) ปสฺสาโส(ปุ.)

ลมหายใจออก        อสฺสาโส(ปุ.) อานํ(นปุ.)

ล่วง         อติ(อุป.) อธิ(อุป.) ปตติ(อาข.) ปติตฺวา(กิตก์)

ลวง        อภิวญฺจนํ(นปุ.) วญฺเจติ(อาข.) วญฺจติ(อาข.)

ล่วงกาลผ่านวัยไป         คตโยพฺพน(คุณ.) วโยวุฑฺฒ(คุณ.)

ล่วงเกิน         อจฺจโย(ปุ.)

ล่วงละเมิด        วีติกฺกโม(ปุ.) อชฺฌาจาโร(ปุ.)

ล่วงเลย        อติกฺกนฺต(กิตก์) วีติกฺกนฺต(กิตก์) อตีต(กิตก์) ปวตฺต(นปุ.)

ล้อ        จกฺกํ(นปุ.)

ล๊อค        ยนฺตกํ เทติ(สำนวน)  กุญฺจิกํ เทติ(สำนวน)

ล้อม        รุทฺธ(คุณ.) สํวิต(คุณ.) อาวุต(คุณ.) ปริกฺขิตฺต(คุณ.) นิวุต(คุณ.)

ล้อมไว้         ปริวาเรสิ(อาข.)

ลอย         พาหติ(อาข.) พาหิต(กิตก์) วาหิต(กิตก์) วหนํ(นปุ.)

ลอยขึ้นไป         อุคฺคจฺฉติ(อาข.)

ล้อเลียน         อนุชคฺฆติ(อาข.)

ละ         หีน(กิตก์) ปหีน(กิตก์) ปชหิตฺวา(กิตก์ ปหาย(กิตก์) โอหาย(กิตก์) หิตฺวา(กิตก์) วิชหิ(อาข.) ชหิตฺวา(กิตก์)

ละความใยดีในชีวิต         ชีวิตกนฺตึ ชหติ(สำนวน)

ละทิ้ง         ปหาย(กิตก์) โอหาย(กิตก์) หิตฺวา(กิตก์) โวสฺสคฺค(คุณ.) จตฺตํ(คุณ.) หีน(คุณ.) สมุชฺฌิต(คุณ.)

ละมั่ง         สารงฺโค(ปุ.) กุรุงฺโค(ปุ.) กุรงฺโค(ปุ.) โรหิโส(ปุ.) โรหิโต(ปุ.) อชินโยนิ(อิตฺ.)

ละเมาะป่า         วนคุมฺโพ(ปุ.)

ละร่าง         วิชหิ(อาข.) ชหิตฺวา(กิตก์)

ละสายตา         วิชหิ(อาข.) ชหิตฺวา(กิตก์)

ละหุ่ง        เอรณฺโฑ(ปุ.) อามณฺโฑ(ปุ.)

ละอองดอกไม้        ปราโค(ปุ.)

ละอาย         ลชฺชติ(อาข.) หรายติ(อาข.) ชิต(คุณ.) หีฬิต(คุณ.) ลชฺชา(อิตฺ.) หิริ(อิตฺ.)

ละเอียด         นิปุณ(คุณ.)

ละเอียดอ่อน         สุขุมาล(คุณ.) โกมล(คุณ.) สุกุมาร(คุณ.)

ลักขโมย         อวหริ(อาข.) หรติ(อาข.) หริตฺวา(กิตก์)

ลัญจกร         มุทฺทา(อิตฺ.)

ลัทธิ         ทสฺสนํ(นปุ.) ทิฏฺฐิ(อิตฺ.) ลทฺธิ(อิตฺ.) สิทฺธนฺต(ปุ.) สมโย(ปุ.)

ลัทธิมหายาน         มหายานลทฺธิ(อิตฺ.)

ลับหลัง        ปรมฺมุขา(นิปาต)

ลับให้คม        นิสิต(คุณ.) เตชิต(คุณ.)

ลับอยู่         นิสิณาติ(อาข.)

ลา         คทฺรโภ(ปุ.) ขโร(ปุ.)

ลากมา         อติกสฺสติ(อาข.) อากฑฺฒิตฺวา(กิตก์)

ล้าง         โธต(กิตก์) โธติ(อาข.) โธวติ(อาข.) โธวิตฺวา(กิตก์) ปยต(กิตก์) โธวิต(กิตก์)

ลาด        อตฺถรติ(อาข.) อตฺถต(กิตก์)

ล้าน        ทสสตสหสฺสํ(นปุ.)

ลาน        อชิรํ(นปุ.) จจฺจรํ(นปุ.) องฺคณํ(นปุ.)

ลานข้าว        ขโล(ปุ.) ธญฺญกรณํ(นปุ.)

ล่าเนื้อ         มิคเวธํ(นปุ.) มิคเวธนํ(นปุ.)

ลาภสักการะ         ลาภสกฺกาโร(ปุ.)

ลามก        ลามก(คุณ.) ปาป(คุณ.)(นปุ.)

ลายเซ็น         หตฺถลญฺฉนํ(นปุ.)

ลาสิกขา         อุปพฺพชติ(อาข.) อุปฺปพฺพชิตฺวา(กิตก์) วิพฺภมติ(อาข.) วิพฺภมิตฺวา(กิตก์) หีนาย อาวตฺตติ(สำนวน) หีนาย อาวตฺติตฺวา(สำนวน)

ล้าหลัง         โอสกฺกนํ(นปุ.)

ล้ำ        ภุสํ(นิปาต)(คุณ.) อติสโย(ปุ.) ทฬฺหํ(นิปาต) ติพฺพ(คุณ.) เอกนฺตํ(นิปาต) อติมตฺต(นิปาต) พาฬฺหํ(นิปาต) อุกฺกฏฺฐ(คุณ.) ปกฏฺฐ(คุณ.)

ลำคอ         คีวา(อิตฺ.) กณฺธรา(อิตฺ.) สิโรธรา(อิตฺ.)        

ลำดับ        อนุกฺกโม(ปุ.) อนุปุพฺพิ(นปุ.) อนุปุพฺพํ(นปุ.) ปฏิปาฏิ(อิตฺ.) อนุกฺกโม(ปุ.) ปริยาโย(ปุ.) อนุปุพฺพี(อิตฺ.)(นปุ.) กโม(ปุ.)

ลำดับบุคคล        ปฏิปาฏิ(อิตฺ.)        

ลำต้น        กณฺโฑ(ปุ.) นาฬํ(นปุ.) ขนฺโธ(ปุ.)        

ลำธาร         กนฺทรา(อิตฺ.)

ลำน้ำในอากาศ        มนฺทากินี(อิตฺ.) อากาสคงฺคา(อิตฺ.) สุรนที(อิตฺ.)

ลำบาก         กิลมติ(อาข.) เขทํ(นปุ.) พาธนํ(นปุ.) ทุกฺข(คุณ.) กิลนฺต(กิตก์) กิจฺฉ(คุณ.)     กิลมโถ(ปุ.) กิลมนํ(นปุ.)

ลำปาง        เขลางฺคนครํ(นปุ.)

ลำพูน        หริปุญฺชยปุร(นปุ.)

ลำโพง        อุมฺมตฺโต(ปุ.) มาตุโล(ปุ.)

ลำไส้        โกฏฺโฐ(ปุ.) อนฺโต(ปุ.)

ลำอ้อย        อุจฉุยฎฺิ(อิตฺ.)

ลิกขา (๓๖ รถเรณู)        ลิกฺขา(อิตฺ.)

ลิง         มกฺกโฏ(ปุ.) วานโร(ปุ.) ปฺลวงฺคโม(ปุ.) สาขามิโค(ปุ.) กปิ(ปุ.) วลีมุโข(ปุ.)  ปฺลวงฺโค(ปุ.)

ลิงลม        ปมฺปฏโก(ปุ.) ปมฺปโก(ปุ.)

ลิงเสน         กปิ(ปุ.)

ลิ้น        ชิวฺหา(อิตฺ.) รสนา(อิตฺ.)

ลิ้นจี่         ผาลุสโก(ปุ.)

ลิ่ม        อาณาติ(อิตฺ.) อาณิ(อิตฺ.)

ลิ่มไม้        กปิสีโส(ปุ.) อคฺคฬตฺถมฺโภ(ปุ.)

ลิ้มรส         สายติ(อาข.)

ลึก        นินฺน(คุณ.) คมฺภีร(คุณ.) คภีร(คุณ.)

ลื่น         ปกฺขลติ(อาข.) ปกฺขลิตฺวา(กิตก์)

ลืม         ปมุสฺสติ(อาข.) มุสฺสติ(อาข.) ปมฺมุฏฺ(กิตก์) มุยฺหติ(อาข.) มุฬฺห(กิตก์)

ลืมตัว         สติสมฺโมเสน สมฺปยุตฺตจิตฺโต(สำนวน)

ลืมตา        อุมฺมิเลติ(อาข.)

ลืมเลือน         ปมุสฺสติ(อาข.) ปมุยฺหติ(อาข.)

ลุก        ปจฺจุฏฺาย(กิตก์) วุฏฺาย(กิตก์) สมุฏฺาย(กิตก์)

ลุกขึ้น         วุฏฺฐหติ(อาข.) อุฏฺฐหติ(อาข.) อพฺภุฏฺฐาติ(อาข.)

ลุกขึ้นจากที่         อุฏฺฐาย(กิตก์)

ลุกขึ้นแต่ดึก        ปจฺจุฏฺฐาย(กิตก์)        

ลุกขึ้นพร้อมกัน         เอกปฺปหาเรน อุฏฺฐหึสุ(สำนวน)

ลุกขึ้นหน้ามืด         อุฏฺฐานกาเล วิพฺภมติ(สำนวน)

ลุกลาม         มุตฺต(กิตก์)

ลุกออกจากฌาน        วุฏฺฐาย        (กิตก์)

ลุกออกจากที่นั่ง        อุฏฺฐาย        (กิตก์)

ลุง         มาตุโล(ปุ.)

ลุยน้ำ         อุทกํ ปาวิสติ(สำนวน) อุทกํ โอตรติ(สำนวน)  นาวาย คจฺฉติ(สำนวน)

ลูกกระเดือก         คโล(ปุ.) กณฺโฐ(ปุ.)

ลูกเขย        ชามาตา(ปุ.)

ลูกคลี        เคณฺฑุโก(ปุ.) กนฺทุโก(ปุ.)

ลูกจันทน์เทศ        ชาติโกสํ(นปุ.) ชาติผลํ(นปุ.)

ลูกจ้าง        กมฺมกโร(ปุ.) เวตนิโก(ปุ.) ภตโก(ปุ.) ภติโก(ปุ.)

ลูกชาย         ปุตฺโต(ปุ.) โอรโส(ปุ.)

ลูกเดือย        วรโก(ปุ.) นีวาโร(ปุ.)

ลูกตัว        โอรโส(ปุ.)

ลูกตา         อกฺขิตารา(อิตฺ.) กนีนิกา(อิตฺ.) อกฺขิ(นปุ.)

ลูกตาดำ        เนตฺตตารา(อิตฺ.) กนีนิกา(อิตฺ.)

ลูกตาล         ตาลผลํ(นปุ.)

ลูกทาส         ทาสีปุตฺโต(ปุ.)

ลูกธนู        สโร(ปุ.) ปตฺตี(ปุ.) สายโก(ปุ.) พาโณ(ปุ.) กณฺฑํ(นปุ.) อุสุ(ปุ.)(อิตฺ.) ขุรปฺโป(ปุ.) เตชนํ(นปุ.) อสนํ(นปุ.)

ลูกน้อย        ปุถุโก(ปุ.) ปิลฺลโก(ปุ.) ฉาโป(ปุ.) กุมาโร(ปุ.) พาโล(ปุ.) โปตโก(ปุ.)

ลูกบาศก์        อกฺโข(ปุ.) ปาสโก(ปุ.)

ลูกพรวน         กึกิณิกํ(อิตฺ.) กึกินิ(อิตฺ.) กิงฺกิณี(อิตฺ.) ขุทฺทฆณฺฏิกา(อิตฺ.)

ลูกม้า        กิโสโร(ปุ.) หยโปตโก(ปุ.)

ลูกศรอาบยาพิษ        ทิทฺโธ(ปุ.)

ลูกสะใภ้          สุณิสา(อิตฺ.) สุณฺหา(อิตฺ.)

ลูกหนี้        อธมณฺโณ(ปุ.) อิณายิโก(ปุ.)

ลูกเห็บ        กรกา(อิตฺ.) ฆโนปลํ(นปุ.)

ลูบไล้         ลิมฺปติ(อาข.)

เล็กๆน้อยๆ        กติปย(คุณ.)

เลขา        เลขโก(ปุ.) ลิปิกาโร(ปุ.)

เล็ง         อภิฌายติ(อาข.)

เล่น         ปริหาโส(ปุ.) ทโว(ปุ.) ขิฑฺฑา(อิตฺ.) เกฬิ(อิตฺ.) กีฬา(อิตฺ.) กีฬิตํ(นปุ.)

เล็น         อูกา(อิตฺ.)

เล่นกล        มายา(อิตฺ.) สมฺพรี(อิตฺ.)

เล็บ         กรโช(ปุ.) นโข(ปุ.)(นปุ.) อฬํ(นปุ.) อฬกํ(นปุ.)

เล็บเหยี่ยว        กรมทฺโท(ปุ.) สุเสโน(ปุ.)

เลว         ชมฺม(กิตก์) หีน(กิตก์)

เล่าต่อๆ กันมา         ปรมฺปราย วุตฺตํ(สำนวน)

เล่าเรียน         ปริยาปุณิตฺถ(อาข.) อุคฺคณฺหาติ(อาข.)

เล่าเรื่อง         อกฺขานํ วาเจสิ(สำนวน) อกฺขานํ อาโรเจสิ(สำนวน)

เล้าโลม         ปโลภติ(อาข.)

เลิกทาส         ทาสพฺยโต ปโมเจสิ(สำนวน)

เลีย         เลหิตฺวา(กิตก์)

เลี่ยง         ปริหรติ(อาข.) ปชหติ(อาข.) ปฏิวิรมติ(อาข.) วิรมติ(อาข.)

เลี้ยง        ปริวิสติ(อาข.) ภรติ(อาข.) โปสติ(อาข.) สนฺตปฺเปติ(อาข.)

เลี้ยงแขก         ปริวิสติ(อาข.) ปริวิสิตฺวา(กิตก์)

เลี้ยงจนอิ่ม        สนฺตปฺเปติ(อาข.)

เลี้ยงชีพ         ชีวิตํ กปฺเปติ(อาข.)

เลี้ยงดู         โปเสติ(อาข.) ภรติ(อาข.) ปุฏฺฐ(กิตก์) โปสิต(กิตก์) ภฏ(กิตก์) ปุฏฺฐ(คุณ.)    กมฺปินี(อิตฺ.)

เลี้ยงดูพ่อแม่         มาตาเปติภร(คุณ.) มาตาเปติภรณํ(นปุ.)

เลี้ยงพระ        ปริวิสติ(อาข.)        

เลี้ยงลูก        วฑฺเฒติ(อาข.)        

เลี้ยงสัตว์        โปเสติ(อาข.) ภรติ(อาข.)

เลี้ยงให้เจริญ         วฑฺเฒติ(อาข.)

เลือก        วิโลเกตฺวา(กิตก์) วิเจยฺย(กิตก์)

เลือด         โลหิตํ(นปุ.) รุธิรํ(นปุ.) โสณิตํ(นปุ.) รตฺตํ(นปุ.)

เลื่อมใส         ปสาทติ(อาข.) ปสาเทตฺวา(กิตก์) วิปฺปสนฺน(กิตก์)

เลื่อมใสมาก        ปสาทพหุล(คุณ.)

เลื่อย        ขโร(ปุ.) กกโจ(ปุ.)

แลกเปลี่ยน        ปฏิทานํ(นปุ.) ปริวตฺโต(ปุ.)

แล่ง        ปตฺโถ(ปุ.) นาลิ(อิตฺ.)

แล่งธนู        ตูณี(อิตฺ.) กลาโป(ปุ.) ตูโณ(ปุ.) ตูณีโร(ปุ.) พาณธิ(ปุ.)

แล่งศร         สรกลาปํ(นปุ.)

แล่นไป         ปกฺขนฺน(กิตก์) ปกฺขนฺทิต(กิตก์)

แล่นเรือออกทะเล         นาวาย สมุทฺทํ ปกฺขนฺทติ(สำนวน)

แลเห็น         สมฺปสฺสติ(อาข.) สมเวกฺขติ(อาข.)

โล่        เขฏกํ(นปุ.) ผลกํ(นปุ.) จมฺมํ(นปุ.)

โลก         โลโก(ปุ.) ภุวนํ(นปุ.)

โลกแตก         โลโก ภิชฺชติ(สำนวน)

โลกนี้        ทิฏฺฐธมฺมิกํ(นปุ.) อิหโลกิกํ(นปุ.) สนฺทิฏฺฐิกํ(นปุ.)

โลกหน้า        ปารโลกิกํ(นปุ.) สมฺปราโย(ปุ.) สมฺปรายิกํ(นปุ.)

โลกายศาสตร์        โลกายตํ(นปุ.)

โล่ของทหาร         โยธผลกํ(นปุ.)

โลดขึ้น         อุลฺลงฺฆิตฺวา(กิตก์) ลงฺฆิตฺวา(กิตก์)

โลท        คาฬโว(ปุ.) สาฬโว(ปุ.) โลทฺโท(ปุ.)

โลทแดง        ปฏฺฏิ(อิตฺ.) ชาขาปสาทโน(ปุ.)

โลภในของคนอื่น         ปรลาภลุทฺธ(คุณ.)

โลภมาก        คิทฺธ(คุณ.) ลุทฺธ(คุณ.) โลล(คุณ.)

ไล้         ลิตฺต(กิตก์) ทิทฺธ(กิตก์)

ไล้ทา         ลิมฺปติ(อาข.) ลิตฺต(กิตก์) ทิทฺธ(กิตก์)

ว-อักษร

วงศ์        กุลํ(นปุ.) วํโส(ปุ.) สนฺตาโน(ปุ.) อภิชโน(ปุ.) โคตฺตํ(นปุ.) อนฺวโย(ปุ.)

