Published using Google Docs
พรรณไม้เชียงดาว
Updated automatically every 5 minutes

ที่มา

สีม่วง , ฟ้า

ฮอมดง / ตีนตั่งเตี้ย / แตรเล็ก

หนาดคำ / หญ้าฮากเหลือง

หรีดเชียงดาว

มหากาฬน้อย

ฟ้าคราม / พยับเหมย

ฟอร์เก็ตมีน๊อทป่า / หญ้ามวนฟ้า

ผักปลาบดอย

แตรงอน

เทพอัปสร / Delphinium scabriflorum D. Don

สีขาว

มะแหลบ

หนาดขาว / หนาดดอย

นางจอย

แอสเตอร์เชียงดาว

ต่างหูขาว

ขาวปั้น / ตุ้มมณี

เหยื่อเลียงผา / เทียนหมอคาร์ / เหยื่อจง

กุหลาบขาวเชียงดาว

สิงขรา

หญ้าดอกลาย / หญ้าดาว

หญ้านกเค้า / ปริกใบแหลม

ผักไผ่น้ำ / พญาดง

ศรีจันทรา / กุหลาบเลื้อยเชียงดาว / กุหลาบป่า

มุกมังกร

ปืนนกไส้

สีเหลือง

หนาดคำ หนาดเหลือง / หนาดดอย

สุวรรณนภา

บัวตอง

ฟองหินเหลือง

มะหิ่งเม่น

บัวทอง

ฉัตรประทัดเหลือง

หญ้าน้ำดับไฟ

ช่อศิลา

บุกเถา

สีแดง , แสด

กากหมากตาฤาษี / ขนุนดิน

หญ้าคมบาง

สะเภาลม / แมวน้ำ

ฉัตรประทัดแดง / แสงแดง

ไข่ปลา

กระทือป่าสีแดง

สีชมพู

กระดูกไก่น้อย

เทียนเชียงดาว

เทียนนกแก้ว

ราชาวดีหลวง

มันฤาษี

ถั่วแปป / ถั่วกรามช้าง

คราม

ก้นบึ้งเล็ก

เจอราเนียมเชียงดาว

เอนอ้าน้ำ

ชมพูพิมพ์ใจ

ชมพูเชียงดาว

พู่ม่วง

สารภีป่า / สารภีดอย

วนารมย์

ดอกดิน

กล้วยไม้

ว่านพร้าว / นางตาย

เอื้องน้ำต้น

เอื้องตาเหิน

เอื้องเหลืองพิศมร

เอื้องแพนช่อสั้น

เอื้องแพนใบเล็ก

สิงโตเชียงดาว

ปาล์ม , เฟิร์น , แมลง

ค้อเชียงดาว

กูดหลอด

เพลี้ยกระโดดแดงดำ

ที่มา

สีม่วง , ฟ้า

ฮอมดง / ตีนตั่งเตี้ย / แตรเล็ก

พบทางภาคเหนือ และภาคอีสานตอนบนเท่านั้น

ฮ่อมดง  วงศ์ Acanthaceae  ไม้ทุ่งสูง 1 - 2 เมตร ขึ้นตามเขาหินปูน พบตามป่าดิบเขา ทางภาคเหนือความสูง 1,500 เมตร ขึ้นไป

ACANTHACEAE Sericocalyx quadifarius ฮอมดง01.jpg (192.67 KB, 600x402 - ดู 1833 ครั้ง.)

ACANTHACEAE Sericocalyx quadifarius ฮอมดง02.jpg (165.29 KB, 700x469 - ดู 1802 ครั้ง.)

ACANTHACEAE Sericocalyx quadifarius ฮอมดง03.jpg (190.97 KB, 900x612 - ดู 1873 ครั้ง.)

ACANTHACEAE Sericocalyx quadifarius ฮอมดง04.jpg (97.32 KB, 700x469 - ดู 1787 ครั้ง.)


หนาดคำ / หญ้าฮากเหลือง

ชื่อนี้ถูกเรียกซ้ำกันหลายชนิดทีเดียว ทั้งที่อยู่ในวงศ์เดียวกันและต่างวงศ์ สำหรับชนิดนี้พบเฉพาะภาคเหนือตามแดนดอยขุนขาสูง ท้องถิ่นเรียกว่า"หญ้าฮากเหลือง"

FABACEAE Desmodium oblongum หนาดคำ01.jpg (142.56 KB, 900x612 - ดู 1373 ครั้ง.)

FABACEAE Desmodium oblongum หนาดคำ(ผล).jpg (131.15 KB, 700x469 - ดู 1373 ครั้ง.)

FABACEAE Desmodium oblongum หนาดคำ02.jpg (126.81 KB, 700x469 - ดู 1388 ครั้ง.)

FABACEAE Desmodium oblongum หนาดคำ03.jpg (104.33 KB, 700x469 - ดู 1429 ครั้ง.)


หรีดเชียงดาว

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาว

ดอกหรีดเชียงดาว (Gentiana laptoclada )       เป็นพืชล้มลุกเฉพาะถิ่น ของดอยเชียงดาวในวงศ์ Gentianaceae ที่มีลำต้นยืดยาวกว่า ดอก หรีดอื่นๆ ขึ้นตามซอกหินบริเวณสันเขาในระดับความสูง 1,500 - 2,100 เมตร          โดยเฉพาะบริเวณยอดสูงสุด          ดอกสีม่วงอมน้ำเงิน ออกดอกเดือนตุลาคม - ธันวาคม   

GENTIANACEAE Gentiana leptoclada ssp. australis หรีดเชียงดาว.jpg (192.93 KB, 900x612 - ดู 1332 ครั้ง.)