วรรค        วคฺโค(ปุ.)

วรรณะ        วณฺโณ(ปุ.)

วอ        สิวิกา(อิตฺ.) ยาปฺยยานํ(นปุ.)

วอกแวก         จปล(ปุ.)

วัง         ราชนิเวสนํ(นปุ.) ราชมนฺทิโร(ปุ.)

วังใน        โอโรโธ(ปุ.) อิตฺถาคารํ(นปุ.) สุทฺธนฺโต(ปุ.) อนฺเตปุรํ(นปุ.)

วัจจมรรค        ปายุ(ปุ.) คุทํ(นปุ.)

วัด        วิหาร(ปุ.) อาวาส(ปุ.) อาราม(ปุ.)        

วัด(ค่า)        อคฺฆติ(อาข.) ตีเลติ(อาข.)

วัดเจดีย์หลวง        มหาเจติยาราโม(ปุ.)

วัดพระสิงห์        สีหาราโม(ปุ.)

วัดพุทไธยสวรรค์        พุทฺธยฺยสคฺคาราโม(ปุ.)

วัดระฆัง         คณฺฑิโฆสิตาราม(ปุ.)

วัดศรีโสดา        สิริโสตาราโม(ปุ.)

วัดสวนดอก        ปุปฺผาราโม(ปุ.)

วัตถุ         วตฺถุ(นปุ.)

วัตถุกาม        วตฺถุกาโม(ปุ.)

วัตถุประสงค์        วตฺถุวิสโย(ปุ.)

วัน        ทิวโส(ปุ.) อหํ(ปุ.)(นปุ.) ทินํ(นปุ.) ทิวา(นิปาต)

วันขึ้น 1 ค่ำ         ปาฏิปทํ(นปุ.)

วันขึ้น ๑๕ ค่ำ        ปุณฺณมี(อิตฺ.) ปุณฺณมาสี(อิตฺ.) ปุณฺณมา(อิตฺ.) ปณฺณรสี(อิตฺ.) ปญฺจทสี(อิตฺ.)

วันเข้าพรรษา         วสฺสูปนายิก(คุณ.)

วันคืน         อโหรตฺตํ(นปุ.) อโหรตฺโต(ปุ.)

วันจันทร์         จนฺทวาโร(ปุ.) สสิวาโร(ปุ.)

วันซืน        ปรหิยฺโย(นิปาต)

วันที่ดียิ่ง         อภิมงฺคลสมโย(ปุ.)

วันพยับฝน        ทุทฺทินํ(นปุ.)

วันพระราชสมภพ         ปสูติทิวโส(ปุ.)

วันพรุ่งนี้         ปุนทิวโส(ปุ.) ปุเนกทิวโส(ปุ.) เสฺว(นิปาต)

วันพฤหัสบดี         ครุวาโร(ปุ.) วิหปฺปติวาโร(ปุ.)

วันพุธ         พุธวาโร(ปุ.) วุธวาโร(ปุ.)

วันเพ็ญ        ปุณฺณมาสี(อิตฺ.) ปุณฺณมา(อิตฺ.) ปณฺณรสี(อิตฺ.) ปญฺจทสี(อิตฺ.)

วันรุ่งขึ้น         ปุนทิวโส(ปุ.) ปุเนกทิวโ(ปุ.) เสฺว(นิปาต)

วันเริ่มต้น         อาทิภูตทิวโส(ปุ.)

วันแรม         อมาวสี(อิตฺ.)

วันและคืน         รตฺตินฺทิวา(ปุ.)

วันวาน         หิยฺโย(นิปาต)

วันศุกร์         สุกฺกวาโร(ปุ.)

วันสุดท้าย         ปริโยสานทิวโส(ปุ.)

วันเสาร์         สนิวาโร(ปุ.) โสรวาโร(ปุ.)

วันอังคาร         ภุมฺมวาโร(ปุ.) กุชวาโร(ปุ.)

วันอันเป็นมงคล         สุมงฺคลาหํ(นปุ.)

วันอาทิตย์         รวิวาโร(ปุ.) อาทิจฺโจ(ปุ.)

วัว        โคโณ(ปุ.) คาโว(ปุ.) คาวี(อิตฺ.) อุสโภ(ปุ.) พลิวทฺโท(ปุ.)

วา        พฺยาโม(ปุ.) โปริสํ(นปุ.)

วาง        โอตาเรตฺวา(กิตก์) เปตฺวา(กิตก์)

วางใจไม่ได้         นิรสฺสาธ(คุณ.)

วางตัวเป็นกลาง         มชฺฌตฺตายาภิยุตฺต(คุณ.)

วางถุง         ปสิพฺพกํ โอตาเรตฺวา(สำนวน)

วางมัดจำ        สจฺจาปนํ(นปุ.) สจฺจกาโร(ปุ.)

วาจาสุภาพ         สนฺตวจ(คุณ.)

ว่านน้ำ        โคโลมี(อิตฺ.) วจา(อิตฺ.)

ว่านเปราะ        วจตฺถํ(นปุ.)        

วานร        วานโร(ปุ.) ปฺลวงฺคโม(ปุ.) มกฺกโฏ(ปุ.) สาขามิโค(ปุ.) กปิ(ปุ.) วลีมุโข(ปุ.)  ปฺลวงฺโค(ปุ.)

วายวอด         อนยพฺสนํ(นปุ.)

วาระสำคัญ         มงฺคลสมย(ปุ.)

วิ่ง        ธาวติ(อาข.) สนฺธาวติ(อาข.) อุปธาวึสุ(อาข.) ธาวนํ(นปุ.)

วิ่งพล่าน         อิโต จิโต จ สนฺธาวติ(สำนวน) อปราปรํ สญฺจรติ(สำนวน)

วิงวอนขอ        ยาจติ(อาข.) อายาจิ(อาข.) วิญฺาเปติ(อาข.) ภิกฺขติ(อาข.) วาเรติ(อาข.)

วิชา         พยญฺชนสมยํ(นปุ.) ปณฺณํ(นปุ.)

วิชาคณิตศาสตร์         คณิตสตฺถํ(นปุ.)

วิชาทางแพทย์         เวชฺชสิปฺปํ(นปุ.)

วิชายุทธศาสตร์         ยุทฺธวิธานํ(นปุ.)

วิตก        ตกฺโก(ปุ.) วิตกฺโก(ปุ.) สงฺเขโป(ปุ.) อปฺปนา(ปุ.) อูหา(อิตฺ.)

วิถีแห่งโลกปัจจุบัน         ปวตฺติ(อิตฺ.)

วิทยบริการ        วิชฺชาสโมสรณฏฺฐานํ(นปุ.)

วิทยาลัย        วิชฺชาลโย(ปุ.)

วิทยาลัยราชภัฏ         ราชภฏานํ สิกฺขาคาโร(ปุ.) ราชภฏวิชฺชาลยํ(นปุ.)

วิทยุ         วิชฺชุมญฺชุสา(อิตฺ.)

วิทัตถิ (๑๒ อังคุล)        วิทตฺถิ(อิตฺ.)

วิธี        วิธิ(ปุ.) วิธานํ(นปุ.)

วิธีป้องกัน         ปฏิพาหโนปาโย(ปุ.)

วินาที         อจฺฉรา(อิตฺ.) ขณ(ปุ.)

วิบัติ        วิปตฺติ(อิตฺ.) อาปทา(อิตฺ.)

วิปริต        ปฏิกฺกูล(คุณ.) อปสพฺย(คุณ.) วิปรีต(คุณ.)

วิปัลลาส        วิปลฺลาโส(ปุ.) อญฺญถาภาโว(ปุ.)

วิภัตติ         วิภตฺติ(อิตฺ.)                                                            

วิวาทกัน         ภณฺฑน(นปุ.) กลห(ปุ.) วิคฺคห(ปุ.) วิวาท(ปุ.)  

วิวาหะ        วิวาโห(ปุ.) อุปยโม(ปุ.) ปาณิคฺคโห(ปุ.) ปริณโย(ปุ.)

วิษณุ        วาสุเทโว(ปุ.) หริ(ปุ.) กโณฺโห(ปุ.) เกสโว(ปุ.) จกฺกปาณิ(ปุ.)

วุ่นวาย         โกลาหล(นปุ.) กุตูหล(นปุ.)

เวท        ตยี(อิตฺ.) เวโท(ปุ.) มนฺโต(ปุ.) สุติ(อิตฺ.)

เวทนา        เวทนา(อิตฺ.) เวทยิตํ(นปุ.)

เวทางค์        กปฺโป(ปุ.)วางแผน พฺยากรณํ(นปุ.)ไวยากรณ์ โชติสตฺถํ(นปุ.)รู้จักวันเวลา สิกฺขา(อิตฺ.)เรียนรู้ นิรุตฺติ(อิตฺ.)รากศัพท์ ฉนฺโทวิจิติ(อิตฺ.)แต่งเรียบเรียงได้

เว้น         อภินิวชฺเชติ(อาข.) ฐเปตฺวา(กิตก์) วินา(นิปาต) อญฺญตฺร(นิปาต)

เว้นกรรม         ปริวชฺชิตพฺพํ(นปุ.)

เว้นจากความประมาท         ปมาทรหิต(คุณ.)

เว้นที่เป็นข้อยกเว้น        อญฺญตฺร(นิปาต)        

เว้นไว้         ฐเปตฺวา(กิตก์) วินา(นิปาต) อญฺญตร(นิปาต)

เว้นสิ่งที่ชั่ว        ปฏิวิรต(คุณ.)        

เว้นหมด         วชฺเชตฺวา(กิตก์)

เว้ย        โภ(นิปาต) อเร(นิปาต) อมฺโภ(นิปาต) หมฺโภ (นิปาต) เห(นิปาต) หเร(นิปาต)

เวลา        กาโล(ปุ.) อทฺธา(ปุ.) สมโย(ปุ.) เวลา(อิตฺ.)

เวลาบ่าย        วฑฺฒมานกจฺฉายา(อิตฺ.)

เวลาเย็น        สายํ(นิปาต) วิกาล(ปุ.) สายณฺหสมย(ปุ.) อตฺถงฺคมน(นปุ.) สายณฺหกาล(ปุ.)

เวียนว่ายตายเกิดในสงสาร         อนมตคฺเค สํสารวฏฺเฏ สํสรนฺตา(สำนวน)

แวดล้อม         ปริวาเรตฺวา(กิตก์ ปริกฺขิปิตฺวา(กิตก์) ปริวุต(กิตก์) ปริวาริต(กิตก์)

แวดล้อมสิ่งมีชีวิต        ปริวาเรตฺวา(กิตก์)

แวดล้อมสิ่งไม่มีชีวิต        ปริกฺขิปิตฺวา(กิตก์)

แว่น         อาทาโส(ปุ.) อาทาสโก(ปุ.) ทปฺปโณ(ปุ.)

แว่นขยาย        อนนฺตอาทาโส(ปุ.)

แว่นแคว้น         รฏฺฐํ(นปุ.) วิชิตํ(นปุ.)

แว่นตา         จกฺขุอาทาโส(ปุ.)

แว่บหนึ่ง         เอกวิชฺชุปฺปาโท(ปุ.)

แววหางนกยูง        จนฺทโก(ปุ.) เมจโก(ปุ.)

ไว้ใจตัว        อตฺตานํ ตกฺกยติ(สำนวน)

ไวท์บอร์ด         เสตผลกํ(นปุ.) อกฺขรผลกํ(นปุ.)

ไวพจน์        ปริยาโย(ปุ.) เววจนํ(นปุ.)

ไว้วางใจ        วิสฺสาโส(ปุ.) วิสฺสมฺโภ(ปุ.)

ศ-อักษร

ศรี         ลกฺขี(อิตฺ.) สิริ(อิตฺ.)

ศอก        รตนํ(นปุ.) กุกฺกุ(นปุ.) หตฺโถ(ปุ.)

ศัตราต่างๆ        จกฺกํ(นปุ.)จักร, กุนฺโต(ปุ.)ทวน, คทา(อิตฺ.)ไม้ตะบอง, สตฺติ(อิตฺ.)หอก,

ศัตราวุธ        อายุธํ(นปุ.) เหติ(อิตฺ.) สตฺถํ(นปุ.) ปหรณํ(นปุ.)

ศัตรู        อมิตฺโต(ปุ.) ริปุ(ปุ.) เวรี(ปุ.) สปตฺโต(ปุ.) อราติ(ปุ.) สตฺตุ(ปุ.) อริ(ปุ.) ปจฺจตฺถิโก (ปุ.) ปริปนฺถี(ปุ.) ปฏิปกฺโข(ปุ.) อหิโต(ปุ.) ปโร(ปุ.) ปจฺจามิตฺโต(ปุ.) วิปกฺโข(ปุ.) ปจฺจนีโก(ปุ.) วิโรธิ(ปุ.) วิทฺเทสี(ปุ.) ทิโส(ปุ.) ทิฏฺโฐ(ปุ.)

ศัลยกรรม         สตฺถกมฺมํ(นปุ.) สลฺลกตฺติยํ(นปุ.)  สลฺลกมฺมํ(นปุ.)

ศัลยแพทย์         สลฺลเวชฺโช(ปุ.) สลฺลกตฺโต(ปุ.)

ศาลตัดสินคดี         วินิจฺฉยสาลา(อิตฺ.)

ศาลเทพารักษ์        เทวายตน(นปุ.) เทวาลย(ปุ.)

ศาลาคนเศร้า        อนาถสาลา(อิตฺ.)

ศาลาพักร้อน        วิสฺสมนสาลา(อิตฺ.)

ศิลปวัฒนธรรม         นานาสิปฺปานิ(นปุ.) วุฑฺฒิธมฺม(คุณ.)

ศิลปะ        สิปฺปํ(นปุ.)

ศิลปิน         สิปฺปโก(ปุ.) สิปฺปี(ปุ.) จิตฺตกาโร(ปุ.)

ศิลา        อมฺโภ(ปุ.) ปาสาโณ(ปุ.) อาสฺโม(ปุ.) อุปโล(ปุ.) สิลา(อิตฺ.)

ศิลาอาสน์        สิลาสนํ(นปุ.)

ศิลาอาสน์พระอินทร์        ปณฺฑุกมฺพโล(ปุ.)

ศิวะ        มหิสฺสโร(ปุ.) สิโว(ปุ.) สูลี(ปุ.) อิสฺสโร(ปุ.) ปสุปติ(ปุ.) หโร(ปุ.)

ศิษย์        สิสฺโส(ปุ.) อนฺเตวาสี(ปุ.) อนฺเตวาสิโก(ปุ.)

ศีรษะ         สีสํ(นปุ.) อุตฺตมงคํ(นปุ.) สิโร(ปุ.) มุทฺโธ(ปุ.)(อิตฺ.) มตฺถโก(ปุ.)

ศีล        ตโป(ปุ.) สํยโม(ปุ.) สีลํ(นปุ.)

ศีลเป็นเบื้องต้นพรหมจรรย์        อาทิพฺรหฺมจริยํ(นปุ.) ปาฏิโมกฺขสํวรสีลํ(นปุ.)

ศึก         สงฺคาโม(ปุ.) สมฺปหาโร(ปุ.) สมรํ(นปุ.) อาโยธนํ(นปุ.) รโณ(ปุ.) อาชิ(ปุ.) สํยุโค(ปุ.) อาหโว(ปุ.) ยุทฺธํ(นปุ.)

ศึกษา         อุคฺคหณํ(นปุ.) อุคฺคณฺหณํ(นปุ.) ปริยาปุณาติ(อาข.) อุคฺคณฺหาติ(อาข.) สิกฺขา(อิตฺ.) ปริยตฺติ(อิตฺ.)

ศูทร        สุทฺโท(ปุ.) อนฺตวณฺโณ(ปุ.) วสโส(ปุ.)

ศูนย์บริการ         สโมสรณฏฐานํ(นปุ.)

เศร้าใจ         อุปฺปนฺนสํเวค(คุณ.) ทุมฺมน(คุณ.) โทมนสฺส(คุณ.) สมุปฺปนฺสํเวค(คุณ.) วิมน(คุณ.) อุปฺปนฺนพลวโสก(คุณ.) โทมนสฺสปฺปตฺต(คุณ.) สํวิคฺคมานส(คุณ.)

เศร้าโศก         โสโก(ปุ.) โสจนํ(นปุ.)

ส-อักษร

ส.ส.        ปชาย ธุรคฺคาหปุคฺคล(คุณ.)

สกปรก         ปูติ(อิตฺ.) อสุจิ(อิตฺ.)

ส่ง        อนุคจฺฉติ(อาข.) ปหิณิ(อาข.) เปเสสิ(อาข.) อุยฺโยเชสิ(อาข.)

สงกรานต์        สงฺกานฺตํ(นปุ.)

ส่งข่าว         ปหิณิ(อาข.) เปเสสิ(อาข.)

สงคราม        สงฺคาโม(ปุ.) สมฺปหาโร(ปุ.) สมรํ(ปุ.)(นปุ.) รณํ(นปุ.) อาชิ(อิตฺ.) อาหโว(ปุ.) ยุทฺธํ(นปุ.) อาโยธนํ(นปุ.) สํยุคํ(นปุ.)

สงครามโลก         มหาสงฺคาโม(ปุ.)

สงเคราะห์         สงฺคณฺหติ(อาข.)

สงเคราะห์เพื่อนด้วยของ         ลาเภหิ สงฺคณฺหติ สพฺรหฺมจารึ(สำนวน)

ส่งท้ายปีเก่า         ปุพฺพสํวจฺฉเร อติกฺกนฺเต(สำนวน)

สงบ        วูปสเมติ(อาข.) อุปสนฺต(กิตก์) ปฏิปสฺสทฺธ(กิตก์) ปฏิปสฺสมฺเภติ(อาข.) อุปสนฺต(กิตก์) สนฺต(กิตก์) สมิต(กิตก์)  สนฺติ(อิตฺ.) สมโถ(ปุ.)  สโม(ปุ.)