มหากาฬน้อย

พบทั้งภาคเหนือและภาคอีสานตอนบน

LAMIACEAE Scutellaria cliscolor มหากาฬน้อย01.jpg (168.62 KB, 900x612 - ดู 1301 ครั้ง.)

LAMIACEAE Scutellaria cliscolor มหากาฬน้อย02.jpg (108.47 KB, 469x700 - ดู 1318 ครั้ง.)

ฟ้าคราม / พยับเหมย

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาว

PLUMBAGINACEAE Ceratostigma stapfianum ฟ้าคราม01.jpg (187.26 KB, 612x900 - ดู 1259 ครั้ง.)

PLUMBAGINACEAE Ceratostigma stapfianum ฟ้าคราม02.jpg (181.11 KB, 600x450 - ดู 1213 ครั้ง.)

PLUMBAGINACEAE Ceratostigma stapfianum ฟ้าคราม(ใบ).jpg (171.26 KB, 700x469 - ดู 1221 ครั้ง.)


ฟอร์เก็ตมีน๊อทป่า / หญ้ามวนฟ้า


ผักปลาบดอย


แตรงอน


เทพอัปสร / Delphinium scabriflorum D. Don

เป็นพืชหายากในวงศ์ Ranunculaceae         พบขึ้นตามซอกหิน ที่ลาด ชันในระดับความสูง 1,900 - 2,100 เมตร         ดอกเป็นช่อตั้งมีเดือยลักษณะคล้ายแตรสีม่วงเข้ม          ออกดอกราวเดือน ตุลาคม - ธันวาคม


สีขาว

มะแหลบ

พบทางภาคเหนือและภาคอีสาน

APIACEAE Peucedanum dhana มะแหลบ(หรือผักชีดอย).jpg (178.46 KB, 700x535 - ดู 1864 ครั้ง.)


หนาดขาว / หนาดดอย

พบเฉพาะภาคเหนือเท่านั้น

ASTERACEAE Anaphalis margaritacea หนาดขาว01.jpg (132.53 KB, 700x531 - ดู 1969 ครั้ง.)

ASTERACEAE Anaphalis margaritacea หนาดขาว02.jpg (82.09 KB, 469x700 - ดู 1737 ครั้ง.)

นางจอย

พบเฉพาะ จ.เชียงใหม่ และ จ.แม่ฮ่องสอน

ASTERACEAE Aster ageratoides ssp. alato-petiolate นางจอย01.jpg (196.23 KB, 900x612 - ดู 1725 ครั้ง.)

ASTERACEAE Aster ageratoides ssp. alato-petiolate นางจอย02.jpg (133.59 KB, 700x469 - ดู 1672 ครั้ง.)

แอสเตอร์เชียงดาว

พบบนดอยเชียงดาว ดอยม่อนจอง จ.เชียงใหม่ และดอยภูคา จ.น่าน

ASTERACEAE Aster sp. แอสเตอร์เชียงดาว.jpg (151.55 KB, 469x700 - ดู 1662 ครั้ง.)

ต่างหูขาว

พบทางภาคเหนือและภาคอีสานตอนบน

ASTERACEAE Duhalden nervosa ต่างหูขาว.jpg (141.81 KB, 469x700 - ดู 1662 ครั้ง.)


ขาวปั้น / ตุ้มมณี (Scarbiosa siamensis )

พบบนดอยเชียงดาว และดอยม่อนจอง จ.เชียงใหม่

เป็นพืชเฉพาะถิ่นของดอยเชียงดาว    จัดอยู่ใน วงศ์  Dipsacaceae พบขึ้นอยู่ตามซอก หินสันเขา ในระดับ ความสูง 2,000 เมตรขึ้นไป          ความสูงจากลำต้น ถึงช่อดอก ประมาณ 20 เซนติเมตร ขอบใบเป็นซี่ฟัน เนื้อใบบางสีเขียวอมม่วง ดอกสีขาว ปลายเกสร สีม่วง ช่อดอกย่อย จำนวน มาก          เมื่อดอกบาน         ช่อดอกจะมีลักษณะกลมคล้ายลูกบอลสีขาว         ออกดอกในฤดูหนาว  ปัจจุบันพบเห็นได้ไม่มากนัก         และ          เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์

DIPSACACEAE Scabiosa siamensis ขาวปั้น01.jpg (125.27 KB, 900x612 - ดู 1459 ครั้ง.)

DIPSACACEAE Scabiosa siamensis ขาวปั้น02.jpg (155.46 KB, 700x469 - ดู 1438 ครั้ง.)

DIPSACACEAE Scabiosa siamensis ขาวปั้น03.jpg (93.07 KB, 700x469 - ดู 1465 ครั้ง.)


เหยื่อเลียงผา / เทียนหมอคาร์ / เหยื่อจง (Impatiens Kerriae )  

พบเฉพาะทางภาคเหนือ

เป็นพืชเฉพาะถิ่น ของ ดอยเชียงดาวในวงศ์ Balsaminaceae  ที่พบขึ้นบน ก้อนหินปูน          ในระดับความสูง 1,800 เมตรขึ้นไป     ต้นอวบน้ำแตกกิ่งเป็นพุ่ม          ต้นสูง ประมาณ 30 เซนติเมตร ดอกมีสีขาว-เหลือง ดอกดอกเดือนฤดูฝน และ หนาว           ระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ หน้าแล้งพักตัว         โดยผลัดใบ ทิ้งหมด เทียนชนิดนี้ นอกจากพบ ที่ดอยหลวง เชียงดาวแล้ว        ยังมีการสำรวจ        พบที่ดอยอ่างขางด้วย

BALSAMINACEAE Impatiens kerriae เหยื่อเลียงผา01.jpg (100.19 KB, 700x469 - ดู 1543 ครั้ง.)

BALSAMINACEAE Impatiens kerriae เหยื่อเลียงผา02.jpg (109.38 KB, 700x469 - ดู 1540 ครั้ง.)


กุหลาบขาวเชียงดาว (Rhododendron ludwigianum Hoss. )   

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาว  ปกติดอกจะบานสะพรั่งในช่วงกลางเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์

หากเราขึ้นมาในช่วงแล้ง ราวเดือนมีนาคม ตามสันดอย เราจะได้พบ กับ      กุหลาบดอยเชียงดาว หรือ Rhododendron ludwigianum          ไม้ในสกุล กุหลาบพันปี เฉพาะถิ่น ที่มีที่นี่เท่านั้นเป็นไม้ประจำถิ่น ดอยเชียงดาว อยู่ใน วงศ์ Ericaceae         ที่มักคุ้นเคยกัน        ในชื่อของกุหลาบพันปี   พบขึ้นตาม สันเขา และยอดเขาในระดับความสูง 2,100 เมตรขึ้นไป ดอกมีขนาดใหญ่สีขาว         ออกดอกในช่วงเดือนมีนาคม

ERICACEAE กุหลาบขาวเชียงดาว(ดอกตูม).jpg (160.32 KB, 700x469 - ดู 1408 ครั้ง.)


สิงขรา

พบบนดอยเชียงดาว และเทือกเขาผีปันน้ำ(บริเวณรอยต่อระหว่างเชียงราย-เชียงใหม่) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหรีด มีลักษณะคล้ายกับหญ้าดาวลาย ต่างกันที่เกสรฯที่เห็นเด่นชัด

GENTIANACEAE Swertia calcicola สิงขรา01.jpg (130.34 KB, 900x612 - ดู 1319 ครั้ง.)

http://www.qsbg.org/Database/BOTANIC_Book%20full%20option/Picture/book7/Swer_calc_1.jpg

GENTIANACEAE Swertia calcicola สิงขรา02.jpg (135.02 KB, 700x469 - ดู 1349 ครั้ง.)

GENTIANACEAE Swertia calcicola สิงขรา03.jpg (193.38 KB, 900x612 - ดู 1355 ครั้ง.)


หญ้าดอกลาย / หญ้าดาว

พบทางภาคเหนือ

GENTIANACEAE Swertia striata หญ้าดาวลาย01.jpg (185.48 KB, 700x469 - ดู 1314 ครั้ง.)

GENTIANACEAE Swertia striata หญ้าดาวลาย02.jpg (98.6 KB, 700x469 - ดู 1361 ครั้ง.)


หญ้านกเค้า / ปริกใบแหลม

พบทั้งภาคเหนือและภาคอีสานตอนบน

LAMIACEAE Leucas decemdentata หญ้านกเค้า หรือปริกใบแหลม หรือกอมก้อห้วย.jpg (82.52 KB, 469x700 - ดู 1245 ครั้ง.)


ผักไผ่น้ำ / พญาดง

พบได้ทั่วไป

POLYGONACEAE Persicaria chinensis ผักไผ่น้ำ หรือพญาดง.jpg (72.04 KB, 469x700 - ดู 1299 ครั้ง.)


ศรีจันทรา / กุหลาบเลื้อยเชียงดาว / กุหลาบป่า Rosa helenae Rehd. & Wils. 

พบเฉพาะภาคเหนือ

เป็นกุหลาบเลื้อยอยู่ในวงศ์ Rosaceae มักขึ้นกระจายอยู่ ทั่วไปในระดับความสูง 1,700 - 2 ,100 เมตร ออกดอกเป็นพวง  ดอกมีขนาดใหญ่สีขาวและมีกลิ่นหอม กุหลาบป่า จะมีดอกในช่วงฤดูหนาว

ROSACEAE Rosa helense ศรีจันทรา.jpg (125.84 KB, 900x612 - ดู 1298 ครั้ง.)


มุกมังกร


ปืนนกไส้


สีเหลือง

หนาดคำ หนาดเหลือง / หนาดดอย

พบเฉพาะทางภาคเหนือ  วงศ์  Composiate

ASTERACEAE Inula cappa หนาดคำ.jpg (131.47 KB, 469x700 - ดู 1707 ครั้ง.)

สุวรรณนภา

พบบนดอยเชียงดาว และดอยม่อนจอง จ.เชียงใหม่ น่าเสียดายที่ยังไม่ออกดอกให้ยลโฉม จากดอกตูมที่พบ กว่าจะบานก็ร่วม2เดือนละครับ

ASTERACEAE Senecio craibianus สุวรรณนภา(ดอกตูม).jpg (167.71 KB, 900x612 - ดู 1660 ครั้ง.)


บัวตอง

เชื่อไหมครับว่ามีพิษร้าย ทั้งต้นของเขา โดยเฉพาะราก เมื่อถูกเผา..ควันของพืชชนิดนี้เป็นยากล่อมประสาทที่ร้ายแรงทีเดียว

ASTERACEAE Tithonia diversifolia บัวตอง.jpg (161.19 KB, 600x450 - ดู 1688 ครั้ง.)


ฟองหินเหลือง

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาว

CRASSULACEAE Sedum susanae ฟองหินเหลือง01.jpg (196.78 KB, 612x900 - ดู 1525 ครั้ง.)