ส่งไป         อุยฺโยชิต(กิตก์) ปหิต(กิตก์) อนุคจฺฉติ(อาข.) อุยฺโยเชติ(อาข.) เปเสติ(อาข.) ปหิณิ(อาข.) อุยฺโยชนํ(นปุ.) เปสิต(กิตก์) ปาเหติ(อาข.)

สงวนความบริสุทธิ์         ปาริสุทธึ อุปจินาติ(สำนวน)

สงวนไว้         สุรกฺขิตํ รกฺขติ(สำนวน)

สงสัย         อาสงฺก(ปุ.)(นปุ.) มโนวิเลโข(ปุ.) สนฺเทโห(ปุ.) สํสโย(ปุ.) กถํกถา(อิตฺ.) เทฺวฬฺหกํ(นปุ.) วิจิกิจฺฉา(อิตฺ.) กงฺขา(อิตฺ.) สงฺกา(อิตฺ.) วิมติ(อิตฺ.) ปริสงฺกา(อิตฺ.) เวมติ(อิตฺ.) เวมติก(คุณ.)

ส่งเสริม         ปุเรกฺขาต(คุณ.) อุปตฺถมฺภิก(คุณ.)

ส่งเสริมให้แตกแยกกัน         เภทปุเรกฺขารต(คุณ.)

ส่งเสียงดัง        สทฺทํ กโรติ(สำนวน) มหาสทฺท กโรติ(อาข.) อุจฺจาสทฺทํ กโรติ(อาข.)

สง่างาม         สิริก(คุณ.)

สดชื่น         อสฺสาลี(คุณ.)

สดสะอาด         อลฺล(นปุ.)

สติ        สติ(อิตฺ.) อนุสฺสติ(อิตฺ.)

สติปัฏฐาน        สติปฏฺฐานํ(นปุ.)

สติระมัดระวัง         สติสํวโร(ปุ.)

สติสัมปชัญญะ         สติสมฺปชญฺญ(นปุ.) สติสมฺปชานิก(คุณ.)

สถานที่         ฐานํ(นปุ.)

สถานที่ฟ้อนรำ        รงฺโค(ปุ.)

สถานีตำรวจ         ราชภฏาคาโร(ปุ.) ราชภฏาคารํ(นปุ.)

สถานีรถไฟ         ธูมรถนิวตฺตนฏฺฐานํ(นปุ.) ธูมรถฏฺฐานํ(นปุ.)

สถาบัน        สถาปนํ(นปุ.)

สถาบันการศึกษา         สิกฺขาสถาปนํ(นปุ.) อุคฺคหณสถาปนํ(นปุ.) สุตวฑฺฒนสาลา(อิตฺ.)

สถาปนา         ฐานวเร ฐเปติ(สำนวน)

สถาปนาพระมหากษัตริย์         มหาขตฺติยวํโส(ปุ.)

สถูป         ถูโป(ปุ.)        

ส้นตีน        ปณฺหิ(ปุ.) ปาสนี(ปุ.)

สนทนา        สากจฺฉา(อิตฺ.) สํกถา(อิตฺ.) กถํ สมุฏฺฐาเปสุ(สำนวน) สลฺลปึสุ(อาข.) อาลปึสุ(อาข.)

ส้นเท้า         ปณฺหิ(อิตฺ.) ปาสณิ(อิตฺ.)

สนองคุณท่าน         ปจฺโจปกาโร(ปุ.)

สนับสนุน         อุปถมฺภมาน(กิตก์)

สนับสนุนการเลือกตั้ง         ปวิจินน(นปุ.) พลมนุพฺรูหเย (สำนวน)

สนาม        อชิรํ(นปุ.) จจฺจรํ(นปุ.) องฺคณํ(นปุ.)

สนามกีฬา         กีฬามณฺฑลํ(นปุ.)

สนามบิน         อากาสยานํ(นปุ.) เวหาสยานํ(นปุ.)

สนามสอบบาลี         ปาลิสิกฺขาคาโร(ปุ.)

สนามหลวง        ราชงฺคณํ(นปุ.)

สนิทสนม         สนฺถโว(ปุ.)

สนิทสนมกัน         มาเนติ(อาข.) กรุณายติ(อาข.) ปิยายติ(อาข.)

สบถ        สปนํ(นปุ.) สปโถ(ปุ.)

สบาย         ผาสุก(คุณ.) อนามย(คุณ.) อาโรคฺย(คุณ.)

สบายดีหรือ?        ขมนียํ(กิตก์) ยาปนียํ(กิตก์)

สบู่        นหานียํ(นปุ.)

สบู่หอม         สุคนฺธนหานียํ(นปุ.)

สภา        สภา(อิตฺ.)

สภาพระอินทร์        สุธมฺมา(อิตฺ.)

สภาวะ        สภาโว(ปุ.) นิสคฺโค(ปุ.) สรูปํ(นปุ.) ปกติ(อิตฺ.) สีลํ(นปุ.) ลกฺขณํ(นปุ.) ภาโว(ปุ.)

ส้ม        เอราวโต(ปุ.) นารงฺค(คุณ.)

สมควร        ปฏิรูป(คุณ.) อนุจฺฉวิก(คุณ.) อนุรูป(คุณ.) ธมฺมานุธมฺมยุตฺต(คุณ.) โอปายิก(คุณ.)

สมฐานะ         ฐานานุรูป(คุณ.)

สมเด็จเจ้าพระยา         มหามจฺโจ(ปุ.) อคฺคมหาเสนาปติ(ปุ.)

สมเด็จพุทธางกูร        สมติจฺจพุทฺธางฺกุโร(ปุ.)

สมเด็จย่า         สฺรีนครินฺทา(อิตฺ.) สิรินครินฺทา(อิตฺ.)

สมบัติ        ธนํ(นปุ.) โส(ปุ.) ทพฺพํ(นปุ.) วิตฺตํ(นปุ.) สาปเตยฺยํ(นปุ.) วสฺวํ(นปุ.) อตฺโถ(ปุ.) วิภโว(ปุ.) สมฺปตฺติ(อิตฺ.) สมฺปทา(อิตฺ.) ลกฺขี(อิตฺ.) สิรี(อิตฺ.)

สมบูรณ์         สมฺปนฺน(คุณ.)

สมโภช         มหามหกมฺมํ(นปุ.)

สมรส         วิวาโห(ปุ.) อุปยโม(ปุ.) ปาณิคฺคโห(ปุ.) ปริณโย(ปุ.)

สมหน้าสมตา         อตฺตโน ฐานานุรูปํ(สำนวน)

สมอ        ปจฺฉาพนฺโธ(ปุ.) โคฏวิโส(ปุ.) อภยา(อิตฺ.) หรีตกี(อิตฺ.)

สมอไทย         หรีตกี(อิตฺ.)

สมอพิเภก        อกฺโข(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.) วิภีฏโก(ปุ.)(อิตฺ.)(นปุ.)

สมัยเป็นหนุ่มสาว         โยพฺพนปฺปตฺตกาโล(ปุ.)

สมัยรัตนโกสินทร์         รตนโกสินฺทราชธานีกาโล(ปุ.) รตนโกสินฺทรชฺชํ(นปุ.)

สมาทาน         สมาทเปตฺวา(กิตก์) สมาทานํ(นปุ.)

สมาธิ        เอกคฺคตา(อิตฺ.) สมโถ(ปุ.) อวิกฺเขโป(ปุ.) สมาธิ(ปุ.)

สมาบัติ         สมาปตฺติ(อิตฺ.)

สม่ำเสมอ         อภิณฺหํ(นิปาต) อภิกฺขณํ(นิปาต)

สมี        สตฺตผลา(อิตฺ.) สมี(อิตฺ.)

สมุด         เลขนปณฺณํ(นปุ.)

สมุทร         สมุทฺโท(ปุ.)

สมุนไพร        โอสธิ(อิตฺ.)

สรรเสริญ         ปสํสิตฺวา(กิตก์) ปสํสนฺต(กิตก์) ภาวนีย(คุณ.) วณฺเณตฺวา(กิตก์) วณฺณํ ภาสิตฺวา (สำนวน) ปสฏฺฐ(กิตก์) ปสตฺถ(กิตก์) กตฺถนา(อิตฺ.) กิตฺตนํ(นปุ.) โฆสนา(อิตฺ.)  ถุติ(อิตฺ.) โถโม(ปุ.) โถมนา(อิตฺ.) โถมนํ(นปุ.) เทวนํ(นปุ.) นุติ(อิตฺ.) ปคฺคโห(ปุ.) ปคฺคหนํ(นปุ.) ปคฺคณฺหนํ(นปุ.) สมฺภาวิต(กิตก์) วณฺณิต(กิตก์) ปสตฺถ(กิตก์)  ปวฏฺฐ(กิตก์) ปสํสา(อิตฺ.)

สร้อยคอ         คีวาภรณํ(นปุ.) หาโร(ปุ.) หาโร(ปุ.) มุตฺตาวลี(อิตฺ.)

สระ        ตฬาโก(ปุ.) สโร(ปุ.)(นปุ.) วาปี(อิตฺ.) สรสี(อิตฺ.) ทโห(ปุ.) อมฺพุชากโร(ปุ.)

สระน้อย        ปลฺลลํ(นปุ.)

สระน้ำ         วาปี(ปุ.)(นปุ.) สรํ(ปุ.)(นปุ.) ทหํ(ปุ.)(นปุ.)

สระบัว         ภิสินฺยํ(นปุ.) อมฺพุชินี(อิตฺ.)

สระบุรี        สรปุรํ(นปุ.)

สระโบกขรณีพระอินทร์        นนฺทา(อิตฺ.)

สร้าง         การาปิต(กิตก์) มาเปตฺวา(กิตก์)

สร้างด้วยฤทธิ์        อภินิมฺมินาติ(อาข.) อภิสงฺขโรติ(อาข.) นิมฺมิน(กิตก์) มาเปติ(อาข.)

สร้างบารมี         ปูเรติ(อาข.) วิจินาติ(อาข.)

สลด        สํเวคปฺปตฺต(กิตก์) สํเวชติ(อาข.)

สลดใจ         สํวิคฺคมน(คุณ.)

สลบ        มุจฺฉา(อิตฺ.) โมโห(ปุ.) จิตฺตปีฬา(อิตฺ.) วิสญฺญิตา(อิตฺ.)

สลบไม่รู้ตัว         อสญฺญิก(คุณ.) อสญฺญีภูต(คุณ.)

สละ         จชติ(อาข.) โวสฺสชฺชติ(อาข.) จชิตวา(กิตก์) ปริสชฺชติ(อาข.) โวสฺสคฺค(กิตก์) วิสฺสชฺชิ(อาข.) ปริจฺจชติ(อาข.) ปริจฺจาโค(ปุ.) ทานํ(นปุ.) โวสฺสคฺค(คุณ.) จตฺต(คุณ.) หีน(คุณ.) สมุชฺฌิต(คุณ.)

สละราชสมบัติ         รชฺชํ ปหาย(สำนวน) รชฺชสมฺปตฺตึ ปหาย(สำนวน) สิริรชฺชสมฺปตฺตึ ปหาย (สำนวน)

สละสลวย         สิลิฏฺฐก(คุณ.)

สละสุขส่วนตัว         อตฺตโน สุขํ จชติ (สำนวน)

สลัก         อาณาติ(อิตฺ.) อาณิ(อิตฺ.)

สลักแอกไถ        สมฺมา(อิตฺ.)

สลัดได        นุหี(อิตฺ.) มหานาโม(ปุ.)

สลาก        สลากา(อิตฺ.)

สวด         อนุกสฺสติ(อาข.)

สวดกรรม         กมฺมวาจา(อิตฺ.)

สวดสดุดี         อภิถุตึ กโรติ(สำนวน)

สวดสรภัญญะ        ภณติ(อาข.)        

ส่วน        ปฏิวึโส(ปุ.) โกฏฺฐาโส(ปุ.) อํโส(ปุ.) ภาโค(ปุ.) ภาค(ปุ.) โกฏฺฐาส(ปุ.) ปเทส(ปุ.)

สวน        อาราโม(ปุ.) อุปวนํ(นปุ.) อุยฺยานํ(นปุ.)

สวนดอกไม้         ปุปฺผาราโม(ปุ.)

สวนป่าพระอินทร์        นนฺทนํ(นปุ.) มิสฺสกํ(นปุ.) จิตฺตลตา(อิตฺ.) ผารุสกํ(นปุ.)

สวนสัตว์         ติรจฺฉานุยฺยานํ(นปุ.) สตฺตอุยฺยานํ(นปุ.)

ส่วนสุด         อคฺคํ(นปุ.) อนฺตํ(นปุ.) โกฏิ(อิตฺ.) มตฺถก(นปุ.) ปริโยสาน(นปุ.) ปริยนฺตสิข(ปุ.) สิขร(ปุ.) อคฺค(คุณ.) ปริยนฺต(คุณ.)

สวนหลวง         ราชุยฺยานํ(นปุ.) อปฺปมทวนํ(นปุ.)

สวมกอด         อุปคูหติ(อาข.) อาลิงฺคติ(อาข.) อาลิงฺคิตฺวา(กิตก์)

สวมรองเท้า         อุปาหนํ อารุยฺห(สำนวน) ปาทุกํ อารุยฺห(สำนวน) สอุปาหน(คุณ.)

ส่วย         สุงฺโก(ปุ.)

สวย         อภิรูป(คุณ.) โสภณ(คุณ.) อภิรูป(คุณ.) อนุจฺฉวิก(คุณ.)

สวยหรู        สุรูป(คุณ.)

สวรรค์         สคฺโค(ปุ.) ติทิโว(ปุ.) เทวโลโก(ปุ.) ทิโว(ปุ.) นาโก(ปุ.) ติทิโว(ปุ.) ติทสาลโย(ปุ.)

สวัสดี        สุปภาต(กิตก์) ปภาต(กิตก์)

สหธรรมิก         สหธมฺมิก(คุณ.)

สหธรรมิก ๕ พวก        ภิกฺขุ(ปุ.) สามเณโร(ปุ.) สิกฺขมานา(อิตฺ.) ภิกฺขุนี(อิตฺ.) สามเณรี(อิตฺ.)

สหรคต         สหคต(กิตก์)

สหาย        มิตฺโต(ปุ.) วยสฺโส(ปุ.) สหาโย(ปุ.) สุทโห(ปุ.) สขา(ปุ.)

สอง         ทฺวิ(สังข.) เทฺว(สังข.) อุภ(สังข.) อุภย(สังข.)

ส่องสว่าง         อุชฺโชเตติ(อาข.)

สอน         ปริโยทปน(นปุ.) อนุสาสิตฺวา(กิตก์) โอวทิตฺวา(กิตก์)

สอนเข้าไปถึงจิต        สจิตฺตปริโยทปนตฺถาย(สำนวน)

สอนพระธรรมวินัย         ธมฺมสฺส ปกาสนํ(สำนวน)

สอบ         ปฏิปุจฺฉา(อิตฺ.)

สอบทาน         ภณติ(อาข.)

ส่อเสียด         ปิสุณํ วทติ(สำนวน)

สะเก็ด         จุณฺณํ(นปุ.)

สะดุ้ง         จิตฺตุตฺราโส(ปุ.) ตสิต(กิตก์) โอตฺตปฺปํ(นปุ.) ปาปภีรุตา(อิตฺ.)

สะเดา        นิมฺโพ(ปุ.) อริฏฺโฐ(ปุ.) ปุจิมนฺโท(ปุ.)

สะพาน        เสตุ(ปุ.)

สะเพร่า         ชมฺม(คุณ.)

สะโพก         ชฆนํ(นปุ.) นิตมฺโพ(ปุ.) โสณี(อิตฺ.) กฏิ(อิตฺ.) อานิสทํ(นปุ.) กฏิปเทโส(ปุ.)

สะใภ้        สุณฺหา(อิตฺ.) สุณิสา(อิตฺ.) หุสา(อิตฺ.)

สะสม         สนฺนิธึ กโรนฺติ(สำนวน) อาจิต(คุณ.) นิจิต(คุณ.)

สะสมสุข         สุขํ จชติ(สำนวน)

สะอาด         ปวิตฺต(คุณ.) อจฺฉ(คุณ.) ปสนฺน(คุณ.) สุทฺธิ(อิตฺ.) สุทฺธ(กิตก์)(คุณ.) ปวิตฺต(คุณ.)    ปยต(คุณ.) ปูต(คุณ.)

สะเอว         วิลคฺโค(ปุ.) มชฺโฌ(ปุ.) มชฺฌิมํ(นปุ.) อุจฺฉงฺคํ(นปุ.) องฺโก(ปุ.)

สังคายนา         ธมฺมวินยสงฺคีติ(อิตฺ.)

สังฆาฏิ         สงฺฆาฏิ(อิตฺ.)

สังวัณณนา         สํวณฺณยนฺต(กิตก์) สํวณฺณนา(อิตฺ.)

สังวาส        สํวาโส(ปุ.)

สังเวช        สํเวคปฺปตฺต(กิตก์) สํเวชติ(อาข.)                 

สั่งสม         ปสุต(คุณ.) อภิสญฺจยติ(อาข.) อภิสญฺจินาติ(อาข.) อาจินาติ(อาข.) อุปจินาติ(อาข.)  อุปรจิต(กิตก์) อุปจิต(กิตก์) อุปจโย(ปุ.) อาวสิต(คุณ.)

สั่งสมบุญ         กตปุญฺญาภิสมฺภาร(คุณ.) จิตกุสล(คุณ.) กตาธิการ(คุณ.)

สั่งสอน         โอวาทกโร(ปุ.) อนุสาสติ(อาข.) ปกาเสติ(อาข.)

สัณฐาน        สนฺนิเวโส(ปุ.) สณฺฐานํ(นปุ.)

สัดจอง        โปโต(ปุ.) ปวหณํ(นปุ.)

สัตตมีวิภัตติ        สตฺตมีวิภตฺติ(อิตฺ.) ภุมฺม(ปุ.)(นปุ.)

สัตบุรุษ         สนฺโต(ปุ.) สปฺปุริโส(ปุ.)