CRASSULACEAE Sedum susanae ฟองหินเหลือง02.jpg (100.97 KB, 700x469 - ดู 1468 ครั้ง.)

CRASSULACEAE Sedum susanae ฟองหินเหลือง03.jpg (161.16 KB, 600x402 - ดู 1481 ครั้ง.)

CRASSULACEAE Sedum susanae ฟองหินเหลือง04.jpg (175.13 KB, 600x402 - ดู 1545 ครั้ง.)

CRASSULACEAE Sedum susanae ฟองหินเหลือง(ดอกตูม).jpg (102.44 KB, 700x469 - ดู 1445 ครั้ง.)


มะหิ่งเม่น

พบทั้งภาคเหนือ

FABACEAE Crotalaria spectabilis ssp. spectabilis มะหิ่งเม่น.jpg (183.27 KB, 612x900 - ดู 1458 ครั้ง.)

FABACEAE Crotalaria spectabilis ssp. spectabilis มะหิ่งเม่น(ผล).jpg (161.52 KB, 700x469 - ดู 1416 ครั้ง.)

บัวทอง

พบทางภาคเหนือตามแดนดอยสูง โดยเฉพาะริมไหล่ผา ซึ่งมีอีกชนิดที่คล้ายกัน คือ ถ้วยทอง

HYPERICACEAE Hypericum hookerianum บัวทอง01.jpg (119.54 KB, 612x900 - ดู 1278 ครั้ง.)

HYPERICACEAE Hypericum hookerianum บัวทอง02.jpg (158.56 KB, 900x612 - ดู 1309 ครั้ง.)

บัวทอง..เกสรล้อมรอบเป็นรูปดาว ดูสวยงามแปลกตา แต่เมื่อดอกโรย เกสรฯก็จะหลุดร่วงดูผิดแผกออกไป

HYPERICACEAE Hypericum hookerianum บัวทอง03.jpg (89.4 KB, 700x469 - ดู 1285 ครั้ง.)

HYPERICACEAE Hypericum hookerianum บัวทอง(ดอกโรย).jpg (96.51 KB, 700x469 - ดู 1415 ครั้ง.)

HYPERICACEAE Hypericum hookerianum บัวทอง(ผล).jpg (126.7 KB, 612x900 - ดู 1288 ครั้ง.)


ฉัตรประทัดเหลือง

ฉัตรประทัดแดงและฉัตรประทัดเหลือง..ต่างอวดดอกสวยงามไปคนละแบบ

LAMIACEAE Colquhounia sp. ฉัตรประทัดเหลือง.jpg (176.46 KB, 900x612 - ดู 1319 ครั้ง.)


หญ้าน้ำดับไฟ

พบทางภาคเหนือ

SCROPHULARIACEAE Lindenbergia philippensis หญ้าน้ำดับไฟ.jpg (104.06 KB, 469x700 - ดู 1209 ครั้ง.)


ช่อศิลา

พบเฉพาะดอยเชียงดาวเช่นกัน

SCROPHULARIACEAE Phtheirospermum parishii ช่อศิลา01.jpg (150.13 KB, 700x469 - ดู 1163 ครั้ง.)

SCROPHULARIACEAE Phtheirospermum parishii ช่อศิลา02.jpg (126.12 KB, 700x469 - ดู 1132 ครั้ง.)


บุกเถา


สีแดง , แสด

กากหมากตาฤาษี / ขนุนดิน

เป็นพืชตระกูลเบียน ดอกจะแยกเพศ ซึ่งในพืชตระกูลนี้ทุกชนิดนั้นคนทั่วไปมักเรียกว่า"ขนุนดิน"

BALANOPHORACEAE Balanophora fungosa ssp. indica กากหมากตาฤาษี(ตัวผู้และตัวเมีย).jpg (158.85 KB, 600x402 - ดู 1591 ครั้ง.)

BALANOPHORACEAE Balanophora fungosa ssp. indica กากหมากตาฤาษี(ตัวผู้).jpg (140.27 KB, 469x700 - ดู 1637 ครั้ง.)

BALANOPHORACEAE Balanophora fungosa ssp. indica กากหมากตาฤาษี(ตัวเมีย).jpg (171.64 KB, 700x469 - ดู 1618 ครั้ง.)


หญ้าคมบาง

พบทั่วไป ซึ่งเป็นพืชที่นักเดินป่าไม่ชอบเสียเลย เพราะใบของเขาที่คมบาง เมื่อเราโดนเข้าก็จะกรีดเฉือนจนได้เลือดซิบๆ

CYPERACEAE Carex baccans หญ้าคมบาง.jpg (136.15 KB, 469x700 - ดู 1502 ครั้ง.)


สะเภาลม / แมวน้ำ

พบเฉพาะภาคเหนือตอนบน

ERICACEAE Agapetes hosseana สะเภาลม.jpg (109.16 KB, 700x469 - ดู 1417 ครั้ง.)


ฉัตรประทัดแดง / แสงแดง

ฉัตรประทัดแดงและฉัตรประทัดเหลือง..ต่างอวดดอกสวยงามไปคนละแบบ

แสงแดง วงศ์ Lamiaceae ( Labiatae ) พืชล้มลุก สูง 80 - 120 ซม. ใบและกิ่งก้าน         มีขนสั้นปกคลุม          พบตามเทือกเขาสูง ความสูง 1,400 - 2,200 เมตร

LAMIACEAE Colquhounia coccinea var. mollis ฉัตรประทัดแดง01.jpg (108.18 KB, 469x700 - ดู 1348 ครั้ง.)

LAMIACEAE Colquhounia coccinea var. mollis ฉัตรประทัดแดง02.jpg (166.22 KB, 700x469 - ดู 1496 ครั้ง.)

ไข่ปลา

ดูคล้ายรัสเบอรี่ ลองชิมแล้ว ไม่มีรสชาติ

URTICACEAE Debregeasia longifolia ไข่ปลา01.jpg (169.29 KB, 900x612 - ดู 1167 ครั้ง.)

URTICACEAE Debregeasia longifolia ไข่ปลา02.jpg (137.69 KB, 700x469 - ดู 1132 ครั้ง.)

กระทือป่าสีแดง


สีชมพู

กระดูกไก่น้อย

พบทางภาคเหนือและภาคอีสาน

ACANTHACEAE Justicia diffusa กระดูกไก่น้อย.jpg (195.21 KB, 900x612 - ดู 1784 ครั้ง.)

เทียนเชียงดาว

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาวเท่านั้น

BALSAMINACEAE Impatiens chiangdaoensis เทียนเชียงดาว01.jpg (131.44 KB, 900x612 - ดู 1561 ครั้ง.)

BALSAMINACEAE Impatiens chiangdaoensis เทียนเชียงดาว02.jpg (141.3 KB, 900x612 - ดู 1552 ครั้ง.)


เทียนนกแก้ว Impatiens psittacina Hk. F.

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาว

เป็นพืชประจำถิ่นของไทยในวงศ์ Balsam inaceae ที่พบเห็นได้ยาก   บริเวณดอย หลวงเชียงดาว จะพบขึ้นในร่มเงาตามโขดหิน หรือ         บนพื้นดินในป่าดิบเขา            ที่ระดับความสูง 1,600 - 1,700 เมตร ดอกมีสีขาวแต้มสีแดง และชมพู เมื่อ              มองดูด้านข้าง คล้าย นกแก้ว กำลังบิน ออกดอกในช่วงฤดูฝน - ฤดูหนาว  ดอกมีรูปร่าง และ สีสัน คล้ายนกแก้ว  กำลังโผบิน  สวยงามมาก

BALSAMINACEAE Impatiens psittaciana เทียนนกแก้ว01.jpg (195.57 KB, 900x612 - ดู 1505 ครั้ง.)

BALSAMINACEAE Impatiens psittaciana เทียนนกแก้ว02.jpg (86.73 KB, 700x469 - ดู 1667 ครั้ง.)


ราชาวดีหลวง

พบบนดอยเชียงดาว และดอยม่อนจอง จ.เชียงใหม่

BUDDLEJACEAE Buddleja macrostachya ราชาวดีหลวง.jpg (194.69 KB, 900x612 - ดู 1524 ครั้ง.)


มันฤาษี

พบทั่วไป

CONVOLVULACEAE Argyreia splendens มันฤาษี.jpg (96.08 KB, 469x700 - ดู 1531 ครั้ง.)


ถั่วแปป / ถั่วกรามช้าง

พบเฉพาะภาคเหนือ

FABACEAE Dolichos lablab ถั่วแปป.jpg (190.43 KB, 900x612 - ดู 1346 ครั้ง.)

FABACEAE Dolichos lablab ถั่วแปป(ดอกตูม).jpg (119.68 KB, 700x469 - ดู 1352 ครั้ง.)

คราม

พบเฉพาะภาคเหนือ สำหรับครามนั้นครั้งนี้พบเฉพาะผล ดอกร่วงโรยไปแล้ว ผมนำรูปดอกให้ชมว่าดอกเขาก็สวยดี

FABACEAE Indigofera tinctoria คราม.jpg (167.23 KB, 700x467 - ดู 1379 ครั้ง.)

FABACEAE Indigofera tinctoria คราม(ผล).jpg (173.52 KB, 700x469 - ดู 1344 ครั้ง.)

ก้นบึ้งเล็ก

พบฉพาะภาคเหนือตามแดนดอยขุนเขาสูง

FABACEAE Lespedeza parviflora ก้นบึ้งเล็ก.jpg (111.28 KB, 469x700 - ดู 1323 ครั้ง.)

เจอราเนียมเชียงดาว (Gernium Lamberti ssp. Siamensis )

พบบนดอยเชียงดาว และดอยม่อนจอง  จ.เชียงใหม่

เป็นพืชเฉพาะถิ่นของ ดอยเชียงดาว ในวงศ์ Geraniaceae พบขึ้นกระจาย ตามสันเขา และซอกหินยอดเขาในระดับความสูง 1,900 - 2,175 เมตร ดอกมี 5 กลีบ  รูปร่างคล้ายดอกชบา ขนาดเล็ก สีชมพู ความสูงของต้นเฉลี่ย 2 - 4 เมตร ออกดอกในช่วงฤดูฝน - ฤดูหนาว

GERANIACEAE Geranium lamberti ssp. siamensis เจอราเนียมเชียงดาว01.jpg (146.84 KB, 700x469 - ดู 1280 ครั้ง.)

GERANIACEAE Geranium lamberti ssp. siamensis เจอราเนียมเชียงดาว02.jpg (92.05 KB, 700x469 - ดู 1392 ครั้ง.)


เอนอ้าน้ำ

ส่วนใหญ่พืชตระกูลนี้จะจำแนกชนิดได้ยากมาก ยกเว้นชนิดนี้ที่จำง่ายสุด พบทั่วทุกภาค

MELASTOMATACEAE Osbeckia nepalensis เอนอ้าน้ำ01.jpg (195.4 KB, 900x612 - ดู 1308 ครั้ง.)