สัตย์         สจฺจํ(คุณ.)(นิปาต)

สัตว์        ปาโณ(ปุ.) สรีรี(ปุ.) ภูตํ(ปุ.)(นปุ.) สตฺโต(ปุ.) เทหี(ปุ.) ปุคฺคโล(ปุ.) ชีโว(ปุ.) ปาณี(ปุ.) ปชา(อิตฺ.) ชนฺตุ(ปุ.) ชโน(ปุ.) โลโก(ปุ.) ตถาคโต(ปุ.)

สัตว์เดียรัจฉาน         ติรจฺฉาโน(ปุ.) ติรจฺฉานคโต(ปุ.)

สัตว์นรก        เนรยิโก(ปุ.) นารโก(ปุ.)

สัตว์พาหนะ         วาหนปสุ(ปุ.)

สัตว์ร้าย        วาฬมิโค(ปุ.) สาปโท(ปุ.)        

สัตว์สำหรับล่อสัตว์อื่น        ทีปโก(ปุ.) เจตโก(ปุ.)

สั่น        จาเลติ(อาข.) ปเวธติ(อาข.) กมฺปติ(อาข.)

สั้น        รสฺส(คุณ.)

สั่นกาย         กมฺปติ(อาข.)

สันดาน         สนฺตาโน(ปุ.)

สันมือ        กรโภ(ปุ.)

สันสกฤต         สกฺกฏภาสา(อาข.)

สับปะรด         มธุเกตกี(อิตฺ.) พหุเนตฺตผลํ(นปุ.)

สัปดาห์         สตฺตาโห(ปุ.)(นปุ.)

สัมผัส         อุปสมฺผสฺสติ(อาข.) อาผุสติ(อาข.)

สัมมนา        สมนฺตนา(อิตฺ.) สมฺมนา(อิตฺ.)

สาก         อโยคฺโค(ปุ.)(นปุ.) มุสโล(ปุ.)(นปุ.)

สาเก         ลพุโช(ปุ.)

สาธยาย        สชฺฌายิตฺวา(กิตก์) สชฺฌายํ กตฺวา(สำนวน) อชฺฌายนํ(นปุ.) สชฺฌาโย(ปุ.)

สาธารณ         สามญฺญ(นปุ.)

สาธารณสุข         คิลานสาลา(อิตฺ.) สุขสาลา(อิตฺ.)

สาธารณสุข         สุขสาลํ(นปุ.)

สานุศิษย์         อนฺเตวาสิกา(ปุ.)

สาป         อภิสปิตฺวา(กิตก์)

สาปแช่ง         อภิสํสติ(อาข.)

สามเณร         สามเณโร(ปุ.) สามเณรี(อิตฺ.) สมณุทฺเทโส(ปุ.)

สามแพร่ง        สึฆาฏกํ(นปุ.)

สามสิบ        สตมูลี(อิตฺ.) สตาวรี(อิตฺ.)

สามเหลี่ยม         ติโกณก(นปุ.) ติยํสํ(นปุ.)

สามารถ         สมตฺถ(คุณ.) ปฏิพล(คุณ.)

สามารถทำ         กาตุ อลํ(สำนวน) กาตุ สกฺโกติ(สำนวน) สกฺกา กาตุ(สำนวน)

สายธนู        คุโณ(ปุ.) ชิยา(อิตฺ.) ชฺยา(อิตฺ.)

สายฟ้า         อสนิ(อิตฺ.) วิชฺชุ(อิตฺ.)

สายรัดเอว        รสนา(อิตฺ.) เมขลา(อิตฺ.)

สายสร้อย         คีวาภรณํ(นปุ.) หาโร(ปุ.)

ส่ายหน้า         นลาเฏ หตฺถํ ฐเปติ(สำนวน)  คีวํ จาเลติ(สำนวน) สีสํ จาเลติ(สำนวน)

สาร         สาสนํ(นปุ.)

สารถี        รถาจารี(ปุ.) รถาจารินี(อิตฺ.) สูโต(ปุ.) ปาชิโต(ปุ.) สารถิ(ปุ.)

สารถีพระอินทร์        มาตลิ(ปุ.)

สารบัญ        กิตฺตนปตฺต(นปุ.)

สารีบุตร        สาริปุตฺโต(ปุ.) สารีปุตฺโต(ปุ.) อุปติสฺโส(ปุ.) ธมฺมเสนาปติ(ปุ.)

สาวกรูปแรก         อาทิสาวโก(ปุ.) ปุมสาวโก(ปุ.)

สาวกองค์สุดท้าย         ปจฺฉิมสาวโก(ปุ.)

สาวน้อย         ตรุณิ(อิตฺ.) กญฺญา(อิตฺ.)

สาหร่าย        เสผาลีกา(อิตฺ.) นีลิกา(อิตฺ.)

สาหร่าย        เสวาโล(ปุ.) นิลีกา(อิตฺ.)

สาหร่ายต่างๆ        ติลพีชํ(นปุ.) สํโข(ปุ.) ปณโก(ปุ.)

สาหัส         พลว(คุณ.)

สาแหรก         อุคฺคีวํ(นปุ.) สิกฺกา(อิตฺ.)

สำนัก        สนฺติกํ(นปุ.) อสฺสโม(ปุ.) อุปสฺสโย(ปุ.)

สำนักงานพระพุทธฯ        พุทฺธสาสนสนฺติกํ(นปุ.)

สำนักนายกรัฐมนตรี         มหามจฺจาลโย(ปุ.)

สำนักพิมพ์        มุทฺทงฺกนาลย(ปุ.) มุทฺทนกมฺมาคาร(ปุ.)(นปุ.)

สำรวม         สญฺญเมติ(อาข.) สํยมติ(อาข.) สํวโร(ปุ.)

สำรวมในอินทรีย์         อินฺทฺริเยสุ สุสํวุโต(สำนวน)

สำรอก         ฉฑฺเฑติ(อาข.) ฉฑฺเฑตฺวา(กิตก์)

สำเร็จ         สิทฺธิ(อิตฺ.) อิชฺฌติ(อาข.) สมิชฺฌติ(อาข.) สมาปชฺชติ(อาข.) นิปฺปนฺน(กิตก์) นิปฺผนฺน(กิตก์) กปฺเปสิ(อาข.) นิฏฐิต(กิตก์) สมิชฺฌมาน(กิตก์) ปสิทฺธ(กิตก์) นิฏฺฐาเปตฺวา(กิตก์) กปฺเปสิ(อาข.) นิปฺผชฺชติ(อาข.)

สำเร็จการอยู่         วาสํ กปฺเปติ(สำนวน)

สำเร็จด้วยใจ         มโนมย(คุณ.)

สำเร็จในการงาน         กมฺมสทฺธึ ปตฺโต(สำนวน) สมิทฺธิปฺปตฺโต(สำนวน)

สำเร็จแล้ว        ราธิต(กิตก์)(คุณ.) สาธิต(กิตก์)(คุณ.)

สำโรง        อิงฺคุที(อิตฺ.) ตาปสตรุ(ปุ.)

สำลี        ตูโล(ปุ.) ปิจุ(ปุ.)

สิง        อธิมุจฺจิ(อาข.) อธิมุตฺต(กิตก์) อธิวตฺถ(กิตก์)

สิ่งเกื้อกูลเท้า        ปชฺชํ(นปุ.)

สิ่งของ         สนฺตกํ(นปุ.) ลาภ(ปุ.)

สิ่งของตก        ปตติ(อาข.) ปติตฺวา(กิตก์)        

สิงคาร (อาการรัก)        สิงฺคาโร(ปุ.)

สิงโต        สีโห(ปุ.) เกสรี(ปุ.) มิคราชา(ปุ.) สีหราชา(ปุ.) กรภีโร(ปุ.)

สิ่งที่ได้ยินได้ฟังมา        สุตํ(นปุ.)

สิ่งที่ได้รู้เห็น         ทิฏฐํ(นปุ.) สุตํ(นปุ.) มุตํ(นปุ.)

สิ่งที่ทำจากอ้อย ๕ อย่าง        คุโฬ(ปุ.) ผาณิตํ(นปุ.) ขณฺโฑ(ปุ.) น้ำอ้อยก้อน มจฺฉณฺฑี(อิตฺ.)น้ำอ้อยฟอง   สกฺขรา(อิตฺ.)น้ำตาลกรวด

สิ่งมืด ๔ ชนิด        กาฬปกฺขจตุทฺทสี(อิตฺ.) ฆนวนสณฺโฑ(ปุ.) เมฆปฏลํ(นปุ.) อฑฺฒรตฺติ(อิตฺ.)

สิ่งยั่วยวน        รชฺชนีย(นปุ.) ทุสฺสนีย(นปุ.) โมหนีย(นปุ.) มชฺชนีย(นปุ.)

สิงร่าง         อธิมุจฺจติ(อาข.)

สิ่งสำคัญ         พหูปกาโร โหติ(สำนวน) อตฺถสาธิก(คุณ.)

สิงหล         สิงฺหโฬ(ปุ.)

สิงอยู่         อธิวสติ(อาข.)

สิทธิเสรีภาพ         อิสฺสริยํ(นปุ.)

สินค้า         วิกฺกยภณฺฑานิ(นปุ.)

สินบน         ลญฺจํ(นปุ.)

สิ้นไป         ปริกฺขีณ(คุณ.) ขีณ(คุณ.)

สิ้นสงสัย         นิพฺเพมติก(คุณ.)

สิ้นหวัง        อนเปกฺข(คุณ.) นิราลย(คุณ.)        

สินไหม         ทณฺโฑ(ปุ.)

สิ้นอาสวะทั้งหมด         สพฺพาสวปริกฺขีณ(คุณ.)

สินามิ         อุลฺโลโล(ปุ.) กลฺโลโล(ปุ.)

สิเนหา         สิเนโห(ปุ.)

สิริ        ลกฺขี(อิตฺ.) สิริ(อิตฺ.)

สิ่ว        ฏํโก(ปุ.) ปาสาณทารโณ(ปุ.)

สี        วณฺโณ(ปุ.)

สีข้าง         ปสฺสํ(นปุ.)

สีเขียว         หริ(คุณ.) นีล(คุณ.)

สีดำ         กาฬ(คุณ.)

สีน้ำตาล        ปิงฺโค(ปุ.) ปิสงฺโค(ปุ.)

สีผิว         สรีรวณฺโณ(ปุ.) ฉวิ(อิตฺ.)

สีไฟ        นิมฺมถติ(อาข.)

สีไม้สองอันให้เกิดไฟ        อรณิมตนํ(นปุ.)

สี่แยก         จตุกฺกํ(นปุ.) จจฺจรํ(นปุ.)

สีหนาท         สีหนาโท(ปุ.)

สีเหลือง         ปณฺฑุ(คุณ.)

สึก        อุปฺปพฺพชิตฺวา(กิตก์) วิพฺภมติ(อาข.) วิพฺภมิตฺวา(กิตก์) หีนาย อาวตฺตติ(สำนวน) อุปฺปพฺพชิ(อาข.) หีนายาวติสฺสติ(อาข.) สิกฺขํ ปจฺจกฺขาติ(สำนวน)

สืบพระราชสันติวงค์         ราชวํสสนฺตติ(สำนวน)

สุก         ปกฺก(กิตก์) กุฐิต(กิตก์) วิสุกฺขติ(อาข.) สุกฺขติ(อาข.)

สุกใส        ปสาโท(ปุ.) ปสนฺนตา(อิตฺ.)

สุข        สุขํ(นปุ.) สาตํ(นปุ.) ผาสุ(นปุ.)

สุขความเจริญ         หิตญฺเจว สุขญฺจ (สำนวน)

สุขภาพอนามัย         อนามโย(ปุ.)(คุณ.)

สุขุม         สุขุม(คุณ.)

สุขุมละเอียด         นิมฺมล(คุณ.) สุทฺธ(คุณ.)

สุดท้าย         จริม(คุณ.) ปจฺฉิม(คุณ.) ปนฺต(คุณ.) ปริยนฺต(คุณ.) ชิฆญฺญํ(คุณ.) อนฺต(คุณ.)  อนฺติม(คุณ.) โอสาน(คุณ.) ปริโยสาน(คุณ.)

สุดรักสุดหวง         อติปฺปิย(คุณ.)

สุธาโภชน์        ปียูสํ(นปุ.) อมตํ(นปุ.) สุธา(อิตฺ.)

สุนทรพจน์         สุนฺทรวจนํ(นปุ.)

สุนัข        สารเมยฺโย(ปุ.) สุนโข(ปุ.) สุโณ(ปุ.) โสโณ(ปุ.) กุกฺกุโร(ปุ.) สฺวาโน(ปุ.) สุวาโน (ปุ.) สาโน(ปุ.) สา(ปุ.) สาฬูโร(ปุ.)

สุนัขจิ้งจอก        สิคาโล(ปุ.)

สุนัขบ้า        อฬกฺโก(ปุ.) อติสุโน(ปุ.) อลกฺโก(ปุ.) อลํโก(ปุ.)

สุพรรณ        สุวณฺณภูมิ(อิตฺ.)

สุพัณณิกา        เสผาลิกา(อิตฺ.) นีลิกา(อิตฺ.)

สุรา        มทิรา(อิตฺ.) วารุณี(อิตฺ.) มชฺชํ(นปุ.) สุรา(อิตฺ.)

สูง        อุจฺจ(คุณ.) อุนฺนต(คุณ.) ตุงฺก(คุณ.) อุทคฺค(คุณ.) อุจฺฉิต(คุณ.)

สูงสุด        อุตฺตม(คุณ.) ปวร(คุณ.) เชฏฺฐ(คุณ.) ปมุข(คุณ.) อนุตฺตร(คุณ.) วร(คุณ.) มุขฺย(คุณ.) ปธาน(คุณ.) ปาโมขฺข(คุณ.) ปร(คุณ.) อคฺคญฺญ(นปุ.) อุตฺตร(คุณ.)(นปุ.) ปณีต(คุณ.) ปรม(คุณ.) เสยฺย(คุณ.) คามณิ(คุณ.) เสฏฺฐ(คุณ.) สตฺตม(คุณ.)    วิสิฏฺฐ(คุณ.) อริย(คุณ.) นาค(คุณ.) เอก(คุณ.) อุสภ(คุณ.) อคฺค(คุณ.) โมกฺข(คุณ.) ปุงฺคว(คุณ.) สีโห(ปุ.) กุญฺชโร(ปุ.) สทฺทูโล(ปุ.)

สูตชน (กษัตริย์+พรามณ์)        สูโต(ปุ.)

สูตร         สุตฺตนฺตํ(นปุ.) สุตฺตํ(นปุ.)

สูบ        คคฺครี(อิตฺ.)

สู้เป็นข้าราชการไม่ได้         ราชภฏภาโว เสยฺโยเยว(สำนวน)

เสขบุคคล        เสโข(ปุ.)

เสด็จเคียงบ่าเคียงไหล่         สหจารี(คุณ.)

เส้นประสาท         รสคฺคสา(อิตฺ.) รสหรณี(อิตฺ.)

เสนา         จมู(อิตฺ.) เสนา(อิตฺ.)

เสนาบดีกระทรวงเกษตร         เขตฺตาธิการเสนาปติมหามตฺโต(ปุ.)

เสนียด         อพฺพุทํ(นปุ.)

เสบียง         สมฺพลํ(นปุ.) ปาเถยฺยํ(นปุ.)

เสบียงทาง        ปาเถยฺยํ(นปุ.) สมฺพลํ(นปุ.)

เสพกาม         คามธมฺโม(ปุ.) อสทฺธมฺโม(ปุ.) พฺยวาโย(ปุ.) เมถุนํ(นปุ.)

เสมหะ          เสมฺห(นปุ.)  

เสมอ        สม(คุณ.)

เสมอๆ         นิจฺจํ(นิปาต) สทา(นิปาต) อภิณฺหํ(นิปาต) อภิกฺขณํ(นิปาต)

เสมียน        เลขโก(ปุ.) ลิปิกาโร(ปุ.)

เสร็จ        สิทฺธ(คุณ.) นิปฺปนฺน(คุณ.) นิพฺพตฺต(คุณ.)

เสริมสวย         วาสนํ(นปุ.)

เสลด        เสมฺโห(ปุ.)(นปุ.) สิเลสุโม(ปุ.)

เสวย        ภุญฺชติ(อาข.) วินฺทติ(อาข.) อนุโภติ(อาข.) ปฏิสํเวเทติ(อาข.)

เสวยอารมณ์         เวทนีย(นปุ.)

เสา        ถมฺโภ(ปุ.) ถูโณ(ปุ.)(อิตฺ.)

เสากระโดง        กูปโฏ(ปุ.) กุมฺภกํ(นปุ.)

เสาเขื่อน         อินฺทขีโล(ปุ.)

เสาตลุง        อาลานํ(นปุ.) อาฬฺหโก(ปุ.) ถมฺโภ(ปุ.)

เสานาฬิกา         ฆฏิกาถมฺโภ(ปุ.)

เสาระเนียด        โตรณํ(นปุ.)

เสาหลักเมือง        เอสิกา(อิตฺ.) อินทขโล(ปุ.)

เสียง        รโว(ปุ.) นินาโท(ปุ.) นินโท(ปุ.) สทฺโท(ปุ.) นิคฺโฆโส(ปุ.) นาโท(ปุ.) อทฺธโน(ปุ.) ราโว(ปุ.) อาราโว(ปุ.) สํราโว(ปุ.) วิราโว(ปุ.) โฆโส(ปุ.) รวา(อิตฺ.) สุติ(อิตฺ.) สโร (ปุ.) นิสฺสโน(ปุ.) ธนิ(ปุ.)

เสียงกังวาน         อนุรโว(ปุ.)

เสียงชอบใจ        กล(คุณ.)

เสียงช้างร้อง        โกญฺจนาโท(ปุ.)

เสียงดนตรี        อุสโภ(ปุ.)เสียงดุจโคบันลือ เธวโต(ปุ.)เสียงดุจม้าร้อง ฉชฺโช(ปุ.)เสียงดุจนกยูงร้อง คนฺธาโร(ปุ.)เสียงเหมือนแพะร้อง มชฺฌิโม(ปุ.)เสียงดุจนกกระเรียนร้อง  ปญฺจโม(ปุ.)เสียงดุจนกกาเหว่าร้อง นิสาโท(ปุ.)เสียงดุจช้างร้อง

เสียงต่ำ        มนฺท(คุณ.)