MELASTOMATACEAE Osbeckia nepalensis เอนอ้าน้ำ02.jpg (126.6 KB, 700x469 - ดู 1507 ครั้ง.)

MELASTOMATACEAE Osbeckia nepalensis เอนอ้าน้ำ03.jpg (153.97 KB, 900x612 - ดู 1232 ครั้ง.)


ชมพูพิมพ์ใจ (Luculia gratissima var. glabra)

ดมกลิ่นกันจนดอกเหี่ยวไปถ้วนหน้า

เป็นพืชในเขตอบอุ่น           ซึ่งกระจาย พันธุ์ลงมาจากแถบ เทือกเขา หิมาลัยตะวันออก อยู่ในวงศ์ Rubiaceae         จัดเป็นพืชเฉพาะถิ่นของดอยเชียงดาว           เป็นไม้พุ่มที่มีความสูง ประมาณ 1 - 2 เมตร พบขึ้นกระจายในระดับความสูง 1,700 - 2,100 เมตร ออกดอกเดือนธันวาคม - มกราคม            ดอกเป็นช่อสีชมพูอ่อน มีกลิ่นหอมมาก

RUBIACEAE Luculia gratissima ชมพูพิมพ์ใจ01.jpg (105.26 KB, 900x612 - ดู 1239 ครั้ง.)

RUBIACEAE Luculia gratissima ชมพูพิมพ์ใจ02.jpg (115.88 KB, 700x469 - ดู 1179 ครั้ง.)

RUBIACEAE Luculia gratissima ชมพูพิมพ์ใจ(ดอกตูมและผล).jpg (108.86 KB, 700x469 - ดู 1159 ครั้ง.)


ชมพูเชียงดาว (Pedicularis siamensis )

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาว มีอีกชนิดหนึ่งที่คล้ายกัน ซึ่งพบบนภูสอยดาว ผมเลยเรียกว่า"ชมพูภูสอยดาว" ดอกคล้ายกัน ต่างกันที่ใบครับ

เป็นพืชล้มลุกเฉพาะถิ่นของดอยหลวง เชียงดาว ในวงศ์ Scorophulariaceae ขึ้นกระจายอยู่ใน ระดับความสูง 1,900 เมตรขึ้นไป           ออกดอกตรงปลายยอดมีลักษณะเป็นชั้นๆ        สีชมพูเข้ม ลักษณะคล้ายเป็นหลอดกลับ ด้านบน รวมเป็น จงอยหรือแตร             อันเล็กๆ ขณะที่กลับด้านล่างแผ่ออก   ดอกเป็นสีชมพูเข้ม   ต้นสูงประมาณ 50 - 70 เซนติเมตร ออกดอกฤดูหนาว   ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม

SCROPHULARIACEAE Pedicularis siamensis ชมพูเชียงดาว.jpg (111.47 KB, 700x469 - ดู 1176 ครั้ง.)


พู่ม่วง


สารภีป่า / สารภีดอย

ดอกเขาหอมนะครับ

THEACEAE Anneslea fragans สารภีป่า.jpg (173.44 KB, 700x469 - ดู 1147 ครั้ง.)

http://www.qsbg.org/Database/BOTANIC_Book%20full%20option/Picture/book2/Ann_fra_wal_3.jpg


วนารมย์


ดอกดิน


กล้วยไม้

ที่พบใน Trip นี้ มีด้วยกัน 6 ชนิด ชื่อแรกในรูปคือวงศ์ย่อย ชื่อสกุล-ชนิด และชื่อไทย

ว่านพร้าว / นางตาย

EPIDENDROIDEAE Anthogonium gracile ว่านพร้าว หรือนางตาย.jpg (190.87 KB, 900x612 - ดู 1123 ครั้ง.)

เอื้องน้ำต้น

EPIDENDROIDEAE Calanthe cardioglossa เอื้องน้ำต้น.jpg (133.63 KB, 700x469 - ดู 1113 ครั้ง.)

เอื้องตาเหิน

EPIDENDROIDEAE Dendrobium infundibulum เอื้องตาเหิน.jpg (190.91 KB, 612x900 - ดู 1150 ครั้ง.)

เอื้องเหลืองพิศมร

EPIDENDROIDEAE Spathoglottis affinis เอื้องเหลืองพิศมร.jpg (70.56 KB, 469x700 - ดู 1135 ครั้ง.)


เอื้องแพนช่อสั้น

แต่ช่อดอกยาวมากๆ

EPIDENDROIDEAE Oberonia brachystachys เอื้องแพนช่อสั้น01.jpg (183.64 KB, 612x900 - ดู 1117 ครั้ง.)

EPIDENDROIDEAE Oberonia brachystachys เอื้องแพนช่อสั้น02.jpg (190.53 KB, 469x700 - ดู 1106 ครั้ง.)

EPIDENDROIDEAE Oberonia brachystachys เอื้องแพนช่อสั้น03.jpg (112.05 KB, 469x700 - ดู 1100 ครั้ง.)


เอื้องแพนใบเล็ก

มีดอกออกเป็นช่อตามปลายใบ ซึ่งดอกย่อยฝังตัวในแกนช่อดอก หลายคนเข้าใจผิดคิดว่าเป็นเฟิน

EPIDENDROIDEAE Oberonia pachyrachis เอื้องแพนใบเล็ก01.jpg (193.36 KB, 900x612 - ดู 1109 ครั้ง.)

EPIDENDROIDEAE Oberonia pachyrachis เอื้องแพนใบเล็ก02.jpg (168.47 KB, 700x469 - ดู 1133 ครั้ง.)