เสียงเบา        กากลี(อิตฺ.)

เสียงประสาน        ลโย(ปุ.)

เสียงม้าร้อง        เหสา(อิตฺ.)

เสียงมีองค์ ๘        วิสฺสฏฺฐ(คุณ.)สละสลวย มญฺชุ(คุณ.)ไพเราะ วิญฺเญยฺย(คุณ.)ชัดเจน สวนีย(คุณ.)เสนาะโสต  อวิสารี(คุณ.)ไม่คลุมเครือ พินฺทุ(คุณ.)กลมกล่อม คมฺภีร(คุณ.)ลุ่มลึก นินฺทาทิ(คุณ.)กังวาน

เสียงร้อง        รโณ(ปุ.) รโว(ปุ.)

เสียงร้องนกยูง        เกกา(อิตฺ.)

เสียงสนั่น        สนิต(คุณ.) ธนิต(คุณ.)

เสียงสัตว์ร้อง        วสฺสิตํ(นปุ.)

เสียงสูง        ตาร(คุณ.)

เสียใจ         อุปฺปนฺนสํเวค(คุณ.) ทุมฺมน(คุณ.) โทมนสฺส(คุณ.) สมุปฺปนฺสํเวค(คุณ.) วิมน(คุณ.) อุปฺปนฺนพลวโสก(คุณ.) โทมนสฺสปฺปตฺต(คุณ.) สํวิคฺคมานส(คุณ.)

เสียดสี        ฆฏฺเฏติ(อาข.) ฆํสติ(อาข.) นิมฺมถติ(อาข.)

เสียบ        วิทฺธ(คุณ.)

เสียม        ขณิตฺติ(อิตฺ.) อวทารณํ(นปุ.)

เสียราชธรรม         ราชธมฺเม โกปยมาโน(สำนวน)

เสียสละ         ปริจฺจชติ(อาข.) วิสฺสชฺชติ(อาข.) โวสฺสคฺครต(กิตก์) จาโค(ปุ.)

เสื้อ         กว(ปุ.) กญฺจุก(ปุ.) วารพาณํ(นปุ.)

เสื่อ         ตฏฺฏิกา(อิตฺ.) อาสนํ(นปุ.) กิลญฺชํ(นปุ.)

เสือ        พฺยคฺโฆ(ปุ.)

เสื้อเกราะ         กวโจ(ปุ.) กวจชาลิกา(อิตฺ.) โกโช(ปุ.) อุรจฺฉโท(ปุ.) กญฺจุโก(ปุ.) วารพาณํ (ปุ.)(นปุ.)

เสือโคร่ง        พฺยคฺโฆ(ปุ.) ปุณฺฑรีโก(ปุ.)

เสือดาว        ตรจฺโฉ(ปุ.) มิคาทโน(ปุ.) ทีปิ(อิตฺ.)

เสื่อม         อปาโย(ปุ.)

เสื่อมรอบ         ปริหีโน(กิตก์)

เสื่อมลง         ปริหานิ(อิตฺ.)

เสื่อมลาภ         อลาโภ(ปุ.) อุปฺปนฺโน(กิตก์)

เสื่อลำแพน        กิลญฺโช(ปุ.) กโฏ(ปุ.)

เสือเหลือง        สทฺทูโล(ปุ.)

แสกผม        สีมนฺโต(ปุ.)

แสง         รํสิ(อิตฺ.) อาภา(อิตฺ.) ปภา(อิตฺ.) ทิตฺติ(อิตฺ.) รุจิ(อิตฺ.) ภา(อิตฺ.) ชุติ(อิตฺ.) ทีธิติ (อิตฺ.) มรีจิ(อิตฺ.) ภาณุ(ปุ.)(อิตฺ.) อํสุ(ปุ.)(อิตฺ.) มยูโข(ปุ.) กิรโณ(ปุ.) กโร(ปุ.)

แสงจันทร์        โกมุที(อิตฺ.) จนฺทิกา(อิตฺ.) ชุณฺหา(อิตฺ.)

แสงไฟฟ้า         วิชฺชุปทีโป(ปุ.)

แสงสว่าง         อาโลก(ปุ.) โชติ(ปุ.) โอกาโส(ปุ.) อาโลโก(ปุ.) ปทีโป(ปุ.) โอภาโส(ปุ.) ปกาโส(ปุ.) อุชฺโชโต(ปุ.) อาตโป(ปุ.)        

แสดง         เทเสติ(อาข.) อุทฺทิสติ(อาข.) เทสิต(กิตก์) ทสฺสิต(กิตก์) ทสฺเสติ(อาข.) ทีเปติ(อาข.) อุทฺทิสติ(อาข.)  อปทิสติ(อาข.)

แสดง(สิ่งที่เป็นนามธรรม)        เทเสติ(อาข.) อุทฺทิสติ(อาข.)

แสดง(สิ่งที่เป็นรูปธรรม)        ทสฺเสติ(อาข.)

แสดงความผิด         ปราธเทสโก(ปุ.)

แสดงความภักดี        สมฺภตฺตึ ปเวทิตุ(สำนวน)

แสดงเนื้อความ         ทีเปติ(อาข.)

แสดงพระปาติโมกข์        อุทฺทิสติ(อาข.)        

แสดงพิสดาร         วิตฺถาเรติ(อาข.)

แสดงให้เข้าใจ         อาโรเจติ(อาข.) วิวรติ(อาข.) วิภชติ(อาข.) อุตฺตานีกโรติ(อาข.)

แสดงให้เห็นว่า         อตฺถปริทีปนา(อิตฺ.)

แสดงอธิบาย        ทีเปติ(อาข.)

แสดงออก         นิทฺทิสติ(อาข.)

แสดงอ้าง        อปทิสติ(อาข.)        

แสน         สตสหสฺสํ(นปุ.) ลกฺขํ(นปุ.)

แส้ม้า        กสา(อิตฺ.)

แสวงหา        คเวสติ(อาข.) ปริเยสติ(อาข.) ปริเยสนา(อิตฺ.) อเนฺวสนา(อิตฺ.) ปริเยฏฺฐิ(อิตฺ.) คเวสนา(อิตฺ.) มคฺคิต(คุณ.) ปริเยสิต(คุณ.) อนฺเวสิต(คุณ.) คเวสิต(คุณ.) มคฺเคติ(อาข.) เอสติ(อาข.)

แสวงหา(ที่ไม่สมควร)         อเนสนา(อิตฺ.)

แสวงหา(สิ่งที่ดีและชั่ว)        ปริเยสติ(อาข.)        

แสวงหาโทษ        คเวสติ(อาข.)

แสวงหาประโยชน์         หิตคฺคเวสี(ปุ.)

โสก        โสโก(ปุ.) โสจนํ(นปุ.)

โสโครก         ปูติ(อิตฺ.) อสุจิ(อิตฺ.)

โสมม         โลภาทีหิ อภิภูโต(สำนวน)

โสรัจจะ         โสรจฺจํ(นปุ.)

ใส        อจฺฉ(คุณ.) ปสนฺน(ปุ.) วิมล(คุณ.)

ใส่กุญแจ         ยนฺตกํ เทติ(สำนวน) กุญฺจิกํ เทติ(สำนวน)

ใส่เข้า         ปกฺขิปติ(อาข.) นิกฺขิปติ(อาข.)

ใสใจ         มนสิกโรนฺติ(อาข.) มนสิกริตฺวา(กิตก์) นิสาเมตฺวา(กิตก์) สญฺญํ กตฺวา(สำนวน)

ใส่ร้าย         อพฺภาจิกฺขติ(อาข.)

ใส่หน้า        คีวํ จาเลสิ(สำนวน) สีสํ จาเลสิ(สำนวน)

ไส้เดือน        คณฺฑุปฺปาโท(ปุ.) มหีลตา(อิตฺ.)

ไส้น้อย          อนฺตคุณ(นปุ.)  

ไสยศาสตร์         พฺราหฺมณลทฺธิ(อิตฺ.)

ไส้ใหญ่        อนฺต(นปุ)  

ห-อักษร

หงส์        หํโส(ปุ.) เสตจฺฉโท(ปุ.)

หงอนไก่        เสเรยฺยโก(ปุ.) ทาสี(อิตฺ.)

หงอนนกยูง        จูฬา(อิตฺ.) สิขา(อิตฺ.)

หญ้าเขี้ยวงู        อปามคฺโค(ปุ.) เสขริโก(ปุ.)

หญ้าคา        กุโส(ปุ.) พริหิสํ(นปุ.) ทพฺโภ(ปุ.)

หญ้าปล้อง        ปพฺพโช(ปุ.)

หญ้าปากกา        คุนฺทา(อิตฺ.) ภทฺทมุตตํ(นปุ.)

หญ้าแฝก        อุสีรํ(นปุ.)

หญ้าแพรก        สทฺทโล(ปุ.) ทุพฺพา(อิตฺ.)

หญ้าแพรกขาว        โคโลมี(อิตฺ.)

หญ้าสัตว์กิน        ฆาโส(ปุ.) ยวโส(ปุ.)

หญ้าหนวดแมว        เทวตาโส(ปุ.) ชีมูโต(ปุ.)

หญ้าหางช้าง        กึกิราโต(ปุ.) กุรณฺฑโก(ปุ.)

หญ้าแห้วหมู        วาเนยฺยํ(นปุ.) กุฏนฺนฏํ(นปุ.)

หญิง        นารี(อิตฺ.) มนุสฺสี(อิตฺ.) อิตฺถี(อิตฺ.)

หญิงควรแก่ตระกูล        กุลิตฺถี(อิตฺ.) กุลปาลิกา(อิตฺ.)

หญิงในเมือง        โภคินี(อิตฺ.)

หญิงผู้ดี        วราโรหา(อิตฺ.) อุตฺตมา(อิตฺ.) มตฺตกาสินี(อิตฺ.) วรวณฺณินี(อิตฺ.)

หญิงพบคู่รักตามเวลา        อภิสาลิกา(อิตฺ.)

หญิงพิเศษ        ลลนา(อิตฺ.) ภีรุ(อิตฺ.) กามินี(อิตฺ.)

หญิงแพศยา        คณิกา(อิตฺ.) เวสิยา(อิตฺ.) วณฺณทาสี(อิตฺ.) นครโสภินี(อิตฺ.) รูปูปชีวินี(อิตฺ.) เวสี(อิตฺ.)

หญิงมีครรภ์        ครุคพฺภา(อิตฺ.) อาปนฺนสตฺตา(อิตฺ.) คพฺภินี(อิตฺ.)

หญิงมีชู้        ชารี(อิตฺ.) อติจาริณี(อิตฺ.)

หญิงมีระดู        อุตุนี(อิตฺ.) รชสฺสลา(อิตฺ.) ปุปฺผวตี(อิตฺ.)

หญิงมีลูกแล้ว        วิชาตา(อิตฺ.) ปสูตา(อิตฺ.) ชาตาปจฺจา(อิตฺ.) ปสูติกา(อิตฺ.)

หญิงไม่ดี        กุลฏา(อิตฺ.) พนฺธกี(อิตฺ.)

หญิงยำเกรงผัว        ปติพฺพตา(อิตฺ.) สตี(อิตฺ.)

หญิงเลือกผัว        ปตึวรา(อิตฺ.) สยํวรา(อิตฺ.)

หญิงสหาย        สขี(อิตฺ.) อาลิ(อิตฺ.) วยสฺสา(อิตฺ.)

หญิงสาว         ยุวติ(อิตฺ.) ตรุณี(อิตฺ.) วนิตา(อิตฺ.) ยุวตี(อิตฺ.) ตรุณี(อิตฺ.)

หญิงสาวน้อย        กุมาริกา(อิตฺ.) กญฺญา(อิตฺ.)

หญิงหมัน         วญฺฌา(อิตฺ.)

หญิงหม้าย        วิธวา(อิตฺ.)

หดเข้า         ปฏิกุฏฺฏติ

หนทางเวียนว่ายตายเกิด         สํสารวฏฺฏทฺธานมคฺโค(ปุ.)

หนทางหาเงินติดขัด         ธนปริเยสเน นานุปสคฺคา อตฺถิ(สำนวน)

หนทางแห่งความเสื่อม         อปายมุขํ(นปุ.)

หนวด        มสฺสุ(นปุ.)

หนอกโค        กกุโธ(ปุ.)(อิตฺ.) กกุ(ปุ.)

หน่อต้นไม้        องฺกุโร(ปุ.)

หนอน         กิมิ(ปุ.) ปุฬโว(ปุ.) ปาณโก(ปุ.) กากรุโก(ปุ.)

หน่อไม้        กลีโร(ปุ.) มตฺถโก(ปุ.)

หนัก         ครุก(คุณ.) ภาริย(คุณ.)

หนักหนา         ภุสํ(นิปาต) อติสย(คุณ) ทฬฺหํ(นิปาต) ติพฺพ(คุณ.) เอกนฺตํ(นิปาต) อติมตฺตํ    (นิปาต) พาฬฺหํ(นิปาต)  อุกฺกฏฺฐ(คุณ.) ปกฏฺฐ(คุณ.)

หนัง        ตโจ(ปุ.)

หนังสัตว์        จมฺมํ(นปุ.) อชินํ(นปุ.)

หนังสือ        พยญฺชนสมย(ปุ.) ปณฺณ(นปุ.) อกฺขรสมย(ปุ.) คมฺภีร(นปุ.) ปกรณํ(นปุ.)        

หนังสือกฎหมาย         ราชนีติปณฺณํ(นปุ.)

หนังสือเก่า         โปราณกคนฺถ(ปุ.)

หนังสือคัมภีร์         คนฺโถ(ปุ.)  โปตฺถโก(ปุ.)  ปณฺณํ(นปุ.)  โปตฺถกํ(นปุ.)

หนังสือปฐมสมโพธิ         ปฐมสมฺโพธิโปตฺถกํ(นปุ.)

หนังสือพิมพ์        ปวตฺติปตฺต(นปุ.) ปวตฺติปณฺณ(นปุ.) สาสนปณฺณํ(นปุ.)

หนังสือมิลินทปัญหา         มิลินฺทปญฺหาปกรณํ(นปุ.)

หนา        ฆน(คุณ.) สนฺท(คุณ.)

หน้า        วทนํ(นปุ.) มุขํ(นปุ.) ตุณฺฑํ(นปุ.) วตฺตํ(นปุ.) ลปนํ(นปุ.) อนนํ(นปุ.)

หน้าต่าง        วาตปานํ(นปุ.) ควกฺโข(ปุ.) ชาลํ(นปุ.) สีหปญฺชรํ(นปุ.) อาโลกสนฺธิ(อิตฺ.)

หน้าที่         กิจฺจ(นปุ.) ตํตํกรณียานิ(นปุ.) กมฺม(นปุ.) ธุร(นปุ.)

หนาทึบ         ฆน(คุณ.) สนฺท(คุณ.)

หน้าฝน         วสฺสกาโล(ปุ.)

หนาม         กณฺฏกํ(นปุ.)

หน้าร้อน         คิมฺหํ(นปุ.) ฆมฺมกาล(ปุ.)

หน้าแล้ง        นิทาโม(ปุ.)

หน้าหนังสือ        ปิฏฺฐงฺก(นปุ.) องฺก(นปุ.)

หนี        ปลายนํ(นปุ.) อปกฺกโม(ปุ.) ปลายติ(อาข.)

หนี้        อุทฺธาโร(ปุ.) อิณํ(นปุ.)

หนีความตายไม่พ้น         มรณมฺหา มุจฺจิตุ  สมตฺโถ เนว โหติ(สำนวน)

หนุนกัน         สงฺคหานุคหํ กโรติ(สำนวน)

หนุ่ม        ตรุณ(คุณ.) วยฏฺฐ(คุณ.) ทหร(คุณ.) ยุวา(คุณ.) สุสุ(คุณ.) มาณว(คุณ.)

หนู        มูสิโก(ปุ.) อาขุ(ปุ.) อขุ(ปุ.) อุนฺทุโร(ปุ.)

ห่ม         นิวตฺถ(กิตก์) ปารุปิตฺวา(กิตก์)

ห่มจีวร         จีวรํ อจฺฉาเทตฺวา(สำนวน) จีวรํ ปริทหิตฺวา(สำนวน)  จีวรํ ปารุปิตฺวา(สำนวน)

หมดความพอใจ        นิรสฺสารท(คุณ.) นิราสาส(คุณ.)

หมดความละอาย        นิลชฺช(คุณ.) อหิริก(คุณ.)

หมดจด         ปวิตฺต(คุณ.) ปริสุทฺธ(คุณ.)

หมดท่า        นิสฺสิริก(คุณ.)

หมดรัก        นิสฺสิเนห(คุณ.)

หมดสง่า        นิสฺสิริก(คุณ.)

หมดอาลัย         อนเปกฺข(คุณ.) นิราลย(คุณ.) นิรเปกฺข(คุณ.) อนเปกฺขี(คุณ.)

หม่นหมอง        มาลีน(คุณ.) มลีมส(คุณ.)

ห่มผ้า        ปารุปิตฺวา(กิตก์)        

หมวก        นาฬิปตฺต(ปุ.) สีสาวรณ(นปุ.) นาลิปฏฺโฏ(ปุ.)

หมวด        สมุโห(ปุ.) กาโย(ปุ.)  

หมอ         เวชฺโช(ปุ.) ภิสกฺโก(ปุ.) ติกิจฺฉโก(ปุ.)

หม้อ        กุมฺภี(อิตฺ.) ปิฐโร(ปุ.) กุณฺฑํ(นปุ.) ฆฏ(นปุ.) อุกฺขลิ(อิตฺ.)

หม้อข้าว        อุกฺขลิ(อิตฺ.) ฆฏี(อิตฺ.)                        

หมองู        วาฬคาหี(ปุ.) อติตุณฺฑิโก(ปุ.)

หมอดู        คณโก(ปุ.) มุหุตฺติโก(ปุ.) ลกฺขณปาฐโก(ปุ)

หมอน        พิมฺโพหนํ(นปุ.) อปธานํ(นปุ.)

หม้อน้ำ        อุกฺขลิ(อิตฺ.) ฆโฏ(ปุ.)(นปุ.) กุโฏ(ปุ.)(นปุ.) กุมฺโภ(ปุ.) กลโส(ปุ.) วารโก(ปุ.)  กุมฺภี(อิตฺ.)

หมอบลงแทบเท้า         ปาเทสุ นิปติตฺวา(สำนวน) ปาเทสุ นิปชฺชิตฺวา(สำนวน)

หม้อมงคล        ภทฺทกุมฺโภ(ปุ.) ปุณฺณกุมฺโภ(ปุ.)

หมอยา        เวชฺโช(ปุ.) ภิสกฺโก(ปุ.) โรคหารี(ปุ.) ติกิจฺฉโก(ปุ.)

หมอศัลยกรรม        สลฺลเวชฺโช(ปุ.) สลฺลกตฺโต(ปุ.)

หมั้น        วาเรติ(อาข.)

หมั่นขยันในหน้าที่         กิจฺจปฺปสุต(คุณ.) กึกรณีเยสุ ทกฺขา อนลสา(สำนวน)

หมั่นประกอบความเพียร         ปธานํ(นปุ.) อนุยุญฺชมาน(กิตก์)

หมั่นประชุมกัน         อภิณฺหสนฺนิปาตา เจวสฺสุ สนฺนิปาตาพหุลา จ(สำนวน)

หมั่นอบรม         ภาวิต(กิตก์) พหุลีกต(กิตก์)

หมา         สุนโข(ปุ.) โสโณ(ปุ.) สา(ปุ.) สาโน(ปุ.) สาฬูโร(ปุ.)

หมาก        ปูโค(ปุ.) กมุโก(ปุ.)

หมากเม่าควาย        ติลโก(ปุ.) ขุรโก(ปุ.)

หมาจิ้งจอก        สิคาโล(ปุ.) ชมฺพุโก(ปุ.) โกตฺถุ(ปุ.) เภรโว(ปุ.) สิวา(อิตฺ.)

หมาป่า        โกโก(ปุ.) วโก(ปุ.)

หมาย         อภิลกฺเขติ(อาข.)

หมายถึง         สนฺธาย วุตฺตํ(สำนวน)

หมิ่นประมาท        อวญฺญิต(คุณ.) อวคณิต(คุณ.) ปริภูต(คุณ.) อวมานิต(คุณ.)

หมี        อจฺโฉ(ปุ.) อิกฺโก(ปุ.)

หมีชนิดหนึ่ง        อิสฺโส(ปุ.) กาฬสีโห(ปุ.) อิโส(ปุ.)

หมึก         มสิ(ปุ.)

หมื่น        ทสสหสฺสํ(นปุ.) นหุตํ(นปุ.)

หมุนกลับ         ปฏิวตฺติ(อิตฺ.)

หมุนไป         ปวฏฺเฏติ(อาข.)

หมู่        สมูโห(ปุ.) คโณ(ปุ.) สํฆาโต(ปุ.) สมุทาโย(ปุ.) สญฺจโย(ปุ.) สนฺโทโห(ปุ.) นิวโห(ปุ.) โอโฆ(ปุ.) วิสโร(ปุ.) นิกโร(ปุ.) จโย(ปุ.) กาโย(ปุ.) ขนฺโธ(ปุ.) สมุทโย(ปุ.) ฆฏา(อิตฺ.) สมิติ(อิตฺ.) สํหติ(อิตฺ.) ราสิ(ปุ.) ปุญฺโช(ปุ.) สมวาโย(ปุ.) ปูโค(ปุ.) ชาตํ(นปุ.) กทมฺพกํ(นปุ.) พฺยูโห(ปุ.) วิตานํ(นปุ.) คุมฺโพ(ปุ.) กลาโป(ปุ.) ชาลํ(นปุ.) มณฺฑลํ(นปุ.) ยูโถ(ปุ.)

หมู        สูกโร(ปุ.) วราโห(ปุ.)

หมู่คนชาติเท่ากัน        กุลํ(ปุ.)

หมู่คนหรือสัตว์        วคฺโค(ปุ.)

หมู่ชนเสมอธรรมกัน        นิกาโย(ปุ.)

หมู่เทพ         เทวคโณ(ปุ.)

หมู่บ้าน        คาม(ปุ.)

หมูป่า         วราโห(ปุ.)

หมู่พระสงฆ์         สงฺโฆ(ปุ.)

หมู่สัตว์เดียวกัน        ยูโถ(ปุ.)(นปุ.)

หยั่งไม่ถึง        อคาธ(คุณ.) อตลปฺผสฺส(คุณ.)

หยั่งลง        อนฺตคฺคต(คุณ.) ปริยาปนฺน(คุณ.) อนฺโตคธ(คุณ.) โอคธ(คุณ.)

หยากเยื่อ        กจวโร(ปุ.) อุกฺกลาโป(ปุ.) สงฺกาโร(ปุ.) กสมฺพุ(ปุ.)

หยาดน้ำ        เถโว(ปุ.) พินฺทุ(นปุ.) ผุสิตํ(นปุ.)

หยาบ        กุกูร(คุณ.) กฐิน(คุณ.) นิฏฺฐุร(คุณ.) กกฺขฬ(คุณ.) ทุรชฺฌาสย(คุณ.)

หยาบช้า        กุรูร(คุณ.) กฐิน(คุณ.) นิฏฺฐุร(คุณ.) กกฺขฬ(คุณ.)

หยิ่งยโส        คพฺโพ(ปุ.) อภิมาโน(ปุ.) อหํกาโร(ปุ.)

หรดาล        หริตาลํ(นปุ.) ปีตนํ(นปุ.)

หลง        มุยฺหติ(อาข.) มุฬฺห(กิตก์) โมโห(ปุ.)

หลงตน         มิจฺฉาปฏิปตฺติยํ ปวตฺตาเปนฺติ(สำนวน)

หล่น        ภฏฺฐ(คุณ.) คลิต(คุณ.) ปนฺน(คุณ.) จุต(คุณ.) ธํสิต(คุณ.)

หลักฐาน         ปุพฺพาจิณฺโณ(ปุ.) สาปเทโส(ปุ.) ธมฺมนิยโม(ปุ.)

หลักผูกสัตว์        ยูโป(ปุ.)

หลักวิชา         สุคฺคหิตพุทฺธิยา(อิตฺ.)

หลักสูตรธรรม-บาลี        ปริยตฺติกา(อิตฺ.)

หลักสูตรสำหรับการสอบ         ปฏิปุจฺฉนฺตนฺติ(อิตฺ.)

หลัง        ปิฏฺฐํ(นปุ.) ปิฏฺฐิ(อิตฺ.)

หลังคา        ฉทนํ(นปุ.) ปฏลํ(นปุ.) ฉทฺทํ(นปุ.)

หลังตายจาก        กายสฺส เภทา ปรมฺมรณา(สำนวน)

หลับ        นิทฺทา(อิตฺ.) เสยฺยา(อิตฺ.) โสปฺปํ(นปุ.) โสปฺปนํ(นปุ.) สุปินํ(นปุ.) สยาน(กิตก์)  สยมาน(กิตก์) นิทฺทายติ(อาข.) สยติ(อาข.) สุปติ(อาข.) นิทฺทาลุ(ปุ.) นิทฺทาพหุล(ปุ.) นิทฺทํ โอกฺกมิ(สำนวน)

หลับตา        นิมฺมิเลตฺวา(กิตก์)

หลากหลาย        อุจฺจาวจ(คุณ.) พหุเภท(คุณ.)

หลากหลายลุ่มลึก         นานานยปริปุณฺณ(สำนวน)

หลาน         ภาคิเนยฺโย(ปุ.) นตฺตุ(ปุ.)        

หลาน (ลูกของลูก)        นตฺตา(ปุ.) ปปุตฺโต(ปุ.)

หลาน(ลูกของพี่และน้อง)        ภาคิเนยฺโย(ปุ.)

หลาวเหล็ก        สลฺโล(ปุ.)(นปุ.) สงฺกุ(ปุ.)

หลีกไป         ปกฺกนฺต(กิตก์) วูปกฏฺฐ(กิตก์)

หลีกเลี่ยง         ปริหรติ(อาข.)  ปชหติ(อาข.)

หลุดพ้น        มุจฺจติ(อาข.) มุตฺต(กิตก์) มุตฺติ(อิตฺ.)

หลุม        กาสุ(อิตฺ.) อาวาโฏ(ปุ.)

ห้วงน้ำลึก        รหโท(ปุ.)

ห่วงใย        อชฺเฌติ(อาข.) ปลิโพธ(ปุ.)

หวนกลับ         ปฏิวฏฺฏติ(อาข.)

หวังประโยชน์แก่สรรพสัตว์         สพฺพสตฺตหิเตสิก(คุณ.)

หวังผลงาน         นิปฺผตฺตึ อากงฺเขยฺย(สำนวน)

หวัด        ปินาโส(ปุ.) นาสิกาโรโค(ปุ.)

หวั่นเกรง        ภีรุก(ปุ.)

หวั่นไหว         กมฺปิต(กิตก์) จลิต(กิตก์) กปฺปติ(อาข.) จลติ(อาข.)

หวาดกลัว         ตสนฺติ(อาข.) ภายนฺติ(อาข.)

หวาดเสียว         สตฺตุพฺพิคฺคหทโย(สำนวน)

หวาดหวั่น         ตสนฺติ(อาข.)

หอก        โตมโร(ปุ.)

หอกชนิดหนึ่ง        กณโย(ปุ.) ภินฺทิวาโฬ(ปุ.)

หอกพุ่ง         วิสฺสชฺเชติ(อาข.) วิสฺสชฺชติ(อาข.)

ห้อง        คพฺโภ(ปุ.) โอวรโก(ปุ.)

ห้องเขียนหนังสือ        เลขนคพฺภ(ปุ.)

ห้องคนไข้        คิลานสาลา(อิตฺ.)

ห้องนอน        วาสาคารํ(นปุ.) สยนิคฺคหํ(นปุ.)

ห้องสมุด        โปตฺถกาลย(ปุ.)

ห้องส่วนพระองค์        กจฺฉนฺตรํ(นปุ.)

ห้องส้วม        วจฺจกุฏี(อิตฺ.)

หอฉัน         อาสนสาลา(อิตฺ.) โภชนสาลา(อิตฺ.) ปฏิกฺกมนํ(นปุ.) ภตฺตคฺคํ(นปุ.)

หอประชุม        สภา(อิตฺ.)

หอม         สุรภิคนฺโธ(ปุ.)

หอมแดง        ปลณฺฑุ(ปุ.) สุกนฺทโก(ปุ.)

ห้อย         โอลมฺพนํ(นปุ.)

หอยกาบ        ชลสุตฺตี(อิตฺ.) สมฺพุโก(ปุ.)

หอยโข่ง        สิปฺปี(อิตฺ.) สุตฺติ(อิตฺ.)

ห้อยลง         โอลมฺพติ(อาข.)

หอยเล็กๆ        ขุทฺทสงฺโข(ปุ.) สงฺขนโข(ปุ.)

หอยสังข์        สงฺโข(ปุ.)(นปุ.) กมฺพุ(ปุ.)(นปุ.)

หอยสังข์เล็ก        ขุทฺทสงฺโข(ปุ.) สงฺขนโข(ปุ.)

หอศิลป์        อาเวสนํ(นปุ.) สิปฺปิสาลา(อิตฺ.)

หอสมุด        โปตฺถกาลย(ปุ.)

หัก         ภญฺชติ(อาข.) ภญฺชนํ(นปุ.)

หักใจ         จิตฺตนิเสโธ(ปุ.)

หักนิ้วมือ         องฺคุลิโปฐ(นปุ.)

หักประโยชน์         อตฺถภญฺชนโก(คุณ.) จิตฺตนิเสโธ(ปุ.)

หัว         สีสํ(นปุ.) อุตฺตมงคํ(นปุ.) สิโร(ปุ.) มุทฺโธ(ปุ.) มตฺถโก(ปุ.)

หัวข้อ         อุทฺทานํ(นปุ.)

หัวใจ          หทย(นปุ.)  

หัวนม        จูจุกํ(นปุ.)

หัวมัน        มูลกนฺทํ(นปุ.)

หัวเราะ         หสติ(อาข.) หสิต(กิตก์) อกาสิ(อาข.) หสนํ(นปุ.) หสิตํ(นปุ.) หาโส(ปุ.)

หัวเราะเยาะ         เกฬึ กุรุมานา วิย อุปผณฺเฑติ(สำนวน)

หัวเราะหนักหนา         อฏฺฏหาโส(ปุ.) มหาหาโส(ปุ.)

หัวเราะอย่างครื้นเครง         อฏฺฏหาโส(ปุ.)

หัวโล้น        มุณฺฑสิร(คุณ.)

หัวไว        ปริกฺขก(คุณ.) การณิก(คุณ.)

หัวสิว        ขรปีฬกา(อิตฺ.)

หัวหน้า         ปุเรจารี(คุณ.) ปุเรจร(คุณ.) ปุพฺพงฺคม(คุณ.) ปุเรคามี(คุณ.) ปาโมกฺข(คุณ.)  ปมุข(คุณ.)

หัวหน้าโคบาล        โควินฺโท(ปุ.)

หัวหอม         ปลณฺฑุ(ปุ.) สุกนฺทโก(ปุ.)

หัวไหล่         ชตฺตุ(ปุ.)

หากเป็นไปได้        สาธุ(นิปาต)

หากว่า        สเจ(นิปาต) ยทิ(นิปาต)  เจ(นิปาต)

หาง        กลาป(ปุ.) องฺคุฏฺฐ(ปุ.)(นปุ.)

ห่าง        วิรฬ(คุณ.) เปลว(คุณ.) ตนุ(คุณ.)

ห่างไกล         ทูรีภาโว(ปุ.)

หางตา        อปางฺโค(ปุ.)

หางธนู        ปกฺโข(ปุ.) วาโช(ปุ.)

หางม้า        ปุจฺโฉ(ปุ.)(นปุ.) นงฺคุฏฺฐํ(นปุ.) วาลหตฺโถ(ปุ.) วาลธี(ปุ.)

หาได้ยากแสนเข็ญ         อติทุลฺลภ(คุณ.)

ห่าน         กลกณฺโฑ(ปุ.) หํโส(ปุ.) เสตจฺฉโท(ปุ.)

หาบ          ภาโร(ปุ.)

ห้าม         ปฏิกฺขิปิตฺวา(กิตก์) ปฏิพาหิตฺวา(กิตก์) ปฏิเสเธตฺวา(กิตก์) นิเสเธตฺวา(กิตก์) วารยิตฺวา(กิตก์) อาวรติ(อาข.) โอวฏ(กิตก์) ปฏิเสเธติ(อาข.) ปฏิพาหติ(อาข.) ปฏิกฺขิปติ(อาข.) นิเสเธติ(อาข.) นิวาเรติ(อาข.)

หาย         อนฺตราธายิตฺวา(กิตก์) อนฺตรหิโต(กิตก์) ปหิยิตฺวา(กิตก์) ปริทฺธํสติ(อาข.)

หายใจเข้า         ปสฺสาโส(ปุ.)

หายใจออก         อสฺสาโส(ปุ.)

หายไป         อนฺตรหิต(กิตก์)  อนฺตรธายติ(อาข.) ปหียติ(อาข.)

หารือกัน         สํสนฺทเปติ(อาข.) มนฺเตติ(อาข.) มนฺตยติ(อาข.)

หิ่งห้อย        ขชฺโชปนกา(อิตฺ.)

หิด         กจฺฉุ(อิตฺ.) ปามํ(นปุ.) วิตจฺฉิกา(อิตฺ.)

หิน         ปาสาโณ(ปุ.) สิลา(อิตฺ.)

หินฝนทอง        สาโณ(ปุ.) นิกโส(ปุ.)

หิว        ขุทิต(กิตก์) ฉาต(กิตก์) พุภุกฺขิต(คุณ.) ขุทา(อิตฺ.) ชิฆจฺฉา(อิตฺ.) ขุทฺทา(อิตฺ.) ชิฆจฺฉา(อิตฺ.) ชิฆจฺฉิต(กิตก์) พุภุกฺขิต(กิตก์)

หีบ        มญฺชูสา(อิตฺ.) เปฬา(อิตฺ.) สมุคฺโค(ปุ.) สมฺปุโฏ(ปุ.)

หุ้มห่อ         นิวุต(กิตก์) โอนทฺธ(กิตก์)

หู        โสตํ(นปุ.) สทฺทคฺคโห(ปุ.) กณฺโณ(ปุ.)

หูกทอผ้า         อาวาปโน(ปุ.) อาวาปนํ(นปุ.)

เหง้า        สาลูกํ(นปุ.)

เหง้าบัว        ภิสํ(นปุ.)

เหงาหงอย         เอกีภูโตว วิหริสฺสติ(สำนวน)

เหงื่อ         เสโท(ปุ.)         

เห็ด         อหิฉตฺตํ(นปุ.)        

เหตุ         การณํ(นปุ.) เหตุ(นปุ.) ฐานํ(นปุ.) ปทํ(นปุ.) พีชํ(นปุ.) นิพนฺธนํ(นปุ.) นิทานํ(นปุ.) ปภโว(ปุ.) เหตุ(ปุ.) สมฺภโว(ปุ.) เสตุ(ปุ.) ปจฺจโย(ปุ.)

เหตุอันใกล้        ปทฏฺฐานํ(นปุ.)

เห็น         ทิสฺวา(กิตก์) ทิสฺสติ(อาข.) อเวกฺขติ(อาข.) ปสฺสิตฺวา(กิตก์) สมฺปสฺสมาน(กิตก์) ปสฺสนํ(นปุ.) สมฺมสนฺต(กิตก์) ทิฏฺฐิ(อิตฺ.) ปจฺจเวกฺขนฺต(กิตก์) ทิสฺสติ(อาข.) โวโลเกติ(อาข.) ทสฺสนํ(นปุ.) โอโลเกติ(อาข.) ปสฺสติ(อาข.)

เห็นแก่กิน         โอทริก(คุณ.) โอทริย(คุณ.)