EPIDENDROIDEAE Oberonia pachyrachis เอื้องแพนใบเล็ก03.jpg (123.89 KB, 469x700 - ดู 1094 ครั้ง.)

สิงโตเชียงดาว

กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกลม สูง 1-1.2 ซม. จำนวน 2 ใบ ใบรูปขอบขนาน กว้าง 1-1.2 ซม. ยาว 4-5 ซม. ดอกออกเป็นช่อที่โคนลำลูกกล้วย ห้อยลง ยาว 3.5-5 ซม. จำนวน 10-15 ดอก ใบประดับปลายเรียวแหลม สีเขียวอมขาวหรือสีครีม ยาว 1 ซม. กลีบเี้ลี้ยงและกลีบดอกสีแดงมีขีดตามยาวสีม่วงแดงเข้ม กลีบปกสีม่วงแดงเข้ม

E11320520-26.jpg


ปาล์ม , เฟิร์น , แมลง

ค้อเชียงดาว Trachycarpus sp

พบเฉพาะบนดอยเชียงดาวเท่านั้น คุณจอร์จ..อย่าบอกนะครับว่าคุณอยากมีอายุนานเท่ากับค้อเชียงดาว

เป็นปาล์มประจำถิ่นชนิดเดียว ที่พบบนดอย เชียงดาว         ลักษณะ เป็น ลำต้นชะลูดสูง มีใบตรงปลาย    ยอดคล้ายต้นตาล พบขึ้นตามสันดอยและยอดเขาที่มีความสูงชันในระดับ 1,700 เมตรขึ้นไป คาดว่า เป็นปาล์มชนิดใหม่ของโลก ที่มีความเกี่ยวข้อง           กับ ค้อหิมาลัย ( T. martianus)        ค้อดอย   เป็นปาลม์ชนิดใหม่ของโลกซึ่งพบเฉพาะดอยเชียงดาว มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Trachycarpus oreophilus   แปลได้ว่า “ปาล์มรักเมฆ”

PALMACEAE Trachycarpus oreophilus ค้อเชียงดาว01.jpg (104.45 KB, 900x612 - ดู 1255 ครั้ง.)

PALMACEAE Trachycarpus oreophilus ค้อเชียงดาว03.jpg (189.48 KB, 402x600 - ดู 1248 ครั้ง.)


ใบและลำต้นของค้อเชียงดาว

PALMACEAE Trachycarpus oreophilus ค้อเชียงดาว(ใบ).jpg (172.82 KB, 700x469 - ดู 1243 ครั้ง.)

PALMACEAE Trachycarpus oreophilus ค้อเชียงดาว(ลำต้น).jpg (185.49 KB, 469x700 - ดู 1204 ครั้ง.)


กูดหลอด

เป็นเฟินชนิดหนึ่ง เมื่อหน้าหนาวมาเยือน เขาจะห่อใบและบิดเป็นเกลียวเพื่อลดการคายน้ำ จวบจนฝนมา เขาจึงจะแผ่ใบออกมาให้ชม

Cheilanthes subrufa กูดหลอด.jpg (190.79 KB, 700x469 - ดู 319 ครั้ง.)


เพลี้ยกระโดดแดงดำ

 แมลงที่คุณจอร์จถ่ายฯมานั้น ผมรู้ชื่อเขาแล้วนะครับ

Black-spotted Froghopper เพลี้ยกระโดดแดงดำ01.jpg (105.01 KB, 700x469 - ดู 345 ครั้ง.)

Black-spotted Froghopper เพลี้ยกระโดดแดงดำ02.jpg (108.51 KB, 700x469 - ดู 319 ครั้ง.)

ไม่มีรูปประกอบ

สุวรรณนภา (Senecio craibianus)

พืชที่หายากในวงศ์ Compositae        ออกดอก สีเหลืองสดใส คล้ายดอก กระดุมทองแต่มีขนาดใหญ่กว่า ในเดือนธันวาคม - มีนาคม           ขึ้นอยู่ตามซอกหิน            ในระดับความสูง 1,500 - 2,100 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง

ดอกหิน (Selaginella tamariscina)

พืชชั้นต่ำไร้ดอก ในวงศ์กนกนารี หรือพ่อค้าตีเมีย           มีลำต้นเทียม แตกใบเป็นกระจุกแน่น ที่ปลายยอด คล้ายดอกไม้สีเขียว         พบในไซบีเรีย แมนจูเรีย ตอนใต้ของจีน   ตอนเหนือ ของ ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยมีรายงานพบเฉพาะ ที่ดอยหลวงเชียงดาว         เพียงแห่งเดียว        มักพบขึ้นเป็นกลุ่มๆ ตามซอก หิน ในบริเวชมที่มี ความลาดชันสูง ที่ระดับความสูง 1,900 เมตรขึ้นไป เมื่ออากาศแห้งแล้ง   จะห่อตัวเอง เป็นก้อนกลม           และสามารถกางออกได้คล้ายดอกไม้บาน         เมื่อมีความชื้นสูง

คำปองหลวง (Clematis wittii )

เป็นพืชเฉพาะถิ่นของดอยเชียงดาวในวงศ์ Rununcula มีต้นทอด เลื้อยยาว กลีบดอกเมื่อถูกผสม จะหลุดร่วง หายไป           จึงเห็นส่วนของผลคล้ายเกสรฟูเหมือนพู่เงินยวง           ออกดอก เดือนมีนาคม