เห็นแก่ตัว        ปเรสํ อตฺถภญฺชนกภาเวน อตฺทตฺถํ ปริเยเสติ(สำนวน)

เห็นคุณ        เขมโต อานิสํสํ ทิสฺวา(สำนวน)

เห็นจะ         มญฺเญ(นิปาต)

เห็นด้วย         สเมติ(อาข.)

เห็นด้วยตา         ทสฺสน(นปุ.)

เห็นด้วยปัญญา         ทสฺสน(นปุ.)

เหน็ดเหนื่อย         กิลนฺตกาย(คุณ.) ทุพฺพล(คุณ.)

เห็นดีเห็นชั่ว        ทิฏฺิ(อิต)

เห็นได้ง่าย        สุทสฺส(คุณ.)

เห็นตน         สกฺกายทิฏฐิิ(อิต)

เห็นแตกต่าง         นานาทิฏฺฐิ(อิต)

เห็นแต่ประโยชน์ตน        สอตฺตตฺถปฺปสุต(คุณ.)

เห็นโทษ         ภยโต อาทีนวํ ทิสฺวา(สำนวน)

เห็นโทษกามารมณ์         กามานํ จาทีนวํ สงฺกิเลสํ โอการํ ทิสฺวา(สำนวน)

เห็นภัย         ภยโต อาทีนวํ ทิสฺวา(สำนวน)

เห็นแล้ว         อทฺทกฺขิ(อาข.) ทิสฺวา(กิตก์) ปสฺสิตฺวา(กิตก์)

เห็นว่าไร้ประโยชน์         นิสฺสารกทสฺสาวี(คุณ.)

เห็นเอง         สามํ วิปสฺสติ(สำนวน) สามํ ทิฏฺฐํ(สำนวน)

เหม็น         ทุคฺคนฺธ(คุณ.)

เหม็นคาว        วิสฺสํ(อิตฺ.)(นปุ.)

เหมืองน้อย        ขาตํ(นปุ.) เทวขาตกํ(นปุ.)

เหมือน        สม(คุณ.) ปฏิภาค(คุณ.) สนฺนิกาส(คุณ.) สริกฺขก(คุณ.) สมาน(คุณ.) สทิส (คุณ.) ตุลฺย(คุณ.) สํกาส(คุณ.) สนฺนิภ(คุณ.) นิภ(คุณ.) อิว(นิปาต) วิย(นิปาต) ยถา(นิปาต) เสยฺยถา(นิปาต)

เหมือนเกลือรักษาความเค็ม โลณํ โลณตํ วิย สาธุ รกฺขเตว(สำนวน)

เหมือนมารดารักบุตร         ปิยปุตฺเต มาตาริว(สำนวน)

เหยียดหยาม        อวมานํ(นปุ.) อวมานิต(กิตก์) อวมญฺญิต(กิตก์) อปริภูต(กิตก์) อวมาเนติ(อาข.)  หีเฬติ(อาข.) อวมญฺญติ(อาข.) ปริภวติ(อาข.) ติรกฺกาโร(ปุ.) ปริภโว(ปุ.) อนาทโร(ปุ.) ปราภโว(ปุ.) อวญฺญา(อิตฺ.)

เหยียดออก         อภิปฺปสาเรติ(อาข.)

เหยียบ         โอกฺกนฺต(กิตก์) อกฺกมนํ(นปุ.) โอกฺกนฺติ(อิตฺ.)

เหยียบย่ำ         อภิมทฺทติ(อาข.) โอมทฺทติ(อาข.)

เหยี่ยว        กลโล(ปุ.) เสโน(ปุ.) พฺยคฺฑีนโส(ปุ.) กุสโล(นปุ.)

เหยี่ยวแดง        โลหปิฏฺโฐ(ปุ.) กงฺโก(ปุ.)

เหรัญญิก        เหรญฺญิโก(ปุ.) นิกฺขิโก(ปุ.)

เหล็ก        โลโห(ปุ.)(นปุ.) อโย(ปุ.) กาฬายสํ(นปุ.)

เหล็กหมาด        อารา(อิตฺ.) สูจิวิชฺฌนํ(นปุ.)

เหล้า         สุรา(อิตฺ.)

เหลาะแหละ        อลิก(นปุ.) อสจฺจํ(นิปาต) มิจฺฉา(อิตฺ.) มุสา(อิตฺ.)

เหลียวมอง        อนุวิโลเกตฺวา(กิตก์)        

เหลียวมองรอบๆ         อิโต จิโต จ โอโลเกติ(สำนวน)

เหลือง        ปีโต(ปุ.) หลิทฺยาโภ(ปุ.)

เหลือบ        ฑํโส(ปุ.) ปิงฺคลมกฺขิกา(อิตฺ.)

เหว        ปปาโต(ปุ.) ตโฏ(ปุ.)

เหวี่ยง         ขิปิต(กิตก์) ขิตฺต(กิตก์)

เหา         อูกา(อิตฺ.)

เหาะ        อุปฺปติตฺวา(กิตก์) อพฺภุคฺคนฺตฺวา(กิตก์) อุปฺปตฺติ(อาข.) อพฺภุคฺคจฺฉติ(อาข.)

เหาะขึ้น         อพฺภุคฺคจฺฉติ(อาข.)

เหี้ย        โคธา(อิตฺ.) กุณฺโฑ(ปุ.)

เหี่ยว         ลูข(คุณ.) กีส(คุณ.) ทุพฺพณฺณ(คุณ.) สุสฺสิตฺวา(กิตก์) มิลายติ(อาข.)

แห        อานาโย(ปุ.) ชาลํ(นปุ.)

แห้ง         สุกฺข(คุณ.)

แหงนดู         อุทฺธํ โอโลเกติ(สำนวน)

แหงนหน้ามอง        อุลฺโลเกติ(อาข.)

แห้งแล้ง         สุกฺข(คุณ.)

แหวน        องฺคุลียกํ(นปุ.) องฺคุลฺยาภรณํ(นปุ.)

แหวนตรา        มทฺทิกา(อิตฺ.) องฺคุลิมุทฺทา(อิตฺ.)

โหดเหี้ยม        จณฺฑ(คุณ.) อจฺจนฺตโกธน(คุณ.)

โหร         คณโก(ปุ.) เนมิตฺตโก(ปุ.) มุหุตฺติโก(ปุ.) คณโก(ปุ.)

ให้         อทาสิ(อาข.) เทติ(อาข.) ทานํ(นปุ.)

ให้เก็บไว้         ฐาปยึสุ(อาข.)

ให้ความช่วยเหลือ         หิตานุหิตํ อภินิปฺผาเทติ(สำนวน)

ให้คืน        ปฏิทานํ(นปุ.) ปริวตฺโต(ปุ.)

ให้ฉิบหาย         นาสิต(กิตก์) วินาสิต(กิตก์) นาเสติ(อาข.) วินาโส(ปุ.)

ใหญ่        พฺรห(คุณ.) มหนฺต(คุณ.) วิปุล(คุณ.) วิสาล(คุณ.) ปุถุล(คุณ.) ปุถุ(คุณ.) ครุ (คุณ.) อรุ(คุณ.) วิตฺถิณฺณ(คุณ.) อุรุ(คุณ.)

ให้ดำรงตำแหน่ง        ฐานนฺตเร ฐเปติ(สำนวน)

ให้ตั้งไว้        ปติฏฺาเปติ(อาข.)

ให้น้ำ         ชลนฺโท(ปุ.)

ใหม่        นว(คุณ.) ปจฺจคฺฆ(คุณ.) อภินว(คุณ.) นูตน(คุณ.)

ให้ลุกโพลง         ชลิต(กิตก์) ชาลิต(กิตก์)

ให้สร้าง         กาเรติ(อาข.) การิต(กิตก์) มาเปติ(อาข.)

ให้สัทธรรมหายไป         สทฺธมฺมํ อนฺตรธาเปติ(สำนวน)

ไหม้         อชฺฌาปนํ(นปุ.) ฌาเปตฺวา(กิตก์) ปจิตฺวา(กิตก์) ฌายิตฺวา(กิตก์) ฌายิต(กิตก์) ฌาม(กิตก์)

ไหล่        อํโส(ปุ.) ภุชสิโร(ปุ.) ขนฺโธ(ปุ.)

ไหล่เขา        ปตฺโถ(ปุ.) สานุ(ปุ.)นิตมฺโพ(ปุ.)(นปุ.) กฏโก(ปุ.)

ไหว        กมฺปนํ(นปุ.) จลนํ(นปุ.) กมฺปิต(คุณ.) ธุต(คุณ.) อาธูต(คุณ.) จลิต(คุณ.)

ไหว้        นมสฺสา(อิตฺ.) นมกฺกาโร(ปุ.) วนฺทนา(อิตฺ.) อภิวาทนํ(นปุ.) นโม(ปุ.) นมสฺสกาโร (ปุ.) อญฺชลิ(อิตฺ.) อญฺชลี(อิตฺ.) อญฺชลิกมฺมํ(นปุ.)

ไหวตัว         องฺควิกฺเขโป(ปุ.)

ฬา        คทฺรโภ(ปุ.) ขโร(ปุ.)

อ-อักษร

อก        อุโร(ปุ.) หทยํ(นปุ.)

องค์ ๗ แห่งพระราชา        สามี(ปุ.)ราชาผู้ปกครอง อมจฺโจ(ปุ.)อำมาตย์ สขา(ปุ.)พันธมิตร โกโส(ปุ.)คลังทรัพย์ ทุคฺคํ(นปุ.)ป้องคูเมือง วิชิตํ(นปุ.)แคว้น พลํ(นปุ.)กองพล

องคชาต         องฺคชาตํ(นปุ.) รหสฺสงฺคํ(นปุ.) วตฺถคคุยฺหํ(นปุ.) เมหนํ(นปุ.)

องครักษ์        อณีกฏฺโฐ(ปุ.)

องอาจ          อุสภ(คุณ.) อาสภ(คุณ.) ปฏิภายุตฺต(คุณ.) สูร(คุณ.)

องุ่น        มุทฺทิกา(อิตฺ.) มธุรสา(อิตฺ.)

อณู         อณุ(ปุ.)

อดกลั้น         ติติกฺขติ(กิตก์) อธิวาเสติ(กิตก์) สหนํ(นปุ.) ตีติกฺขา(อิตฺ.)

อดทน         ขมนํ(นปุ.) ตีติกฺขา(อิตฺ.) อธิวาสนกฺขนฺติ(นปุ.) ขนฺติ(นปุ.) ขมา(อิตฺ.) สหน (คุณ.) ขนฺตุ(คุณ.) ติตกฺขวนฺตุ(คุณ.) ขนฺติมนฺตุ(คุณ.)

อดอาหาร         อาหารุปจฺเฉทํ กโรติ(สำนวน) นิราหาร(คุณ.) ฉินฺนภตฺต(คุณ.) อาหารุปจฺเฉโท(ปุ.)

อธิบาย         ปริทีเปติ(อาข.)

อนาคต        อนาคต(คุณ.)

อนาถบิณฑิกเศรษฐี        สุทตฺโต(ปุ.) อนาถปิณฺฑิโก(ปุ.)

อนุญาตให้กันและกัน         อญฺญมญฺญํ ปวาเรนฺติ(สำนวน)

อนุมาน         ววตฺถาปิยมาน(กิตก์) ปริจฺฉิชชมาน(กิตก์)

อนุโมทนา         อนุโมทติ(อาข.)

อนุรักษ์ภาษาไทย         ทยฺยภาสารกฺข(ปุ.)

อเนกคุณคัน        กปิกจฺฉุ(ปุ.) ทุผสฺโส(ปุ.)

อบ         เสทติ(กิตก์) เสทิต(กิตก์)

อบรมกุศล         กุสลภาวนา(อิตฺ.)

อบแล้ว        ภาวิต(คุณ.) วาสิต(คุณ.)

อปรัณณชาติ        อปรณฺณํ(นปุ.)

อภิเษก         อภิสญฺจติ(อาข.) อภิเสกํ อกาสิ(สำนวน)

อภิเษกอย่างมโหฬาร         มหายเสน กตาภิเสก(คุณ.)

อยาก         อาลยติ(อาข.)

อยากจะตายให้พ้น         ตโต มุจฺจนตฺถาย มริตุกามตา(สำนวน)

อยากมีอายุตลอดกัป         กปฺปทีฆายุกภาวนากามตา(สำนวน)

อยู่         วสติ(อาข.) อจฺฉติ(อาข.) วิหรติ(อาข.) ปฏิวสติ(อาข.) อุปวสวติ(อาข.) อชฺฌาวสติ(อาข.)

อยู่ (ในที่ไม่ใช่ของตน)        โหติ(อาข.)

อยู่(ใช้กับเทวดา)        อธิวสติ(อาข.)        

อยู่(อย่างฆราวาส)        วสติ(อาข.)        

อยู่(อย่างพระ)        วิหรติ(อาข.)        

อยู่คนเดียวในโลกไม่ได้         โลเก เอโก ภวิตุ น สกฺโกติ(สำนวน)

อยู่ครองเรือน        อชฺฌาวสติ(อาข.)

อยู่ชั่วครั้งชั่วคราว        อจฺฉติ(อาข.)        

อยู่ใต้บังคับบัญชา         วสานุคติก(คุณ.)

อยู่นอกการเมือง         ปสาสโนปายโต มุจฺจติ(สำนวน)

อยู่ประจำที่        ปฏิวสติ(อาข.)        

อยู่เป็นสุข         ผารุวิหาร(คุณ.) สุขสํวาส(คุณ.)

อยู่เปล่าเปลี่ยว         เอกีภูต(คุณ.)

อยู่ร่วม         สนฺนิวาโส(ปุ.)

อยู่สิง        อธิมุจฺจติ(อาข.)        

อยู่อย่างเดียวดาย         เอกก(คุณ.)

อยู่อย่างเป็นสุข         สุขสํวาส(คุณ.)

อรรถกถา         อตฺถวณฺณนา(อิตฺ.) อฏฺฐกถา(อิตฺ.)

อรหัตตผล        อญฺญา(อิตฺ.) อรหตฺตํ(นปุ.)

อรหันต์        อรหํ(ปุ.) อรหา(ปุ.) ขีณาสโว(ปุ.) พฺราหฺมโณ(ปุ.) พฺรหฺม(ปุ.)

อริราชศัตรู         อรโย(ปุ.) ปจฺจตฺถิก(ปุ.) อวตาร(ปุ.)

อรุณ        อรุโณ(ปุ.)

อวก        อุทฺเรโก(ปุ.) อุคฺคาโร(ปุ.)

อ้วน        ปีน(คุณ.) ถูล(คุณ.) ปีวร(คุณ.) ถุลฺล(คุณ.) วฐร(คุณ.)

อวสาน        โอสานํ(นปุ.) ปริโยสานํ(นปุ.)

อวัยวะ        องฺคํ(นปุ.) อวยโว(ปุ.)

อวัยวะเพศหญิง         โยนิ(อิตฺ.) ภคํ(นปุ.)

อสงไขย        อสงฺเขยฺยํ(นปุ.)

อสูร        ปุพฺพเทโว(ปุ.) สุรริปุ(ปุ.) อสุโร(ปุ.) ทานโว(ปุ.)

อสูรพิเศษ        ปหาราโท(ปุ.) สมฺพโร(ปุ.) พลิ(ปุ.)

อโสก        อโสโก(ปุ.) วญฺชุโล(ปุ.)

อหิวาตกโรค         วิสูจิกา(อิตฺ.) มหาวิเรโก(ปุ.)

อฬกมันทาวิมาน        อฬกาวิมาน(นปุ.)

ออก         นิกฺขมิตฺวา(กิตก์) วุฏฺฐานํ(นปุ.) นิสฺสรณํ(นปุ.) วุฏฺาย(กิตก์) นิกฺขมน(นปุ.)  เนกฺขมฺม(นปุ.) อภินิกฺขมน(นปุ.) มหาอภินิกฺขมน(นปุ.) นิกฺขมติ(อาข.) นิกฺกมฺม(กิตก์)

ออก(จากทุกข์)         นิสฺสรติ(อาข.) นิยฺยาติ(อาข.)

ออกบวช         อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชฺชา(สำนวน)

ออกไป         อภินิกฺขมนฺต(กิตก์)

อ่อน        มุทุ(คุณ.) สุกุมาร(คุณ.) โกมล(คุณ.) พาล(คุณ.)

อ่อนหวาน         สขิล(คุณ.)

อ่อนแอ ไม่มีกำลัง         ทุพฺพล(คุณ.)

อ้อย        รสาโล(ปุ.) อุจฺฉุ(ปุ.)

อ้อยช้าง        อินฺทสาโล(ปุ.) สลฺลกี(อิตฺ.) ขารโก(ปุ.)

อะไร        กึ(สัพพ.)

อักษร         อกฺขโร(ปุ.) อกฺขรํ(นปุ.) กาโร(ปุ.) วณฺโณ(ปุ.)

อังคุล (๗ ธัญญมาส)         องฺคุลํ(นปุ.)

อัญชันเขียว        กุฏโช(ปุ.) คิริมลฺลิกา(อิตฺ.) คิริกณี(อิตฺ.) อปราชิตา(อิตฺ.)

อัฑฒมณฑล        อฑฺฒมณฺฑลํ(นปุ.)

อัฒจันทร์        ปาฏิกา(อิตฺ.)

อัณฑะ        อณฺฑํ(นปุ.) โกโส(ปุ.)

อัณฑะโต        วุฑฺฒิโรโค(ปุ.) วาตณฺฑํ(นปุ.) วิปาทิกา(อิตฺ.)

อัธยาศัย        อชฺฌาสโย(ปุ.) อธิปฺปาโย(ปุ.) อาสโย(ปุ.) อภิสนฺธิ (อิตฺ.) ภาโว(ปุ.) อธิมุตฺติ (อิตฺ.) ฉนฺโท(ปุ.)

อัธยาศัยดี         กลฺยาณชฺฌาสย(คุณ.)

อันเกี่ยวเนื่องด้วยกรรรม         กมฺมนิพนฺธน(คุณ.)

อันเขาเลี้ยงดูแล้ว         อาภฏ(กิตก์) ปฏิชคฺคิต(กิตก์) โปสิต(กิตก์)

อันดับแรก         สพฺพปฐม(คุณ.)        

อันตราย        ปริปนฺถ(ปุ.) อชญฺญํ(นปุ.) อุปสคฺโค(ปุ.) อุปทฺทโว(ปุ.) อนฺตราโย(ปุ.) ปจฺจูโห(ปุ.) ปริปฺปนฺโถ(ปุ.) อีติ(อิตฺ.)

อันตรายจงพินาศไป         อนฺตรายา นสฺสนฺตุ(สำนวน)

อันธพาล         อนฺธพาโล(ปุ.)

อัพภันดร (๒๘ ศอก)        อพฺภนฺตรํ(นปุ.)

อัมมณะ        อมฺมณํ(นปุ.)

อา (น้องชายแม่)        มาตุโล(ปุ.)

อา (น้องสาวพ่อ)        ปิตุจฺฉา(อิตฺ.)

อากัปกิริยา        อากปฺโป(ปุ.) กิริยา(อิตฺ.)

อาการ        อากปฺโป(ปุ.) กิริยา(อิตฺ.) อากาโร(ปุ.)

อาการร้อนใน         ทวถุ(ปุ.) ปริตาโป(ปุ.)

อากาศยาน        อากาสยานํ(นปุ.) เวหาสยานํ(นปุ.)

อาขฺยายิกศาสตร์        อาขฺยายิโก(ปุ.)

อาคม        อาคโม(ปุ.)

อาคันตุกะ        อาคนฺตุโก(ปุ.) ปาหุนโก(ปุ.) อติถิ(อิตฺ.)

อ่าง        อารญฺชํ(นปุ.)        

อาจทำได้         อลํ กาตุ(สำนวน) อลํ สํวิธาตุ(สำนวน) สกฺกา กาตุ(สำนวน)

อาจหาญ        วิสารท(คุณ.)

อาจารย์        อาจริโย(ปุ.) นิสฺสยทายโก(ปุ.) ครุ(ปุ.) ปาเจราจริโย(ปุ.)

อาเจียน         วมติ(อาข.) ฉฑฺเฑติ(อาข.) ฉทฺทิกา(อิตฺ.) วมถุ(ปุ.) อุทิโต(ปุ.)

อาชญากร        ธชวนฺตุ(คุณ.) ธชาลุ(คุณ.) ธชพทฺธ(คุณ.)

อาชาไนย        อาชญฺโญ(ปุ.) อาชานีโย(ปุ.) อาชาเนยฺโย(ปุ.)

อาตมัน        ชีโว(ปุ.)

อาทิตย์ตก        อตฺถงฺคเมติ(อาข.)

อาทิตย์เบนไปทางใต้        ทกฺขิณายนํ(นปุ.)(คุณ.)

อาทิตย์เบนไปทางเหนือ        อุตฺตรายนํ(นปุ.)(คุณ.)

อาทิพรหมจรรย์        อาทิพฺรหฺมจริยํ(นปุ.) ปาฏิโมกฺขสํวรสีลํ(นปุ.)

อ่าน        ปาโฐ(ปุ.) นิปาโฐ(ปุ.) นิปโฐ(ปุ.) วจนํ(นปุ.) กถนํ(นปุ.) วาจนํ(นปุ.)

อ่านหนังสือ         ปณฺณํ วาเจสิ(สำนวน) ปณฺณํ อุปริกฺขิตฺวา(สำนวน)

อานิสงส์        อานิสํโส(ปุ.)

อานิสงส์มาก         มหานิสํโส(ปุ.)        

อาบน้ำ         สินานํ(นปุ.) สิตพฺโภ(ปุ.) นฺหาตฺวา(กิตก์) นหายติ(อาข.) นหานํ(นปุ.)

อาบัติ        อาปตฺติ(อิตฺ.) อาปชฺชนํ(นปุ.)

อาพาธ        อาพาโธ(ปุ.) พฺยาธิ(ปุ.) เคลญฺญํ(นปุ.)

อาเพศฟ้าดิน        อุปฺปาโท(ปุ.)

อาเมณฑิตพจน์ ๙ ฐานะ        ภเย ความกลัว, โกเธ ความโกรธ, ปสํสายํ ความสรรเสริญ, ตุริเต รีบด่วน,    โกตุหลจฺฉเร อัศจรรย์, หาเส ร่าเริง, โสเก โศก, ปสาเท เลื่อมใส

อาย         ลชฺชา(อิตฺ.) มงฺกุ(ปุ.) หิริ(อิตฺ.)

อารมณ์        ผสฺโส(ปุ.) ธมฺโม(ปุ.) โคจโร(ปุ.) อาลมฺโพ(ปุ.) วิสโย(ปุ.) อารมฺมณํ(นปุ.) อาลมฺพณํ(นปุ.) อคฺคํ(ปุ.)(นปุ.)

อาราธนา         อาราเธตฺวา(กิตก์)

อาลปนะวิภัตติ        อาลปน(นปุ.)

อาวาส        อาวาโส(ปุ.) วิหาโร(ปุ.) วสนํ(นปุ.)

อาวุธ         อาวุธํ(นปุ.)

อาวุธของยมราช        นยนาวุธํ(นปุ.)

อาวุธคือมีด        อมุตฺตํ(นปุ.)

อาวุธคือไม้เท้า        มุตฺตามุตฺตํ(นปุ.)

อาวุธคือลูกศร        ยนฺตมุตฺตํ(นปุ.)

อาวุธคือหอก        ปาณิมุตฺตํ(นปุ.)

อาวุธพระอินทร์        อสนิ(ปุ.)(อิตฺ.) กุลิสํ(ปุ.)(นปุ.) วชิรํ(ปุ.)(นปุ.)

อาศรม         อสฺสโม(ปุ.) กุฏิ(อิตฺ.)

อาศัย         ปฏิจฺจ(กิตก์) อาคมฺม(กิตก์) นิสฺสาย(กิตก์) อุปนิสฺสาย(กิตก์) ปฏิจฺจ(กิตก์)   อนฺวาย(กิตก์)

อาสนะ        อาสนํ(นปุ.)

อาสวะ         อาสโว(ปุ.)

อาหาร        ภิกฺขา(อิตฺ.) อนฺนํ(นปุ.) อสนํ(นปุ.) อาหาโร(ปุ.) โภชนํ(นปุ.) ฆาโส(ปุ.) อทนํ(นปุ.)

อาหารเก่า          กรีส(นปุ.)  

อาหารควรกิน         โภชฺชํ(นปุ.) โภชนียํ(นปุ.)

อาหารควรเคี้ยว         ขชฺชํ(นปุ.) ขาทนียํ(นปุ.)

อาหารควรดื่ม        เปยฺยํ(นปุ.)

อาหารควรลิ้ม         เลยฺยํ(นปุ.)

อาหารเดน        อุจฺฉิฏฺฐ(กิตก์)(คุณ.)

อาหารเป็นเดน        วิฆาโส(ปุ.) ภุตฺตเสสโก(ปุ.)

อาหารใหม่          อุทริย(นปุ.)  

อาฬหกะ        อาฬฺหโก(ปุ.) ตุมฺโพ(ปุ.)

อำนวยประโยชน์ให้ไทย         ทยฺยิกานํ กตกิจฺจํ หิตาวหํ โหติ(สำนวน)

อำนวยสุข         หิตสุขาวห(คุณ.)

อำนาจ         อานุภาโว(ปุ.) วโส(ปุ.)

อำนาจคลัง        ปตาโป(ปุ.)

อำนาจลงอาชญา        ปภาโว(ปุ.)

อำเภอ        รฏฺฐ(นปุ.) วิชิต(นปุ.)

อำมาตย์         อมจฺโย(ปุ.) มหามตฺโต(ปุ.)

อำลา         อปโลเกตพฺพ(กิตก์) อาปุจฺฉิตพฺพ(กิตก์) อาปุจฺฉติ(อาข.)

อิฐ         อิฏฺฐกา(อิตฺ.) อิฏฺฐิกา(อิตฺ.)

อินทผลัม        ขชฺชูรี(อิตฺ.) สินฺทิ(อิตฺ.)

อินทรีย์        วิสยี(นปุ.) อกฺขํ(นปุ.) อินฺทฺริยํ(นปุ.)        

อิ่ม        โสหิจฺจํ(นปุ.) ติตฺติ(อิตฺ.) ตปฺปนํ(นปุ.) สุหิต(กิตก์) ติตฺต(กิตก์) ตปฺปยติ(อาข.) ตปฺเปติ(อาข.) ตปฺปติ(อาข.) ปีต(คุณ.) ปมุทิต(คุณ.) หฏฺฐ(คุณ.) ปหฏฺฐ(คุณ.) มตฺต(คุณ.) ตุฏฺฐ(คุณ.)

อิ่มใจ         ปีติ(อิตฺ.)

อิริยาบถ        อิริยาปโถ(ปุ.)

อิศวร        มหิสฺสโร(ปุ.) สิโว(ปุ.) สูลี(ปุ.) อิสฺสโร(ปุ.) ปสุปติ(ปุ.) หโร(ปุ.)

อิสรภาพเสียไป         อิสฺสรภาโว(ปุ.) วสคต(คุณ.)        

อีกา        กาโก(ปุ.)

อีตัว        คณิกา(อิตฺ.) เวสิยา(อิตฺ.) วณฺณทาสี(อิตฺ.) นครโสภินี(อิตฺ.) รูปูปชีวินี(อิตฺ.) เวสี(อิตฺ.)

อื่น         อญฺญ(สพฺพ.) ปร(สพฺพ.)

อืม        อาม(นิปาต) เอวํ(นิปาต)

อุกฤษฎ์        อุกฺกฏฺฐ(คุณ.)

อุคคชน (กษัตริย์+ศูทร)        อุคฺคชโน(ปุ.)

อุจจาระ         คูโถ(ปุ.)(นปุ.) กรีโส(ปุ.)(นปุ.) วจฺโจ(ปุ.)(นปุ.) มลํ(นปุ.) ฉกํ(นปุ.) อุจฺจาโร(ปุ.) มีฬฺหํ(ปุ.)(นปุ.) อุกฺกาโร(ปุ.)

อุจจาระรด         อุหทติ(อาข.)

อุณหิส        สิโรเวฐนํ(นปุ.) อุณฺหีสํ(นปุ.)

อุด         ปิทหิตฺวา(กิตก์) ปิธาย(กิตก์) ถเกตฺวา(กิตก์) ธาเรติ(อาข.) ปิทหติ(อาข.)       นิวาเรติ(อาข.)

อุตสาหะ         อุสฺสาโห(ปุ.) วายาโม(ปุ.) วีริยํ(นปุ.) วิริยํ(นปุ.)

อุทยาน        อุยฺยานํ(นปุ.)

อุทาหรณ์        นิทสฺสนํ(นปุ.) อุโปคฺฆาโต(ปุ.) อุทาหรณํ(นปุ.) ทิฏฺฐานุคติ(อิตฺ.)

อุบลขาว        กุมุทํ(นปุ.)

อุบลเขียว        อินฺทีวรํ(นปุ.)

อุบาย        อุปาโย(ปุ.)

อุบายนี้ใช้ได้         อตฺเถโส อุปาโย(สำนวน) ภทฺทโกว อุปาโย(สำนวน)

อุบาสก        อุปาสโก(ปุ.)

อุบาสิกา        อุปาสิกา(อิตฺ.)

อุเบกขา        มชฺฌตฺตตา(อิตฺ.) อุเปกฺขา(อิตฺ.) อทุกฺขมสุข(คุณ.)

อุปธิ         อุปธิ(ปุ.)

อุปนิสัย        อุปนิสฺสโย(ปุ.)

อุปปละ        อุปฺปลํ(นปุ.)

อุปมา        อิว(นิปาต) วา(นิปาต) ตุลฺย(คุณ.) สมาน(คุณ.) นิภ(คุณ.) สนฺนิภ(คุณ.) ยถา(นิปาต) สงฺกาส(คุณ.) ตุลิต(คุณ.) ปกาส(คุณ.) ปติรูปก(คุณ.) สรี(คุณ.) สริกฺข(คุณ.) สํวาที(คุณ.) สทิส(คุณ.) วิย(นิปาต) อุปมิต(คุณ.) ปฏิพิมฺพ(คุณ.) สม(คุณ.) สมฺมิต(คุณ.) อาภา(อิตฺ.) ปฏินิธิ(คุณ.) สธมฺม(คุณ.) สลกฺขณ(คุณ.)    ปฏิภาค(คุณ.) กปฺป(คุณ.)

อุปสัค        อุปสคฺโค(ปุ.) อุปทฺทโว(ปุ.)

อุปัชฌาย์        อุปชฺฌาโย(ปุ.) อุปชฺฌา(ปุ.)

อุปัตติเทพ        อุปตฺติเทโว(ปุ.)

อุ้ม         องฺเกน อาทาย(สำนวน) องฺเกน วหิ(สำนวน) อาโรเปสิ(อาข.) อาโรเปตฺวา(กิตก์) อาโรปนํ(นปุ.)

อุโลก         ตินีโส(ปุ.) อติมุตฺตโก(ปุ.)

อุสภะ (๒๐ ยัฏฐิ)        อุสภํ(นปุ.)

อูกา (๗ ลิกขา)        อูกา(อิตฺ.)

อูฐ        โอฏฺโฐ(ปุ.) กรโภ(ปุ.)

เอง        สามํ(นิปาต) สยํ(นิปาต)

เอ็น        นหารุ(ปุ.) สิรา(อิตฺ.) ธมนิ(อิตฺ.) ธมนี(อิตฺ.)

เอ็นดู        ทยา(อิตฺ.) อนุกมฺปา(อิตฺ.) การุญฺญํ(นปุ.) กรุณา(อิตฺ.) อนุทฺทยา(อิตฺ.) ทยาลุ(ปุ.) สูรต(คุณ.)

เอ็นนำรส        รสคฺคสา(อิตฺ.) รสหรณี(อิตฺ.)

เอ็นใหญ่        กณฺฑรา(อิตฺ.) มหาสิรา(อิตฺ) สิรา(อิตฺ.)

เอว        มชฺโฌ(ปุ.)(นปุ.) วิลคฺโค(ปุ.) มชฺฌิมํ(นปุ.)

เออ        อาม(นิ.) อามนฺตา(นิ.) เอวํ(นปุ.)

เอะอะโวยวาย        สทฺทํ กโรติ(สำนวน) มหาสทฺทํ กโรติ(สำนวน) อุจฺจาสทฺทํ กโรติ(สำนวน)

เอาการงาน         ธุรคฺคาโห(ปุ.) ธุรวา(ปุ.)

เอาใจใส่        อาสตฺต(คุณ.) ตปฺปร(คุณ.)

เอาใจใส่ในกิจของสงฆ์         สงฺฆสฺส กิจฺจปฺปสุต(สำนวน)

เอาใจใส่อย่างดี         สเมน ธมฺเมน รกฺขิตํ โหติ โคปิตํ(สำนวน)

เอาตัวรอด         สกฺโกติ สมฺมาอาชีเวน ชีวิตุ(สำนวน)

เอาเถอะ        โหตุ(อาข.)

เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น         ปรตฺถปริหาปเนน อตฺตทตฺถสฺส ปริเยสนํ(สำนวน)

เอาสมบัติไปเมืองผี         สาปเตยฺยมาทาย ปรโลกํ คจฺฉติ(สำนวน)

เอาหางฟาดน้ำ         นงฺคุฏฺเฐน อุทกํ ปหรติ(สำนวน)

เอื้อเฟื้อ         กรุณา(อิตฺ.)กรุณายก(คุณ.) กรุณายติ(อาข.) อนุกมฺปํ(นปุ.) อาทยติ(อาข.)   อาทโร(ปุ.)

เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่         หิตานุกมฺปี(สำนวน)

แอก        ธุโร(ปุ.)

แอบหลังต้นไม้         เอกํ รุกฺขํ ปุรโต กตฺวา นิลียติ(สำนวน)

แออัด        สมฺพาธ(คุณ.)

โอ        อโห(นิ.)

โอกาส        ปตฺถาโว(ปุ.) อวสโร(ปุ.)

โอกาสการกะ        อาธาโร(ปุ.) โอกาสํ(นปุ.) อธิกรณํ(นปุ.)

โอกาสขึ้นปีใหม่         อภินวสํวจฺฉรสมฺมโตกาโส(ปุ.)

โอตตัปปะ        โอตฺตปฺปํ(นปุ.)

โอบอ้อมอารี         ทารโสณฺฑํ(นปุ.) พหุปฺปทํ(นปุ.) วทานีย(คุณ.) วทญฺญู(คุณ.) ทานโสณฺฑ(คุณ.) พหุปฺปท(คุณ.)

โอรสพระอินทร์        สุวีโร(ปุ.)

โอวาท         โอวทิตฺวา(กิตก์) โอวาทํ ทตฺวา(กิตก์)

โอสถ        โอสถํ(นปุ.) เภสชฺชํ(นปุ.)

โอ้โฮ        อโห(นิปาต) หา(นิปาต)

ไอ         กาสติ(อาข.) อุกฺกาสติ(อาข.) ขิปิต(กิตก์) กาส(ปุ.)

ฮ-อักษร

เฮ้        อเร(นิปาต) อมฺโภ(นิปาต) หมฺโภ (นิปาต) เห(นิปาต) หเร(นิปาต)

เฮ้ย        โภ(นิปาต) อเร(นิปาต) อมฺโภ(นิปาต) หมฺโภ (นิปาต) เห(นิปาต) หเร(นิปาต)

เฮ่อ        หา(นิปาต)

บรรณานุกรม

พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี, พระ. พจนานุกรมเล่มแรกของโลก. ปปท. ปปป.

พระมหาสมปอง ปมุทิโต, พระ. อภิธานัปปทีปิกามัญชรี. คณะ ๒๕ วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์, กรุงเทพ ฯ

มหามกุฏราชวิทยาลัย. พจนานุกรมไทย-บาลี. ปปท.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. อภิธานัปปทีปิกา: พจนานุกรมไทย-บาลี

www.palidict.net