Saussurea venosa Kerr

เป็นพืชในวงศ์ Compositae ประจำถิ่นดอยเชียงดาว มักขึ้นตามสันเขา ระดับ ความสูง 2,100 เมตรลำต้น สูงประมาณ 30 เซนติเมตร โคนใบใหญ่ หลังใบสีขาวเงิน    ออกดอกเป็นพู่สีขาวครีม         ใบมีขอบเว้าเป็นจักร ออกดอกในฤดูหนาว สถานภาพปัจจุบัน เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์

Primula siamensis Craib

เป็นพืชประจำถิ่นของไทย ในวงศ์ Primu laceae มักขึ้นตามซอกหิน ในระดับ ความสูง 1,900 เมตรขึ้นไป ใบอวบน้ำสีเขียวอ่อน ดอกออกเป็นช่อห่างๆ         ดอกมีสีม่วงสด           ออกดอก ในช่วง เดือนสิงหาคม - ตุลาคม

คำหิน   phitheirospermum parishii Hk. F.

เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Scrophulariaceae  มีความ สูงเพียง 10 - 15 เซนติเมตร มักขึ้นบนก้อนหินที่มีมอสปกคลุม            ในที่โล่งแจ้งในระดับ 2,100 เมตร          ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองสด            ออกดอกในช่วงฤดูหนาว

เอื้องข้าวตอกหินเชียงดาว Amitostigma thailandicum Seid. & Thithong

เป็นกล้วยไม้ชนิดใหม่          ของโลกที่เพิ่งถูกค้นพบ เมื่อไม่นาน มานี้ ต้นมีขนาดเล็กสูงประมาณ 5 เซนติเมตร        มีหัวใต้ดิน ออกดอกเป็นช่อ สีขาว        มักพบตามซอกหินในระดับความสูง 1,900 เมตร ออกดอกในฤดูฝน

หญ้าดาว Swertia striata Call. & Hems.

เป็นพืชล้มลุก ในวงศ ์ Guntianaceae ต้นสูงประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร มีขึ้นปะปนอยู่กับ           พืชอื่นๆ ในบริเวณริมทางหรือสันเขาที่เปิดโล่ง            ในระดับ 200 เมตร ขึ้นไป ดอกมี 5 กลีบสีขาว แต่ละกลีบจะมีเส้นสีม่วงดำ ลากไปตามยาว ดอกของ หญ้าดาว        มักจะบานพร้อมกันทั้งต้น          ดูสวยงามมาก         ออกดอกราวเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน

 Leucosceptrum canum W.W.Smith.

 เป็นพืชที่มีการกระจายพันธุ์    มาจาก เทือกเขาหิมาลัย อยู่ใน วงศ์ Lamiaceae ช่อดอกมีลักษณะ เป็น แท่งตั้งขึ้นคล้ายซังข้าวโพด            ดอกมีขนาดเล็กเป็นหลอด พบว่านกในกลุ่ม         นกกินปลีหลายชนิด         มักชอบมากินน้ำหวาน จากดอกไม้ชนิดนี้           ซึ่งเป็นการช่วยผสมเกสรไปด้วย

Colguhounia coccinea Wall. Var. mollis Prain.

 เป็นพืชตัวแทนจาก   ภูมิภาค หิมาลายา อยู่ในวงศ์ Labiatae ต้นมีขนาดประมาณ 1 เมตร ออกดอกที่ปลายยอด ดอกมีลักษณะคล้ายแตรสีแดงอมส้ม ออกดอกราวเดือน พฤศจิกายน - มกราคม

เฟินกำมะหยี่เชียงดาว Gymnopteris vestita (Hook.) Undrew

เป็นเฟินขนาดเล็ก มีใบประกอบ แบบขนนก ใบปกคลุมไปด้วย ขนนุ่มคล้ายกำมะหยี่ เมื่อใบยังอ่อนอยู่ ขนดังกล่าวจะมีสีขาวเงิน ต่อมาเมื่อใบแก่           ขนบริเวณหลังใบ จะเปลี่ยนสีน้ำตาลทอง ในประเทศไทย มีรายงาน         พบเฟินชนิดนี้           เฉพาะบนดอยเชียงดาว ในระดับ ความสูง 2,000 เมตรขึ้นไป

ประทัดแดง

พรรณไม้ตัวแทนของสังคมพืชอัลไพน์จากเทือกเขาหิมาลัย

บุกหมอคาร์

ดอกไม้ประหลาดในวงศ์บอนที่พบได้เฉพาะฤดูฝน

ขมิ้นต้นดอยเชียงดาว

คาดว่าจะเป็นพรรณไม้ชนิดใหม่ของโลก          เนื่องจากมีลักษณะแตกต่าง         จากขมิ้นต้น ชนิดที่เคย มีรายงานพบก่อนหน้านี้ ขณะนี้กำลังรอการตรวจสอบชื่อจากนักพฤกษศาสตร์

Chirita sp.

เป็นพืชที่พบในที่เย็น         พวกเดียวกับแอฟริกันไวโอเลต

อั้วปากฝอย

กล้วยไม้ดินล้มลุกที่หายาก

เอื้องตาข่ายเล็ก

กล้วยไม้อิงอาศัยขนาดจิ๋วที่หายากยิ่ง          ลำต้นมีเยื่อหุ้มเป็นตาข่าย พบขึ้นบนเปลือกไม้ตามป่าดิบเขา โคนกลีบดอก เชื่อมติดกันดูแปลกตา

ปิ่นสินชัย

ไม้ตัวแทนพรรณพืชเขตหนาวที่กระจายมาจากเทือกเขาหิมาลัย